Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานรายวิชาภาาาไทยเพิ่มเติม นิทานพื้นฐาน ม6

ใบงานรายวิชาภาาาไทยเพิ่มเติม นิทานพื้นฐาน ม6

Published by puttan.somsri, 2021-01-13 05:28:14

Description: ใบงานรายวิชาภาาาไทยเพิ่มเติม นิทานพื้นฐาน ม6

Search

Read the Text Version

ใบกิจกรรม ภาษาไทยเพ่มิ เตมิ รายวชิ า นิทานพ้ืนบ้าน ครผู ้สู อน คณุ ครพู ุดตาล สมศรี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

ใบงาน ที่ ๑.๑ เรื่อง ความหมายและความสาคัญของนทิ านพน้ื บา้ น คาช้แี จง ให้นกั เรยี นตอบคำถำมต่อไปน้ี (โดยใหเ้ ขยี นดว้ ยลำยมือที่เป็นระเบียบ สะอำดเรียบรอ้ ย) ๑. ให้นักเรยี นอธบิ ำยควำมหมำย ............................................................................................................................. .......................................... ......................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ๒. ควำมสำคญั ของนิทำนพ้ืนบ้ำน ................................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบความรู้ เร่ือง ลักษณะของนิทานพน้ื บา้ น นิทำนพืน้ บ้ำนมลี ักษณะเฉพำะทเี่ ห็นเดน่ ชัด คือ เปน็ เรือ่ งเลำ่ ที่มีกำรดำเนนิ เรื่องอยำ่ งง่ำย ๆ โครงเร่ือง ไมซ่ ับซ้อน วิธกี ำรท่เี ล่ำก็เป็นไปอย่ำงงำ่ ย ๆ ตรงไปตรงมำ มักจะเรมิ่ เร่ืองโดยกำรกลำ่ วถึงตวั ละครสำคัญของ เรอื่ ง ซง่ึ อำจจะเป็นรุ่นพ่อ-แม่ของพระเอกหรือนำงเอก แล้วดำเนินเร่อื งไปตำมเวลำปฏิทนิ ตัวละครเอกพบ อุปสรรคปญั หำ แล้วก็ฟันฝ่ำอุปสรรคหรือแก้ปัญหำลุล่วงไปจนจบเรื่อง ซึ่งมักจะจบแบบมีควำมสุข หรือ สุขนำฏกรรม ถ้ำเป็นนิทำนคติ ก็มักจะจบลงวำ่ “นทิ ำนเรือ่ งนส้ี อนใหร้ ูว้ ำ่ …..” ถ้ำเป็นนิทำนชำดกกจ็ ะบอกว่ำ ตัวละครสำคญั ของเรื่องในชำตติ ่อไป ไปเกิดเปน็ ใครบ้ำง ถ้ำเป็นนทิ ำนปริศนำก็จะจบลงด้วยประโยค คำถำม ลกั ษณะของนทิ ำนพน้ื บ้ำน กุหลำบ มลั ลิกะมำส (๒๕๑๘, หนำ้ ๙๙-๑๐๐) ได้สรุปไวด้ งั นี้ ๑. เปน็ เร่อื งเล่ำดว้ ยถ้อยคำธรรมดำ เป็นภำษำร้อยแก้วไม่ใช่รอ้ ยกรอง ๒. เลำ่ กันดว้ ยปำกสบื ทอดกันมำเปน็ เวลำชำ้ นำน และเมื่อกำรเขียนเจริญขน้ึ ก็อำจมีกำรเขยี นขน้ึ ตำม เคำ้ เดิมที่เคยเล่ำด้วยปำก ๓. ไม่ปรำกฏวำ่ ผู้เล่ำดง้ั เดมิ เป็นใคร อำ้ งแตว่ ่ำเป็นของเก่ำฟังมำจำกผเู้ ลำ่ ซ่ึงเปน็ บุคคลสำคัญย่งิ ใน อดีตอีกต่อหนึง่ ผิดกับนิยำยสมัยใหมท่ ี่ทรำบตัวผแู้ ต่ง แมน้ ิทำนทปี่ รำกฏชื่อ ผู้แต่งเช่น นทิ ำนของกริมม์ ก็อำ้ ง วำ่ เลำ่ ตำมเคำ้ นทิ ำนท่มี ีมำแต่เดิมไม่ใชต่ นแต่งขน้ึ เอง เจือ สตะเวทนิ (๒๕๑๗, หนำ้ ๑๖) ใหค้ ำอธิบำยลักษณะสำคัญของนิทำนพ้นื เมอื ง ไวด้ งั นี้ ๔. ต้องเป็นเร่ืองเก่ำ ๕. ต้องเลำ่ กันด้วยภำษำรอ้ ยแกว้ ๖. ต้องเล่ำกันด้วยปำกมำก่อน ๗. ต้องแสดงควำมคิด ควำมเชอื่ ของชำวบ้ำน ๘. เรือ่ งจรงิ ท่ีมคี ตินบั อนโุ ลมเปน็ นิทำนไดเ้ ชน่ มะกะโท ชำวบำ้ นบำงระจัน เป็นตน้ โดยนยั ดงั กลำ่ วจะเห็นไดว้ ่ำลักษณะท่สี ำคญั ท่ีสดุ ของนิทำนพน้ื บำ้ นคือเปน็ เร่ืองเล่ำทสี่ ืบทอดกนั มำดว้ ย ปำกและไม่ทรำบวำ่ ผใู้ ดแต่ง

ใบงาน ท่ี ๑.๒ เรอ่ื ง ลักษณะของนทิ านพ้ืนบ้าน คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถำมต่อไปน้ี (โดยให้เขยี นด้วยลำยมอื ทเ่ี ป็นระเบยี บ สะอำดเรียบรอ้ ย) ใหน้ กั เรยี นอธิบำยลกั ษณะของนทิ ำนพื้นบ้ำนให้ถกู ต้อง (โดยให้เขยี นด้วยลำยมอื ท่ีเป็นระเบียบ สะอำด) ............................................................................................................................. .......................................... ......................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... ..........................

ใบความรู้ เรอ่ื ง ประเภทของนิทานพืน้ บา้ น ประเภทของนิทานพ้นื บา้ น แบง่ ตำมลักษณะของเน้ือหำเปน็ ๗ ประกำรคอื ๑. นทิ ำนวีรบรุ ษุ เป็นนิทำนทย่ี กย่องคนดี มีควำมสำมำรถ ควำมกลำ้ หำญของบุคคล ส่วน ใหญ่จะเป็นบุคคลทเี่ ป็นวีรบุรุษ เนอ้ื เรือ่ งจะเปน็ แนวปำฏิหำรยิ ์ มีอทิ ธิฤทธเิ์ หนือบุคคลธรรมดำ เชน่ ไกร ทอง พระร่วงวำจำสิทธ์ิ เป็นต้น ๒. นิทำนปรมั ปรำ เป็นนิทำนที่มกั มีเทวดำหรอื นำงฟ้ำเข้ำมำเกยี่ วข้องดว้ ยเสมอ เนื้อเรื่อง คอ่ นข้ำงยำว มักจะมอี ภินิหำร ปำฏิหำรยิ ์ มกั จบลงด้วยควำมสขุ สมหวงั ทั้งคนเล่ำและคนฟังไมเ่ ช่อื วำ่ มี จรงิ เช่น ปลำบู่ทอง นำงสบิ สอง พระสุธนนำงมโนรำห์ โสนนอ้ ยเรอื นงำม เป็นต้น

๓. นิทำนท้องถิ่น เปน็ เรื่องเกย่ี วกบั ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม ควำมเช่อื โชค ลำง หรอื คติอย่ำใดอยำ่ งหน่ึงของแต่ละท้องถน่ิ บำงเรอื่ งอำจพิสดำรเกินจรงิ แต่กเ็ ชื่อว่ำเป็นเรอ่ื งจรงิ เช่น พระยำกง พระยำพำน เกำะหนูเกำะแมว เกำ้ เส้ง ปู่โสมเฝำ้ ทรัพย์ สัตหีบ เปน็ ตน้ ๔. นิทานสมัยใหม่ เปน็ นิทำนที่เล่ำกนั แถบตะวนั ออกไกลมลี ักษณะคล้ำยกับนิทำน ปรมั ปรำ ตัวละครมีพฤติกรรมคลำ้ ยชีวติ จรงิ กำหนดเวลำและสถำนที่ไม่แน่นอน เชน่ อำหรับรำตรี กำร ผจญภัยของซินแบต เปน็ ตน้ ๕. นทิ านเทพนิยาย เปน็ นิทำนเก่ยี วกบั เทวดำ นำงฟ้ำ หรือเทพเจำ้ ต่ำง ๆ มีลักษณะคลำ้ ย นิทำนปรัมปรำ และนิทำนวรี บรุ ษุ จะต่ำงกันตรงท่ีตวั เอกตอ้ งเปน็ เทพหรือนำงฟ้ำ เท่ำนน้ั เกดิ จำกควำมเชื่อ ทำงศำสนำหรือพิธกี รรมตำ่ ง ๆ ทำงศำสนำ มักเป็นเรอื่ งรำวของพระอนิ ทร์ พระนำรำยณ์ พระ พรหม เชน่ ทำ้ วมหำสงกรำนต์

๖. นทิ านเก่ยี วกบั สัตว์ เป็นเรอ่ื งท่ีมีตัวเอกเป็นสัตว์ แต่มีควำมคิดหรือกำรกระทำคลำ้ ย มนษุ ย์ แบ่งออกเปน็ ๒ ประกำรคือนิทำนเก่ยี วกบั คตธิ รรมหรือคติสอนใจ เชน่ นทิ ำนอสี ป กับนทิ ำน ประเภทเลำ่ ซำ้ หรือเล่ำไม่ร้จู บ เชน่ ยำยกะตำปลูกถ่วั ปลูกงำไวใ้ ห้หลำนเฝำ้ เปน็ ตน้

๗. นทิ ำนตลก เป็นนทิ ำนที่มีสำระสำคญั เพื่อควำมบนั เทงิ เป็นกำรผอ่ นคลำยควำมตรึงเครยี ด เป็น เร่ืองตลกขบขนั มกั จะเปน็ เรื่องที่ไม่นำ่ จะเป็นไปได้ เช่นตวั ละครอำจโงห่ รือฉลำดเกินไป หรอื อำจล้อเลียน เพ่อื ให้เกดิ อำรมณ์ขัน เชน่ ศรีธนญชัย มำ้ รำคำดีคนรำคำดี ไอ้ขำติดกบั ไอต้ ำบอด คนโง่ เปน็ ต้น ชือ่ ...............................................................ช้ัน...................เลขท.่ี ...........

ใบงาน เรื่อง ผังความคดิ ประเภทของนิทานพื้นบ้าน คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนสรปุ องค์ควำมรูป้ ระเภทของนิทำนในรูปแบบผังควำมคิด (ให้เขยี นด้วยลำยมอื ท่เี ป็น ระเบยี บสะอำด)

องคป์ ระกอบในการเล่านิทานให้สนุก ลลี าท่าทางของผเู้ ล่า ก่อนอื่นผเู้ ล่ำตอ้ งอำ่ นนทิ ำนและทำควำมเข้ำใจในเนื้อเร่ืองมำเปน็ อยำ่ งดี จดจำ เนือ้ เรอื่ งได้อยำ่ งแมน่ ยำ บคุ ลิกทำ่ ทำง ของผู้เล่ำก็สำคัญต้องดเู ปน็ กันเองกับผฟู้ งั อยใู่ นท่ำสบำยๆ มจี งั หวะในกำรพดู เวน้ วรรคตอนให้ดี ใช้เสียงสงู ตำ่ ดัง- เบำ ให้ เหมำะสมกับเน้อื เรอื่ ง ไม่ใช้น้ำเสยี งระดบั เดียวท่ีดูรำบเรยี บ หรอื เสยี งแหลมจนไมน่ ่ำฟงั นทิ ำนจะน่ำสนใจมำกน้อยเพยี งใด ข้ึนอยกู่ ับเทคนคิ ของผ้เู ลำ่ การจบั หนังสอื กำรจบั หนังสอื ควรจบั บรเิ วณรอบพับของเล่มนิทำนดัวยมือขำ้ งที่ถนดั จะเปน็ ดำ้ นบนหรอื ดำ้ นลำ่ งของหนงั สือกไ็ ด้ ระวงั อย่ำใหม้ ือไปบังภำพบนหนำ้ หนงั สอื ใช้มืออกี ขำ้ งช่วยเปิดหนังสือทีละแผ่น ยกหนังสืออยู่ระดับสำยตำผฟู้ ัง ไมเ่ คล่ือนไหว หนงั สอื ไปมำขณะกำรเลำ่ นทิ ำน การจดั ท่นี ่งั สาหรับผฟู้ งั ผู้ฟังนั่งหนั หน้ำหำผูเ้ ล่ำ ถำ้ เปน็ กลุ่มเล็กนัง่ รวมกันห่ำงจำกผเู้ ลำ่ ตำมควำมเหมำะสมให้เหน็ ภำพในหนังสือชดั เจน ไมน่ ่ัง ออกไปทำงดำ้ นข้ำงจะทำใหม้ องไม่เห็นหนงั สือ ในกรณีทีผ่ ูฟ้ ังมำก ให้น่งั หันหนำ้ หำผเู้ ลำ่ เปน็ ครึง่ วงกลมก็ได้ เทคนิคการเล่านิทาน กำรเลำ่ นิทำนทำไดห้ ลำยรูปแบบ ไดแ้ ก่ เล่ำนิทำนโดยใชห้ นงั สอื ไมใ่ ชห้ นังสือแต่ใชอ้ ปุ กรณ์อยำ่ งอ่นื ประกอบกำรเล่ำ เลำ่ ปำกเปล่ำหรือใช้ทำ่ ทำง รอ้ งเพลงประกอบ เล่ำโดยใชห้ นุ่ มือ หุ่นน้วิ หนุ่ ชัก เลำ่ ไปวำดไปหรือพบั กระดำษ ใชก้ ระดำนหรือ แผน่ ป้ำยสำลปี ระกอบกำรเลำ่ สิง่ เหล่ำน้ีจะทำใหน้ ิทำนน่ำสนใจย่งิ ขน้ึ ตัวอยำ่ งกำรเล่ำนิทำน เลา่ นิทานโดยใชเ้ พลงประกอบ นิทำนเรอ่ื ง \" ขนมปงั กลม กลิ้ง กลง้ิ \" สำนักพมิ พ์ แพรวเพื่อนเดก็ ผ้เู ลำ่ ใชห้ นังสือประกอบกำรเลำ่ พอถงึ ช่วงท่ีขนมปัง กลม รอ้ งเพลงใหส้ ตั ว์แตล่ ะตัวฟังผ้เู ลำ่ กส็ ำมำรถใสท่ ำนองลงไปแลว้ ร้องเป็นเพลง หรอื ใหเ้ ด็กมสี ่วนร่วมในกำรเลำ่ เชน่ ถ้ำครูพดู คำวำ่ กลงิ้ หลนุ หลนุ ใหเ้ ด็กหมนุ มอื ไปตำมเสยี งช้ำเร็วท่ไี ดย้ ิน เลา่ นิทานประกอบการใชท้ า่ ทางของผ้เู ล่า และผฟู้ งั มีส่วนรว่ มในการเลา่ นิทำน เรอ่ื ง \"หวั ผกั กำดยกั ษ์\" สำนักพมิ พแ์ พรวเพือ่ นเดก็ เลำ่ โดยยืนถือหนังสอื เมือ่ ถงึ ตอนดึงหวั ผักกำด ผเู้ ลำ่ ต้อง ทำท่ำเหมอื นกำลังดงึ หรอื ถอนเจำ้ หัวผักกำดอย่ำงเตม็ แรง เม่อื ถอนไม่ไดต้ ำจึงเรยี กยำยมำชว่ ยในตอนน้ีให้ขออำสำสมคั รเดก็ หนงึ่ คนออกมำเปน็ ยำยจับเอวผเู้ ลำ่ แล้วทำทำ่ ช่วยกันดงึ เจ้ำหวั ผักกำด เมอื่ ถงึ ตอนตำมหลำน ตำมหมำ ตำมแมว ตำมหนมู ำชว่ ย ก็ค่อยๆหำอำสำสมคั รออกมำจบั เอวตอ่ ๆกันจนกระทัง่ ถอนหัวผักกำดออก นิทำนเร่อื ง \" พระจันทรอ์ รอ่ ยไหม\" สำนกั พิมพ์แพรวเพือ่ นเดก็ ครเู ลำ่ นิทำนประกอบภำพในหนังสือ เมื่อครูเลำ่ นิทำนจบ ให้ เด็กวำดภำพสตั วท์ ช่ี อบและนำสตั ว์ทกุ ตวั ทเ่ี ปน็ ผลงำนเดก็ มำแต่งใหเ้ ป็นเร่อื งรำวเดียวกันภำยใตโ้ ครงเร่อื งเดมิ ครตู ้องหำพื้นท่ี ภำยในหอ้ งให้เด็กท่เี ป็นตัวละครออกมำตดิ ภำพสัตวต์ อ่ ตัวกัน เลำ่ นทิ ำนประกอบกำรพบั ฉีกกระดำษ หรือวำดภำพ สำมำรถหำ ข้อมลู เพ่มิ เตมิ ได้จำกหนงั สือ เล่ำไปวำดไป กับเทคนคิ กำรเลำ่ นิทำน ของสำนักพิมพ์ แพรวเพอ่ื นเด็ก มีงำนวิจยั ท่เี กยี่ วกบั กำรอ่ำนหนังสอื ใหเ้ ด็กฟังหลำยต่อหลำยเลม่ พบวำ่ เดก็ ปฐมวัยท่ไี ด้รับกำรอำ่ นหนงั สือใหฟ้ งั บอ่ ยๆไม่ เพียงแตจ่ ะมคี วำมรมู้ ีควำมพร้อมดำ้ นภำษำยังทำใหเ้ ด็กมีควำมสำมำรถดำ้ นกำรเรียนในภำพรวมของเนอื้ หำวิชำ กำรที่ผู้ใหญ่ เลำ่ หรอื อำ่ นนิทำนให้ฟงั ไม่เพยี งแตเ่ ป็นกำรขยำยประสบกำรณ์ หรือเตรยี มควำมพรอ้ มเด็กเพ่ือกำรอำ่ นออกเขยี นได้ ส่ิงสำคญั อกี อย่ำงคือเด็กได้แลกเปล่ียนควำมคิดเห็นเก่ยี วกบั นทิ ำน ทัง้ ตัวละคร เหตกุ ำรณ์ ควำมหมำยของสำนวนภำษำทใ่ี ช้ เกดิ กำร เชอื่ มโยงภำษำท่ีไดฟ้ งั ไปสูก่ ำรใชใ้ นสถำนกำรณจ์ รงิ ต่อไป หลังจำกเลำ่ นิทำนถ้ำครูหรอื ผเู้ ล่ำมีกำรถำมคำถำมเลอื กระดบั คำถำม ให้เหมำะกบั พัฒนำกำรตำมวยั พยำยำมถำมคำถำมปลำยเปดิ เพ่อื ใหเ้ ด็กไดค้ ดิ หำคำตอบที่หลำกหลำยได้แก่คำถำมประเภท ทำไม อยำ่ งไร ถ้ำ......จะเป็นอยำ่ งไร เพรำะเหตใุ ด ฝึกใหเ้ ด็กไดเ้ ป็นคนต้งั คำถำมถำมเพอ่ื นเก่ียวกับเรอื่ งรำวในนทิ ำน หรือคดิ กิจกรรมใหเ้ ดก็ ได้ทำหลังจำกจบนทิ ำนโดยครูใช้คำถำมเปน็ ตัวกระตนุ้ หรือกำหนดสถำนกำรณ์ เช่น ถำ้ ยรี ำฟกับจระเข้แต่งงำน กนั ลูกท่ีออกมำจะมรี ูปรำ่ งหนำ้ ตำอย่ำงไร หรอื บ้ำนของยรี ำฟกับจระเข้น่ำจะเป็นแบบไหน เป็นตน้ เดก็ ๆมีวธิ ีกำรซ่อนสตรอ เบอร์ร่อี ย่ำงไรโดยไมใ่ ห้เจำ้ หมีเห็น กจิ กรรมเหลำ่ น้จี ะชว่ ยพัฒนำทักษะด้ำนกำรคดิ ของเดก็ ได้เป็นอย่ำงดี

ใบความรทู้ ่ี ๑.๑ ความรูเ้ กี่ยวกบั นิทาน เผยแพรบ่ นเวบ็ ไซต์ www.kroobannok.com พระพทุ ธศำสนำเปน็ สำคัญ เชำ่ ทำดีไดด้ ี ทำชัว่ ได้ชว่ั นิทำนศำสนำของไทยจะมี ทม่ี ำจำกพทุ ธประวตั ิ เชน่ นทิ ำนชำดก เปน็ ตน้ ๓. นิทำนคติ คติ หมำยถงึ แนวทำง แบบอยำ่ ง แนวคดิ ท่ีปรำกฏในนิทำน คือ คุณคำ่ ของ จริยธรรม และผลแห่งกำรประกอบกรรมดกี รรมชว่ั กรรมดที ี่นำผลดีมำให้ สว่ นกรรมช่ัว ทนี่ ำผลชั่วมำให้ นิทำนคติมกั ชีใ้ หเ้ หน็ ผลดีผลรำ้ ยของกรรมในตอนทำ้ ยเรื่องเสมอ ๔. นิทำนมหัศจรรย์หรอื เทพนยิ ำย เป็นนิทำนเก่ยี วกับเทวดำนำงฟำ้ หรอื เปน็ เรอื่ งรำวที่ มหศั จรรย์เหนือธรรมชำติ ๕. นทิ ำนชีวิต มลี ักษณะเปน็ เรอื่ งทีเ่ คยเกดิ ขนึ้ จรงิ นทิ ำนชีวติ จะดำเนนิ เรอ่ื งอยใู่ นโลก แห่งควำมเปน็ จรงิ มำกกวำ่ นทิ ำนชนดิ อื่น เชน่ พระลอ ไกรทอง ขนุ ชำ้ งขุนแผน ๖. นทิ ำนประจำถ่ิน มักเปน็ เรอ่ื งแปลกซง่ึ เช่ือวำ่ เคยเกดิ ขน้ึ จรงิ ณ สถำนทีแ่ ห่งใดแหง่ หน่งึ ตวั ละครและสถำนท่บี ่งไว้ชดั เจน อำจเป็นเร่ืองของบคุ คล ในประวัติศำสตร์ ๗. นทิ ำนอธบิ ำยเหตุ เปน็ เรื่องทอี่ ธบิ ำยถงึ กำเนดิ หรอื ควำมเป็นมำของสิง่ ท่ีเกดิ ขน้ึ ใน ธรรมชำติ ๘. นิทำนเรอ่ื งสตั ว์ เปน็ เรอื่ งทสี่ ตั วเ์ ปน็ ตวั เอก โดยทั่วไปมักแสดงให้เหน็ ควำมฉลำดของ สัตวช์ นิดหนึง่ และควำมโง่เขลำของสัตวอ์ ีกชนดิ หนง่ึ ๙. นิทำนเรอ่ื งผี มีผีเป็นตัวเอกของเรอื่ ง เรือ่ งเลำ่ เกย่ี วกับผนี สี้ ะทอ้ นให้เห็นควำมเชอื่ ใน เรอื่ งวญิ ญำณ และเร่อื งภูตผขี องคนไทย ผใี นเร่อื งท่ีเลำ่ มีท้งั ผดี ใี หค้ วำมชว่ ยเหลอื หรอื ค้มุ ครอง และผีร้ำยทคี่ อยหลอกหลอน รงั ควำมคน ๑๐. นทิ ำนตลก มกั จะมีขนำดโครงเรอื่ งไมซ่ บั ซอ้ น ตวั ละครอำจเปน็ มนษุ ย์หรือสตั ว์ก็ได้ จดุ สำคัญของเรอื่ งอย่ทู คี่ วำมไม่นำ่ เป็นไปไดต้ ำ่ งๆ เผยแพร่บนเวบ็ ไซต์ www.kroobannok.com คุณคา่ ของนิทาน นิทำนมีคุณค่ำหลำยประกำรคือ ๑. ใหค้ วำมสนกุ สนำนเพลดิ เพลิน ๒. ชว่ ยกระชับควำมสมั พนั ธ์

๓. ชว่ ยเสรมิ สรำ้ งจนิ ตนำกำร ๔. ใหข้ อ้ คิดและคตเิ ตอื นใจ ๕. ชว่ ยสะท้อนให้เหน็ สภำพของสงั คมในอดีต คานิยมที่ปรากฏอยู่ในนิทานประเภทต่างๆ ค่ำนิยม หมำยถงึ วิธจี ัดรปู พฤติกรรมของมนุษยท์ ่ีฝังแน่นอยู่ในตวั คน และเป็นส่งิ ที่เรำ ยดึ ถือปฏิบัตกิ ันตอ่ ๆ มำ หรอื อำจหมำยถงึ กำรยอมรบั นับถอื และพรอ้ มทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ำม คุณคำ่ ทค่ี นหรอื กลมุ่ คนท่ีมอี ยตู่ ่อส่ิงตำ่ งๆ คำนยิ มทป่ี รำกฏอยู่ในนทิ ำนอำจสรปุ ไดด้ ังน้ี ๑. ควำมขยนั ๒. ควำมกตญั ญู ๓. ควำมไมโ่ ลภ ๔. ควำมมปี ิยวำจำ ๕. ควำมเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ ๖. ควำมอดทนอดกลน้ั ๗. กำรเช่อื ฟงั ผู้ใหญ่ บิดำมำรดำ หรอื ผอู้ ำวโุ ส ๘. กำรยกยอ่ งผ้มู วี ชิ ำควำมร้แู ละควำมเปน็ คนฉลำดหลกั แหลม ๙. กำรใหอ้ ภยั กนั ทีม่ า : กอ่ เกียรติ อภชิ ำตกุล. ควำมรเู้ ก่ยี วกับนทิ ำน. กรุงเทพฯ : ธำรอกั ษร, ๒๕๔๙. เผยแพรบ่ นเวบ็ ไซต์ www.kroobannok.com

จุดประสงค์ : นกั เรยี นสำมำรถอ่ำนจบั ใจควำมสำคญั จำกนิทำนได้ คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนอำ่ นเนอ้ื เรอื่ งของนทิ ำนทก่ี ำหนดให้น้ี จบั ใจควำมสำคญั ของเนอ้ื เรอ่ื งแลว้ ตอบคำถำมตอ่ ไปนี้ กระตำ่ ยตวั หน่ึงหลงทะนงในฝเี ทำ้ ของตนว่ำสำมำรถว่งิ ไดร้ วดเรว็ ดุจสำยสม ใน ป่ำท่อี ำศยั อยูไ่ ม่มสี ตั ว์ตวั ใดสำมำรถเอำชนะมันได้ วนั หน่งึ พบเต่ำคลำนตว้ มเตย้ี มผ่ำน หน้ำไป กระตำ่ ยจึงกลำ่ ววำจำเยำะเย้ยด้วยควำมคกึ คะนอง “มวั แตค่ ลำนเชือ่ งช้ำ อยู่ แบบนเ้ี ม่อื ไหรจ่ ะไปถงึ จุดหมำยปลำยทำงเล่ำเพอื่ น อยำ่ งเจ้ำน้ีข้ำตอ่ ใหค้ ลำนล่วงหน้ำไป กอ่ นสักครึง่ วนั กค็ งวิ่งตำมทัน”“ไม่ต้องตอ่ ใหข้ ้ำหรอก” เต่ำรู้สกึ ไมพ่ อใจ “กระต่ำยขโ้ี ม้ อยำ่ งเจำ้ ไม่เหน็ วำ่ จะเกง่ กำจตรงไหน ไม่เช่อื เรำมำลองวง่ิ แขง่ กันก็ได้” “วำ่ ไงนะ” กระต่ำยแทบไมเ่ ช่อื หูตัวเอง “เจ้ำนะเหรอกลำ้ ทำ้ แข่งกบั ข้ำ ฮะ...ฮะ...ฮะ..” กระต่ำยยืนหวั เรำะจนทอ้ งแขง็ พอดหี มำจงิ้ จอกเดินผ่ำนมำ ทั้งสองจึงเชญิ ให้เปน็ กรรมกำรตดั สินเม่ือเรม่ิ กำรแขง่ ขนั กระต่ำยวิง่ ออกจำกจุดเริ่มตน้ ด้วยควำมเร็วสดุ ฝเี ทำ้ ครั้นถงึ กลำงทำงลองเหลยี วกลบั ไปมองข้ำงหลงั ไมเ่ ห็นแม้แตเ่ งำของคู่แข่ง เจ้ำกระตำ่ ยจงึ ละลำ่ ใจแวะเขำ้ ไปนอนกระดกิ ขำเลน่ ท่ใี ต้รม่ ไมใ้ หญ่

ใบงานท่ี ๑.๑ การอา่ นจับใจความสาคญั จากนิทาน เร่อื ง กระตา่ ยกบั เตา่ เผยแพรบ่ นเว็บไซต์ www.kroobannok.com “หลบั เอำแรงสกั งบี ดีกว่ำ” กระต่ำยทำทำ่ บิดขี้เกียจ “เอำไว้พอเจำ้ หลังตงุ มำถึง แถวน้ี ค่อยตน่ื ข้ึนมำเตน้ ระบำไปรอบ ๆ ตวั มันจนกว่ำจะถึงเสน้ ชัย”สำยลมเย็นพดั โชย เฉอื่ ยฉวิ ไมน่ ำนนกั เจ้ำกระตำ่ ยผูป้ ระมำทกเ็ ผลอหลบั ไปจรงิ ๆ ฝำ่ ยเตำ่ ยังคงคลำน ต้วมเต้ียม ๆ อย่ำงไมย่ อ่ ท้อโดยมีเพอื่ นสัตว์ป่ำเดนิ ทำงสง่ เสยี งเชยี รเ์ พ่อื ให้กำลังใจ เนื่องจำกทกุ ตวั ตำ่ งชังนำ้ หนำ้ เจ้ำกระต่ำย ขคี้ ยุ ยกเว้นแตต่ อนผำ่ นต้นไมซ้ ่งึ เจ้ำกระต่ำย กำลงั หลับฝนั หวำนอยู่เทำ่ นั้นที่สัตวท์ กุ ตัวต่ำงพำกันเงียบเสียงเจำ้ กระตำ่ ยสะดุง้ ตื่นข้ึนมำ เมือ่ ไดย้ นิ เสยี งไชโยโหร่ อ้ ง เห็นรอยเทำ้ สัตว์ต่ำงๆ มำกมำยบนทำงที่ใช้แขง่ ขันรสู้ กึ ผดิ สังเกต มันรบี วิง่ ไปขำ้ งหน้ำอย่ำงรวดเรว็ อึดใจตอ่ มำจึงเหน็ คู่แข่งของมนั กำลังจะคลำน เขำ้ สู่เสน้ ชัย เจ้ำกระต่ำยออกแรงว่งิ สดุ ฝเี ทำ้ แตก่ ส็ ำยไปแล้ว พวกสตั วป์ ำ่ ตำ่ งห้อมลอ้ ม เขำ้ ไปแสดงควำมยินดีกบั เต่ำตวั แรกทสี่ ำมำรถเอำชนะกระตำ่ ยได้ในกำรวิ่งแขง่ ขัน เป็น ตำนำนเล่ำขำนสืบต่อกนั มำจนถงึ ทกุ วนั นี้ ๑. ในเรอื่ งสตั วท์ ัง้ สองชนิดได้ทำอะไร ............................................................. ๒. เจำ้ หลงั ตุง หมำยถงึ ใคร .............................................................................. ๓. เพรำะเหตใุ ดกระตำ่ ยจงึ ไดเ้ ปน็ ผแู้ พ้ ............................................................. ............................................................................................................................. ๔. นิทำนเรอื่ งนีใ้ หข้ อ้ คดิ อะไร ......................................................................... ............................................................................................................................. ๕. นิทำนเรอื่ งนีเ้ ป็นนทิ ำนประเภทใด ............................................................... .............................................................................................................................

จดุ ประสงค์ : นกั เรยี นสำมำรถอำ่ นจับใจควำมสำคัญจำกนทิ ำนได้ คาชี้แจง : ให้นกั เรยี นอำ่ นเนอื้ เรอื่ งของนทิ ำนทก่ี ำหนดใหน้ ี้ จบั ใจควำมสำคญั ของเนอื้ เรอ่ื งแล้วตอบคำถำมตอ่ ไปนี้ เศรษฐีคนหนึ่งชอบใจลูกสำวชำวนำยำกไร้เขำเชิญชำวนำกับลูกสำวไปที่สวนใน คฤหำสนข์ องเขำเป็นสวนกรวดกว้ำงใหญ่ท่ีมีแต่กรวดสีดำกับสีขำว เศรษฐีบอกชำวนำว่ำ “ทำ่ นเป็นหนสี้ ินขำ้ จำนวนหนึง่ แตห่ ำกท่ำนยกลูกสำว ให้ขำ้ จะยกเลิกหน้ีสินทั้งหมดให้” ชำวนำไม่ตกลงเศรษฐีบอกว่ำ “ถ้ำเช่นน้ันเรำมำพนันกันดีไหม ข้ำจะหยิบกรวดสองก้อน ข้ึนมำจำกสวนกรวดใส่ในถุงผ้ำนี้ ก้อนหน่ึงสีดำ ก้อนหนึ่งสีขำว ให้ลูกสำวของท่ำนหยิบ ก้อนกรวดจำกถุงนี้ หำกนำงหยิบได้ก้อนสีขำว ข้ำจะยกหนี้สินให้ท่ำนและนำงไม่ต้อง แตง่ งำนกบั ข้ำ แตห่ ำกนำงหยิบได้ก้อนสีดำ นำงตอ้ งแต่งงำนกบั ขำ้ และแนน่ อน ขำ้ จะยก หนี้ให้ท่ำนด้วย” ชำวนำตกลงเศรษฐีหยิบกรวดสองก้อนใส่ในถุงผ้ำ หญิงสำวเหลือบไป เหน็ ว่ำกรวดทั้งสองก้อนนั้นเป็นสดี ำ เธอจะทำอย่ำงไร หำกเธอไมเ่ ปิดโปงควำมจริงก็ต้อง แต่งงำนกับเศรษฐีขี้โกง หำกเธอเปิดโปงควำมจริงเศรษฐีย่อมเสียหน้ำ และยกเลิกเกมน้ี แต่บดิ ำของเธอกจ็ ะยงั คงเปน็ หน้ีเศรษฐีต่อไปอกี นำนลูกสำวชำวนำเออ้ื มมือลงไปในถุงผ้ำ หยิบกรวดขึ้นมำหนึ่งก้อนพลันเธอปล่อยกรวดในมือร่วงลงสู่พื้นกลืนหำยไปในสีดำและ ขำวของสวนกรวด เธอมองหน้ำเศรษฐีเอ่ยว่ำ “ขออภัยที่ข้ำพลั้งเผลอปล่อยหินร่วงหล่น แตไ่ ม่เป็นไรในเมื่อท่ำนใส่

ใบงานท่ี ๑.๒ การอ่านจบั ใจความสาคัญจากนิทาน เรือ่ ง เศรษฐเี จา้ เลห่ ์ เผยแพรบ่ นเวบ็ ไซต์ www.kroobannok.com กรวดสขี ำวกับสีดำอยำ่ งละหนงึ่ ก้อนลงไปในถงุ น้ดี งั นน้ั เมอ่ื เรำเปิดถงุ ออกดูสีกรวด ก้อนทีเ่ หลอื กย็ อ่ มรู้ทนั ทีวำ่ กรวดท่ขี ำ้ หยิบไปเมื่อครู่เปน็ สอี ะไร” ท่ีกน้ ถุงเปน็ กรวดสดี ำ “...ดังน้นั กรวดกอ้ นที่ข้ำทำตกย่อมเป็นสขี ำว” ชำวนำพน้ สภำพลูกหน้ีและลูกสำวไม่ตอ้ ง แต่งงำนกบั เศรษฐีขโี้ กงคนนน้ั ๑. เศรษฐีไดพ้ ำชำวนำและลกู สำวไปทแ่ี หง่ ใด ................................................................... ........................................................................................................................................... ๒. เศรษฐีไดต้ ้ังเงอ่ื นไขกำรพนนั กบั ชำวนำสองขอ้ คือ ...................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ๓. ควำมจรงิ แล้วในถงุ ผำ้ มกี อ้ นกรวดสใี ดบำ้ ง ................................................................... ๔. เพรำะเหตใุ ดลกู สำวชำวนำจงึ ไมเ่ ปิดโปงควำมจรงิ ว่ำเศรษฐีนั้นเล่นไมซ่ ื่อ ........................................................................................................................................... ๕. สุดทำ้ ยแลว้ ชำวนำยงั คงเปน็ หนี้เศรษฐแี ละลกู สำวตอ้ งตกแตง่ งำนกับเศรษฐหี รอื ไม่ เพรำะเหตใุ ด ..................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ๖. นิทำนเรอื่ งนเี้ ปน็ นิทำนประเภทใด ............................................................................... ๗. นิทำนเรอ่ื งน้ใี หข้ อ้ คดิ อะไร ........................................................................................... ...........................................................................................................................................

จดุ ประสงค์ : นักเรียนสำมำรถอ่ำนจบั ใจควำมสำคัญจำกนิทำนได้ คาชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นอำ่ นเนอ้ื เรอื่ งของนทิ ำนทก่ี ำหนดให้จับใจควำมสำคญั ของเน้ือเร่ือง แล้วตอบคำถำมโดยทำเคร่ืองหมำย หนำ้ คำตอบ ทถ่ี กู ตอ้ ง กำลครงั้ หน่ึงนำนมำแล้ว มีนำยพรำนคนหนงึ่ ไดเ้ ลี้ยงหมำตวั เมยี ไว้ หนึ่งตวั ใน ยำ่ นนน้ั ไมม่ หี มำตวั ผูอ้ ยเู่ ลย วนั หนง่ึ แมห่ มำเกิดตงั้ ท้องขึน้ มำ นำยพรำนเกรงจะถกู ชำวบำ้ นครหำวำ่ มเี มยี เป็นหมำ จงึ คดิ จะกำจัดแมห่ มำ บ้ำนของนำยพรำนเป็นบ้ำนเสำสูง แบบเรือนตน้ ไม้ รำวบันไดปลดเก็บข้ึนไว้ บนเรอื น เพอื่ ป้องกันมใิ ห้สัตวร์ ำ้ ยข้ึนไปทำรำ้ ย ชวี ติ คนบนบำ้ นได้ เยน็ วนั หนงึ่ นำยพรำนปลดบนั ไดบ้ำนเกบ็ ไวบ้ นบ้ำนโดยทิง้ แม่หมำไว้ ขำ้ งลำ่ ง โดยหวงั ทีจ่ ะใหเ้ สอื มำคำบแม่หมำเอำไปกนิ แม่หมำกว็ งิ่ หนีไปถงึ ดอยผำสำมเสำ้ ริมดอย วัดม่วงคำ (อำเภอแมท่ ะ จงั หวัดลำปำง) แล้วคลอดลูกแฝดเปน็ เดก็ สำวน่ำรกั สองคน ลกู สำวฝำแฝดโตเป็นสำว คนพช่ี ่ือนำงเจตะกำ คนน้องช่อื นำงบวั ตอง กิตติศัพท์ ควำมงำมของหญิงสำว ทั้งสองกระฉ่อนไปถึงในเมืองเมอื่ พระยำเจ้ำเมอื งทรำบขำ่ ว ปรำรถนำจะได้ธดิ ำแฝดไปเปน็ มเหสี ก็ไปรบั สองธิดำแฝดทดี่ อยผำสำมเส้ำขณะทแ่ี ม่หมำ ไมอ่ ยู่ ธดิ ำแฝดบัวตองผนู้ ้องแสดงควำมเสยี ใจรอ้ งไหค้ รำ่ ครวญถึงแม่หมำ สว่ นผ้พู มี่ ีทีทำ่ ตนื่ เตน้ ทีม่ วี ำสนำจะไดเ้ ข้ำไปอยใู่ นวัง พระยำเจำ้ เมอื งได้สรำ้ งปรำสำทสองหลังให้นำงเจ ตะกำและนำงบวั ตองอยคู่ นละหลัง

ใบงานท่ี ๑.๓ การอ่านจบั ใจความสาคญั จากนิทาน เรื่อง หมาขนคา เผยแพรบ่ นเว็บไซต์ www.kroobannok.com ฝำ่ ยแม่หมำเมือ่ กลับมำกพ็ บวำ่ ลูกสำวหำยไป แมห่ มำก็เห่ำหอนและตะกุยหน้ำผำ จนเป็นรอยคลำ้ ยเล็บเทำ้ ฝงั ในเนื้อหนิ ผำท่ีชำวบำ้ นเรยี กว่ำรอยตีนหมำขนคำรอ้ งไห้หำลูก สำว มำจนทุกวันนพ้ี ระอนิ ทรเ์ วทนำแมห่ มำจงึ เนรมิตให้แม่หมำพูดได้ แม่หมำจึงเดินทำง ติดตำมหำลูกสำวถึงในเมือง แม่หมำได้ถำมไถ่ชำวบ้ำนมำเรื่อย ๆ จนกระทั่งมำถึง ปรำสำทของนำงเจตะกำ ทหำรได้ซักถำมแม่หมำว่ำรู้จักและเก่ียวข้องกับนำงเจตะกำ อย่ำงไร แม่หมำก็บอกว่ำนำงเจตะกำเคยเป็นนำยเก่ำมำก่อน คร้ันเมื่อทหำรนำควำมมำ แจ้งแกน่ ำงเจตะกำ นำงเจตะกำกลวั วำ่ จะอับอำยทีม่ แี มเ่ ปน็ หมำ จึงสงั่ ใหท้ หำรทำรำ้ ยแม่ หมำจนไดร้ ับบำดเจบ็ วิง่ หนไี ปแมห่ มำได้รบั บำดเจ็บกว็ ่งิ มำถงึ ปรำสำทนำงบัวตอง นำงบัว ตองรีบว่ิงมำรับแม่หมำนำเข้ำไปในปรำสำทเพื่อเยียวยำรักษำ ให้ข้ำวให้น้ำแก่แม่หมำ นำงบัวตองได้ทูลขอหีบขนำดใหญ่จำกสวำมีโดยบอกว่ำจะเอำไปขนสมบัติ ท่ีผำสำมเส้ำ ภำยในกำหนดเวลำเจ็ดวัน แต่ในควำมเป็นจริงแล้ว นำงบัวตอง ได้นำหีบไว้เป็นที่ซ่อน ของแม่หมำในวัง เม่ือครบเจ็ดวันแล้ว แม่หมำทนพิษบำดแผลไม่ไหวก็สิ้นใจตำย พระ อินทร์ได้เนรมิตร่ำงแม่หมำให้กลำยเป็น แก้วแหวนเงินทอง เม่ือพระยำเจ้ำเมืองพบว่ำมี แก้วแหวนเงินทองเต็มหีบ พระองค์ก็โปรดนำงบัวตองเป็นอันมำก พระองค์ก็ให้นำงบัว ตองไปขนสมบตั ิ ท่ผี ำสำมเส้ำอกี ครง้ั หนึง่ นำงบัวตองมคี วำมเสียใจทีแ่ มห่ มำเสยี ชีวิต นำง จึงคิดจะกระโดดหน้ำผำฆ่ำตัวตำย บริเวณข้ำงล่ำงของหน้ำผำเป็นที่อยู่ของยักษ์ ซ่ึงป่วย เปน็ ฝกี ลัดหนองเจ็บปวดมำก เมื่อนำงบัวตองกระโดดลงไปกระทบกับร่ำงของยักษ์ทำให้ ฝีแตก ยักษ์จึงหำยปวดเป็นปลิดทิ้ง ยักษ์จึงมอบทรัพย์สมบัติให้นำงบัวตองเป็นอันมำก นำงบวั ตองจงึ นำสมบตั กิ ลับวงั ฝำ่ ยนำงเจตะกำ เม่อื ทรำบข่ำววำ่ นำงบวั ตองไปขนสมบตั ิ ท่ีผำสำมเส้ำ นำงก็รู้สึกอิจฉำนำงบัวตอง นำงจึงอำสำพระยำเจ้ำเมืองจะไปขนสมบัติท่ี ผำสำมเส้ำ เมื่อไปถึงผำสำมเส้ำนำงเจตะกำก็กระโดดหน้ำผำตำมท่ีนำงบัวตองแนะนำ ด้วยควำมที่นำงเจตะกำมีบำปหนำฆ่ำแม่ของตัวเอง ยักษ์จึงจับนำงกินเป็นอำหำร แล้ว ยกั ษก์ ไ็ ลก่ นิ ขบวนช้ำงม้ำตำยเกลื่อนเป็นจำนวนมำก สถำนท่ีแห่งนี้จึงเรียกว่ำโทกหัวช้ำง ในปจั จบุ นั ( อยใู่ นเขตอำเภอเมอื งลำปำง )

๑. ในเรือ่ งหมำได้คลอดลูกออกมำเป็น …………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. นิทำนเรอ่ื งนเ้ี ป็นนิทำนพน้ื บ้ำนของจังหวัดใด …………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. เมอื่ แมห่ มำตำยไปไดก้ ลำยเป็นสงิ่ ใด …………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ในเรอ่ื งบคุ คลใดทเี่ ปน็ ผทู้ มี่ คี วำมกตัญญู …………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. บริเวณดำ้ นลำ่ งหน้ำผำเป็นที่อยขู่ องใคร ……………………………………………………………………………………………………………………………

จดุ ประสงค์ : นกั เรียนสำมำรถอ่ำนจับใจควำมสำคญั จำกนิทำนได้ คาช้ีแจง : ให้นักเรียนอำ่ นเนื้อเรื่องของนทิ ำนที่กำหนดให้แล้วจบั ใจควำมสำคญั ของเน้ือเรื่องลงในชอ่ งว่ำงท่ี กำหนด แมว่ ัวตัวหน่ึงเดินหำอำหำรอยู่ในทอ้ งนำ บงั เอิญพลำดไปเหยยี บเอำพวกลกู กบเขำ้ ลกู กบสว่ นใหญถ่ ูก เหยียบตำยเกือบหมด เหลอื รอดมำตวั เดยี ว วง่ิ หนีมำหำแม่ ตวั สน่ั งันงกบอกกับแมข่ องมันว่ำ \"ฉนั ไดเ้ หน็ สัตว์ ประหลาดตวั ใหญ่เบ้อเรอ่ ทีเดียวตัวมนั ใหญโ่ ตเหมอื นภเู ขามีเขาอยู่บนหวั มีหางยาว กีบเท้าของมันแยก ออกมาเปน็ สองซกี มนั เป็นตัวอะไรกไ็ ม่รู้ ใหญม่ หึมา เหยียบ พวกพี่นอ้ งตายหมด เหลือแตข่ ้ารอดมา\" แม่ กบถำมวำ่ \" ตัวมันโต ขนาดไหนละ?\" ว่ำแลว้ ก็พองตวั ให้ลูกดู ลูกกบก็ตอบว่ำใหญก่ วำ่ น้ัน แมก่ บก็พยำยำม เบง่ ตัวใหพ้ อง ขึ้นอีก ลกู ก็วำ่ โตยงั ไมเ่ ท่ำสตั วต์ ัวน้นั แมก่ บก็ยง่ิ พองตัวข้นึ อย่ำงสุดฤทธิ์

เฉลยใบงานที่ ๑.๔ กำรอำ่ นจับใจควำมสำคัญจำกนทิ ำน เรือ่ ง แม่กบกับวัวแลว้ ถำมลกู อกี ว่ำ \" ขนำดน้ีได้ไหม?\" ลกู กบ ก็ ตอบ ตำมเดิมวำ่ \" ยงั ใหญก่ ว่ำนน้ั ถึงแมว้ ่ำแมจ่ ะพองตวั จนพุงแตกกย็ งั ไม่ได้ครง่ึ ของ สตั ว์ตัวนัน้ เลย..กรณุ ำอย่ำ ถงึ ขนำดทำรำ้ ยตัวเองเลยแม่??\" แม่กบยังไมห่ ำยสงสัยใน ควำมใหญโ่ ตของสตั ว์ตัวทีล่ ูกของมนั พดู นน่ั เอง ดงั นัน้ แมก่ บจึงสดู ลมหำยใจจนสดุ เทำ่ ท่ีมนั จะทำได้ เบ่ง เบ่ง แล้วก็เบง่ จนตัวของมนั พองขึน้ พองข้นึ และพองขึ้น แลว้ มันก็พดู วำ่ \"แม่มน่ั ใจเหลือเกินว่ำ สัตว์ตัวน้ันคงไมใ่ หญ่ไปกวำ่ นห้ี รอก...\" พูดถึงแคน่ ้ีตัวมันกแ็ ตกระเบดิ (ดงั โปะ๊ ) ขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ำกนทิ ำนเรือ่ งน้ี .................................................................................................................................. สรุปใจควำมสำคัญของนิทำน ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ .............................................................................................................................................................................. สรุปใจควำมสำคัญของนิทำน ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................(อยู่ในดลุ ยพินจิ ของ ครูผู้สอน).............................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................................. ขอ้ คิดท่ไี ด้จำกนิทำนเร่อื งนี้ นทิ ำนเร่ืองนี้สอนใหร้ วู้ ่ำ “ตนต้องรูจ้ ักประมำณตนเอง”

จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. เพื่อใหน้ กั เรียนวเิ ครำะห์เน้ือหำและตอบคำถำมจำกกำรอำ่ นนทิ ำนพืน้ บ้ำนได้ ๒. เพื่อใหน้ ักเรียนสรปุ ประเด็นควำมรู้จำกกำรอ่ำนนิทำนพ้ืนบ้ำนได้ ๓. เพื่อใหน้ ักเรยี นแสดงควำมคิดเห็นจำกกำรอ่ำนนิทำนพ้นื บำ้ นได้ สาระการเรียนรู้ การอ่านเชิงวิเคราะหน์ ทิ านพน้ื บา้ น กรอบเนื้อหำ เติมเต็มควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ - ควำมหมำยของนิทำนพื้นบ้ำน - ลักษณะของนิทำนพ้ืนบำ้ น - กำรศึกษำรวบรวมนิทำนพืน้ บำ้ น - ประเภทของนทิ ำนพน้ื บ้ำน - นทิ ำนพ้นื บ้ำน เรอื่ ง สินไซ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอ่ำนคำถำมใหล้ ะเอียด แล้วเลอื กคำตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งคำตอบเดียว แบบทดสอบก่อนเรยี น โดยทำเครือ่ งหมำย x ในช่องตวั เลือกท่ีต้องกำร และทำข้อสอบให้ครบทกุ ข้อ ๑. กำรอ่ำน คิด วิเครำะห์ หมำยถงึ ข้อใด ก. กำรอำ่ นโดยกำรคิดพจิ ำรณำหำเหตผุ ลหรอื ข้อเทจ็ จริง ข. กำรอำ่ นที่ทำใหร้ ู้สกึ เพลดิ เพลนิ และเกิดจนิ ตนำกำร ค. กำรอ่ำนท่ีม่งุ จับใจควำมสำคญั โดยไมส่ นใจเหตผุ ลใด ง. กำรอ่ำนออกเสียงทำนองเสนำะใหเ้ กิดไพเรำะ ๒. ข้อใดไมใ่ ช่จุดมุง่ หมำยของกำรอ่ำน ก. อ่ำนเพื่อหำควำมรู้ ข. อำ่ นเพื่อทรำบเรื่องรำว ค. อำ่ นเพ่ือควำมเพลดิ เพลนิ ง. อำ่ นเพ่ือรกั ษำอำกำรนอนไม่หลบั ๓. กำรอ่ำนงำนเขยี นชนิดใดต้องใชห้ ลกั กำรคดิ วิเครำะหม์ ำกทส่ี ุด ก. ขำ่ ว ข. กำรต์ นู ค. สำรคดี ง. ใบแนะนำสินค้ำ ๔. ข้อใดไม่ใช่วธิ กี ำรอำ่ นคิดวิเครำะห์ ก. ต้งั คำถำมในเรอื่ งท่ีอำ่ น ข. จัดลำดบั เรื่องรำวท่ีอำ่ น ค. หำเหตุผลรวมถงึ ข้อเท็จจริงและข้อคิดเหน็ ง. ไม่ตอ้ งใสใ่ จเหตกุ ำรณท์ เี่ กดิ ขึน้ ในเรอ่ื งทีอ่ ่ำน ๕

๕. นิทำนพน้ื บ้ำนหมำยถึงอะไร ก. นิทำนที่แต่งขนึ้ โดยได้รบั คำสง่ั จำกพระมหำกษัตริย์ ข. วรรณกรรมท่ีแต่งข้นึ โดยกวีตำ่ งประเทศ ค. ประวตั ศิ ำสตร์ท่ถี ูกเขยี นขึ้นในช่วงสงครำม ง. นทิ ำนที่แตง่ ขนึ้ จำกชำวบำ้ น มเี นอ้ื หำสะท้อนชีวติ ชำวบำ้ น ๖. ข้อใดไม่ใช่นทิ ำนพืน้ บำ้ นของภำคอสี ำน ก. สินไซ ข. ปลำบู่ทอง ค. ขูลนู ำงอ้ัว ง. ผำแดงนำงไอ่ ๗. นิทำนพนื้ บ้ำนเรอ่ื งสนิ ไซ เป็นนทิ ำนเรอ่ื งเดยี วกบั นทิ ำนเรื่องใดของภำคกลำง ก. ไกรทอง ข. พระอภยั นุรำช ค. สังขศ์ ิลปช์ ัย ง. พระสุธน-มโนรำห์ ๘. เพรำะเหตใุ ด สินไซกบั แม่ ต้องถูกเนรเทศออกจำกเมือง ก. ถูกยักษก์ ุมภัณฑ์ลกั พำตัวไปอยูป่ ำ่ หิมพำนต์ ข. นำงปทมุ มำ อยำกพำสินไซไปอยปู่ ่ำ เพื่อเปลีย่ นบรรยำกำศ ค. ท้ำวกุศรำชไลอ่ อกจำกเมือง เพรำะแม่สนิ ไซจะกอ่ กบถ ง. หมอหฮู ำใหร้ ำ้ ยทำนำยวำ่ จะเปน็ ผูท้ ่ีทำให้บำ้ นเมืองวิบตั ิ ๖

๙. อาวุธวิเศษ ทีค่ ลอดออกมำพรอ้ มสินไซคือขอ้ ใด ก. ดำบฟำ้ ฟ้ืน ข. พระขรรค์ ค. หอยสงั ข์ ง. คนั ธนูทอง ๑๐. ข้อคดิ ท่ีไดจ้ ำกเรื่องสินไซคอื ข้อใด ก. แค้นน้ตี อ้ งชำระ ข. กล้ำนักมกั จะตำย ค. ธรรมะยอ่ มชนะอธรรม ง. ควำมชวั่ เทำ่ น้นั ท่ีครองโลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook