Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานออนไลนเรื่องสุภาษิตพระร่วง1

ใบงานออนไลนเรื่องสุภาษิตพระร่วง1

Published by puttan.somsri, 2020-10-12 00:52:29

Description: ใบงานออนไลนเรื่องสุภาษิตพระร่วง1

Search

Read the Text Version

ชุดกจิ กรรม รายวชิ าภาษาไทยพืน้ ฐาน ท๒๑๑๐๑ เรื่อง สุภาษติ พระร่วง นางสาวพุดตาล สมศรี ตาแหน่ง ครู ชานาญการ โรงเรียนรามวทิ ยา รัชมคั ลาภิเษก

ใบความรู้ท่ี ๓.๑ เรื่องการพดู แสดงความคดิ เห็น การพดู แสดงความคดิ เห็น หมายถึง การพูดเพ่ือแสดงความรู้สึกหรอื แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เรอ่ื งใด เรือ่ งหนงึ่ อย่างมเี หตผุ ล มีความสอดคล้องกับเรื่องทพ่ี ดู ในการพดู แสดงความคิดเหน็ ผู้พูดอาจพดู แสดงความ คดิ เหน็ เกยี่ วกับเร่ืองทางวชิ าการ เศรษฐกิจ หรือสังคมก็ได้ ท้ังนี้เม่ือแสดงความคิดเห็นไปแลว้ ควรทาใหผ้ ฟู้ งั เห็นด้วยหรอื คลอ้ ยตาม การพดู แสดงความคดิ เห็นอาจเปน็ การพูดระหวา่ งบคุ คลหรือตอ่ บุคคลหรือต่อท่ีประชุมก็ได้ ทั้งน้ีข้ึนอยู่ กับโอกาสในการพูด เชน่ การใหส้ มั ภาษณ์ การประชุม การสมั มนา การอภปิ ราย การบรรยาย ประเภทของการพดู แสดงความคิดเห็น การพดู เพื่อแสดงความคดิ เห็นอาจแบง่ ไดห้ ลายประเภทตามโอกาสท่ีพูด หรือตามลักษณะเนื้อหาของ การแสดงความคิด แต่ในทีน่ ้ไี ดแ้ บง่ ประเภทของการพูดแสดงความคิดเหน็ ตามลกั ษณะเนอื้ หาออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. การพูดแสดงความคดิ เห็นในเชิงสนบั สนนุ การพดู แสดงความคดิ เหน็ ในลกั ษณะดงั กลา่ ว เปน็ การ พูดเพ่ือสนบั สนุนความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ซึง่ ผู้พดู อาจจะพจิ ารณาแล้ววา่ ความคดิ เหน็ ที่ตนสนับสนุนมรสาระ และประโยชนต์ ่อหนว่ ยงานและส่วนรวม หรือถ้าเปน็ การแสดงความคิดเหน็ เชิงวิชาการจะตอ้ งเป็นความคิดเห็น ทเ่ี ป็นองคค์ วามรสู้ ัมพันธก์ ับเน้ือเรื่องท่กี าลังพูดกนั อยู่ทั้งในระหวา่ งบคุ คลหรือในที่ประชุม เช่น การพูดในท่ี ประชุม การอภปิ ราย การแสดงปาฐกถา เป็นตน้ ๒. การพูดแสดงความคิดเห็นในเชงิ ขัดแยง้ การพดู ลกั ษณะดงั กล่าวเป็นการพูดแสดงความคิดเห็นใน กรณที ่ีมีความคิดไม่ตรงกันและเสนอความคิดอน่ื ๆ ท่ีไมต่ รงกบั ผู้อ่ืน การพูดแสดงความคิดเห็นในเชงิ ขัดแย้ง ควรเป็นไปในเชงิ สรา้ งสรรค์ อันจะก่อประโยชน์ต่อหนว่ ยงานหรือสาธารณชน เช่น การสมั มนา การอภิปราย การประชุม เป็นต้น ๓. การพดู แสดงความคดิ เห็นในเชิงวจิ ารณ์ เปน็ การพูดเพือ่ วจิ ารณเ์ กย่ี วกับเรื่องใดเรื่องหน่งึ ซ่ึงผู้ วิจารณ์อาจจะแสดงความคิดเหน็ ดว้ ยหรือไม่เห็นด้วย และวิจารณ์ในเชงิ สรา้ งสรรค์ ผู้วิจารณจ์ ะต้องวางตัวเป็น การไม่อคตติ ่อผู้พดู หรือสง่ิ ท่เี หน็ เช่น การแสดงความคิดเหน็ ต่อหนงั สือ ละคร รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นตน้ ๑. การพดู แสดงความคิดเหน็ เพ่ือนาเสนอความคิดใหม่ เปน็ การพูดในกรณีที่ไมเ่ ห็นดว้ ยกับการแสดง ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน และการนาเสนอความคดิ เหน็ ใหม่ของตนทีค่ ดิ ว่าจะเปน็ ประโยชน์ต่อส่วนรวม เชน่ การแสดงความคดิ เหน็ ในทป่ี ระชมุ เปน็ ต้น ลักษณะของผู้พดู แสดงความคดิ เห็นทีไ่ ด้ ๑. ผู้พูดจะต้องมคี วามร้ใู นเร่ืองที่จะแสดงความคิดเห็นเปน็ อยา่ งดี ๒. การแสดงความคิดเหน็ ในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ควรมีหลักการแสดงความคดิ เห็นในเชิงขดั แย้งและเชิงวจิ ารณ์

๓. ใชภ้ าษาสุภาพเหมาะสมกับโอกาส โดยเฉพาะการแสดงความคดิ เห็นในเชิงขัดแย้งและเชิงวิจารณ์ เพ่ือรกั ษา ความสัมพนั ธท์ ดี่ ีตอ่ ผู้พูดและผู้ฟัง ๔. การแสดงความคดิ เห็นใดๆก็ตาม ควรแสดงความคิดเหน็ ในเชงิ สร้างสรรค์และเป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมเป็น สาคัญ ตวั อยา่ งสลากสุภาษิต ท่ีรักอย่าดูถูก อย่าดูถูกว่าน้อย อย่าตีงูให้แก่กา อย่ารักห่างกว่าชิด ของปากท่านอย่ารีบ เดินทางอย่า เดนิ เปลย่ี ว มสี นิ อย่าอวดมั่ง ครูบาสอนอยา่ โกรธ หงิ ห้อยอยา่ แขง่ ไฟ อย่าริกล่าวคาคด ๑. ครูใหน้ ักเรยี นกลุ่มเดิมแตล่ ะคนจับฉลากสภุ าษิต แลพ้ ดู แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั สุภาษิตทีจ่ บั ฉลาก ได้ ในหัวขอ้ ต่อไปน้ี ๑) นักเรียนคดิ ว่าผใู้ หญ่มีเหตผุ ลอยา่ งไร จึงห้ามไม่ใหก้ ระทาสิ่งนัน้ ๒) นักเรยี นพดู แสดงความคิดเห็นสนบั สนนุ หรอื ขดั แยง้ ต่อการหา้ มไมใ่ ห้กระทาส่งิ นน้ั ในการพูดแสดงความคิดเห็นของนักเรียนแต่ละคนให้สมาชิกในกลุ่มประเมินการพูดของเพื่อว่าพูดได้ ตรงประเดน็ มเี หตผุ ลนา่ เช่อื ถอื และมคี วามเป็นไปได้หรือไม่ แลว้ บันทกึ ไว้ โดยหมุนเวยี นใหค้ รบทุกคน สุภาษิตที่ให้นักเรยี นจบั ฉลาก ๑. อย่าชังครูชังมิตร ๖. ภายในอย่านาออก ภายนอกอย่านาเข้า ๒. อย่าน่งั ชดิ ผู้ใหญ่ ๗. คนพาลอยา่ พาลผิด อย่าผูกมติ รไมตรี ๓. อย่ามปี ากว่าคน ๘. ไปเรอื นท่านอยา่ งนงิ่ นาน การเรอื นตนเร่งคดิ ๔. อยา่ อวดหาญแกเ่ พอื่ น ๙. ของแพงอยา่ มักกนิ ๕. อยา่ ขอรอ้ งรักมติ ร ๑o. สเู้ สยี สนิ อย่าเสยี ศักด์ิ

ใบงานท่ี ๓.๓ เรือง อธบิ ายคุณค่าด้านเนื้อหา คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนเขียนอธบิ ายคาตอบต่อไปนี้ ๑. คุณค่าเน้ือหาของสุภาษติ พระร่วงมอี ะไรบา้ ง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ........................... ๒. คาสอนในสภุ าษติ พระร่วงสามารถนามาใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้อย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... .......................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ............................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... .............................................. .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................

ใบงานท่ี ๓.๒ แผนทค่ี วามคดิ สุภาษติ พระร่วง คาชี้แจง ให้นกั เรยี นอา่ นวรรณคดเี รื่อง สุภาษติ พระรว่ ง แล้วสรุปเนื้อหาจดั ทาเปน็ แผนท่ีความคดิ

การวิเคราะหส์ ภุ าษิตพระรว่ ง ๓.๓ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนอา่ นวรรณคดีเร่ือง สุภาษิตพระรว่ ง แล้วตอบคาถาม ๑. รูปแบบและลกั ษณะคาประพันธข์ องวรรณคดีเร่อื ง สุภาษิตพระรว่ ง มีลักษณะอยา่ งไร ๒. เน้ือหาของวรรณคดเี รื่อง สภุ าษิตพระร่วง มลี กั ษณะอยา่ งไร ๓. สุภาษิตพระรว่ งทกี่ าหนดเปน็ การสอนเกยี่ วกบั เรื่องใด อยา่ ใฝ่ตนใหเ้ กนิ ทดแทนคุณท่านเมอ่ื ยาก เขา้ เถื่อนอย่าลมื พรา้ พงึ ผนั เผอ่ื ต่อญาติ อยา่ ใฝ่สงู ให้พน้ ศกั ดิ์ อยา่ ใฝเ่ อาทรัพย์ท่าน ๒.ให้นกั เรยี นเขียนแผนผังลักษณะค าประพันธป์ ระเภทรา่ ยสภุ าพ และโคลงสองสุภาพ พรอ้ มโยงสมั ผสั ๓. เน้ือหาของวรรณคดีเรอ่ื ง สภุ าษติ พระรว่ ง มีลักษณะอย่างไร

ใบความรู้ท่ี ๓.๔ เรื่อง “หลักการเขยี นรายงานจากการคน้ คว้า” ความหมายของรายงาน รายงาน หมายถึง ผลการศึกษาค้นควา้ เรื่องใดเร่ืองหนึง่ โดยผา่ นกระบวนการเรียบเรียงแล้วเขียนหรือ พิมพใ์ หถ้ ูกตอ้ งตามแบบแผนทก่ี าหนดให้การทารายงานอาจทาเปน็ รายบคุ คลหรือเป็นรายกลุม่ ก็ได้ วัตถุประสงค์ของการรายงาน ๑.เพ่อื ใหร้ จู้ กั ค้นคว้าหาความรูด้ ้วยตนเอง ๒. เพ่ือฝกึ ทักษะและนิสัยรักการอา่ น การค้นควา้ ตลอดจนสามารถสรุปความหรือจบั ใจความของ เรอ่ื งท่ีอ่านได้ ๓.เพ่ือสง่ เสรมิ ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ คดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมรี ะบบ มีเหตุผล ๔. เพอ่ื ฝึกทักษะการเขยี น การนาเสนอรายงานไดอ้ ย่างถูกต้อง ประเภทของรายงาน ๑. รายงานทั่วไป เปน็ รายงานทเ่ี สนอขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ข้อคดิ เห็นของบุคคลเก่ยี วกับข่าว เหตุการณ์ ตา่ งๆ ใหผ้ อู้ ่านได้ทราบข่าวความเคล่ือนไหวของบุคคล หรือเหตกุ ารณ์ เช่น รายงานเสนอรายงาน รายงาน เหตกุ ารณ์ ๒. รายงานทางวชิ าการ เป็นรายงานทีไ่ ด้จากการศึกษาค้นควา้ วิจัยอยา่ งมรี ะบบ โดยใชก้ ระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถพสิ ูจนไ์ ด้ เนอ้ื หาของรายงานมุ่งเสนอผลท่ไี ดจ้ ากการศึกษา แบ่งเป็น ๓ ประเภทคือ ๒.๑ รายงาน ๒.๒ ภาคนิพนธ์ ๒.๓ วิทยานพิ นธ์ หรอื ปริญญานพิ นธ์ ลกั ษณะของรายงานที่ดี ๑. ผเู้ ขยี นไดแ้ สดงให้เหน็ ว่ามกี ารศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งจรงิ จัง กว้างขวาง เนอื้ หา ครบถ้วน ถกู ต้อง แม่นยา ๒. จดั เรยี งลาดบั เนอ้ื หาได้อย่างต่อเน่ือง มีความสัมพนั ธก์ ันอย่างดี สมเหตุสมผล ๓. ใชภ้ าษาได้ถูกต้องตามหลักการเขียนท่ีดี ๔. แสดงหลักฐานอ้างองิ และแหลง่ ที่มาของข้อมลู ถกู ต้อง ทนั สมัย สว่ นประกอบของรายงาน ๑. ส่วนปรกอบตอนต้น หรือสว่ นนา ประกอบด้วย ปกนอก ปกใน คานา สารบญั บญั ชีตาราง บญั ชีภาพประกอบ เปน็ ต้น ๒. สว่ นปรกอบส่วนกลาง หรือส่วนเน้ือเรื่อง ๓. สว่ นประกอบตอนท้าย คือสว่ นเพ่ิมเติม เป็นสว่ นประกอบท่ีช่วยให้ผอู้ ่านไดร้ ับประโยชนเ์ พม่ิ เตมิ ขั้นตอนของการเขียนรายงาน ๑. การเลือกหัวข้อรายงาน ๒. การรวบรวมหนังสืออา้ งอิงหรือบรรณานุกรม ๓. การเขียนโครงเรื่องเพื่อกาหนดขอบขา่ ยเนื้อหา ๔. การอ่านและทาบตั รบันทึกการอ่าน ๕. การเรียบเรยี งเนือ้ หา ๖. การเขียนบรรณานกุ รม

ใบงานที่ ๓.๔ เรอ่ื ง “หลักการเขียนรายงานจากการคน้ คว้า” คาชแี้ จงให้นักเรยี นศึกษาเร่ืองการเขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้า แลว้ ตอบคาถาม ๑.องค์ประกอบของรายงานการศกึ ษาคน้ คว้ามีกส่ี ว่ น อะไรบ้าง ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ..................................................... ..................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................... ............................... .................................................................................................... ......................................................................... ..................................................................................................................................... ......................................... ..................................................................................................................................... ........................................ ..............................................................................................................................................................................

๒. องคป์ ระกอบแตล่ ะสว่ นมีวิธีเขยี นอยา่ งไร ..................................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................................................................. ........... ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................. ................................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... .............................................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................... .................................................................................... ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................... ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... .................................................... ..................................................................................................................................... ......................................... .......................................................................................................................................................... ................... ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................

แบบทดสอบท้ายกจิ กรรม ที่ ๓.๕ เรือ่ งสานวนสุภาษติ และคาพังเพย จงแยกสานวนสภุ าษติ และคาพงั เพย ลงในช่องตามตารางท่กี าหนดให้ หนา้ มา้ ตงี ใู ห้กากนิ ทดแทนคณุ ทา่ นเมือ่ ยาก รกั เขามากกวา่ ผม เทวดาเดนิ ดิน ปากหอยปากปู การกระทาอย่าดว่ นได้ นา้ มาปลากินมด คิดขนขวยทชี่ อบ ขดุ คนด้วยปาก คาพงั เพย สานวน สภุ าษิต ( ๕ คะแนน ) ๑. นาพยางคใ์ นวงกลมที่ ๑ – ๕ ไปสะกดเป็นสานวน สภุ าษิตและคาพังเพยแลว้ เขยี นลงในชอ่ งวา่ ง ปลูก อยา่ เมต ๑. รู้ รา้ ง ตรี ๒. มิตร ตอ ต่อ ปลูก บ อยา่ ไมต รี ตรา้าง ตรี ๓. คน ๔. อยา่ ดู จน ถูก ทรัพย์ ใฝ่ ท่าน อยา่ เอา ๕. เจร ตาม จา คดี

๓.หาสุภาษิตในเรื่องสุภาษิตพระร่วงท่ีมีความหมายเดียวกันกับสุภาษิตในข้อ ก. แล้วเขียนเติมลงใน ช่องวา่ งด้านซ้ายมือ ก. สุวานขบอย่าขบตอบ ข. อย่าใฝ่ตนให้เกิน ค. มสี ินอยา่ อวดมงั่ ง. คดิ แลว้ จึงเจรจา จ. อย่าคะนึงถงึ โทษทา่ น ๔. ขดี เส้นโยงพฤตกิ รรมของคนในข้อ ก. กับสานวนสภุ าษิต คาพงั เพยด้านซา้ ยมอื ก. นายเนยี นชอบพดู โอ้อวด - ก้งิ กา่ ได้ทอง ว่าตนเปน็ คนร่ารวย ข. นางน่มิ ชอบนาเรอ่ื งในครอบ - จบั ให้มน่ั คนั้ ให้ตาย ครวั ไปเล่าให้เพอื่ นฟงั ค. นางสาวยนิ ดใี ห้เพอ่ื นยืมเงินทัง้ ๆท่ี - รกั เขามากกวา่ ผม พ่อของเธอกม็ คี วามจาเป็นต้องใช้เงิน ง. แดงกับดาตา่ งก็รวู้ ่าอกี ฝ่ายหนึง่ มี - ความในอย่านาออก แผนการณจ์ ะฉอ้ โกงเงนิ ของบรษิ ทั จ. นายเกง่ ทางานจนสาเร็จแม้จะ - ไก่เหน็ ตีนงู งูเหน็ ตีนไก่ มีอปุ สรรคมากมาย

แบบทดสอบกอ่ นเรียน แผนท่ี ๓.๖ ๑.ภาษาหมายถึง ก. คาทเี่ ปล่งออกมา ข.ลายลกั ษณ์อกั ษรท่เี ขียน ค.เสียงที่เปล่งออกมาเพื่อส่ือความหมาย ง. ลักษณะทา่ ทางทีใ่ ชส้ ่ือออกมา ๒.ภาษามีองค์ประกอบ 2 ประการคอื ก. เสียง ไพเราะ ข. เสียง ชัดเจน ค.เสยี ง คา ง. เสียง ความหมาย ๓.เสยี งในภาษาเกิดขน้ึ ได้เพราะอะไร ก.ใช้อวัยวะต่างๆต้ังแต่ช่องท้องจนถึงรมิ ฝีปากใหป้ ระสานกนั เป็นเสยี ง ข. ใชอ้ วยั วะต่างๆตงั้ แตก่ ระบังลมจนถงึ ริมฝปี ากให้ประสานกันเปน็ เสยี ง ค. ใช้อวัยวะต่างๆตัง้ แต่หลอดลมจนถึงรมิ ฝีปากใหป้ ระสานกนั เป็นเสียง ง.ใชอ้ วยั วะตา่ งๆตง้ั แต่ช่องท้องจนถึงฟนั ให้ประสานกนั เป็นเสียง

๔.จากภาพตาแหนง่ เสียงนาสกิ อยู่ทหี่ มายเลขใด ก. หมายเลข 1 ข. หมายเลข2 ค. หมายเลข3 ง. หมายเลข 4 ๕. เครอื่ งหมายตา่ งๆอาณตั สญั ญาณ ไม่จัดเป็นภาษาเพราะ ก. สื่อความหมายไม่ไ่ด้ ข ไมใ่ ช่เสียงพูด ค. ไม่มเี สียง ง. ไมใ่ ช้เสียง ๖. เสียงสระเกดิ จากอะไร ก. เกิดจากลมผา่ นรมิ ฝีปาก แล้วสะบัดออก ข. เกดิ จากลมผา่ นเพดานแข็ง แลว้ สะบัดออก ค. เกดิ จากลมผา่ นเสน้ เสียง แลว้ สะบัดออก ง. เกดิ จากลมผ่านเพดานอ่อน แล้วสะบดั ออก ๗.สียงทเ่ี ปล่งออกทางรมิ ฝีปากไดแ้ ก่พยัญชนะตัวใดบ้าง ก. บ พ ข ค ข. บ ป ข ค ค. บ จ ข ค ง. บ ป พ ม ๘. เสียงในภาษาไทยมีก่ีชนิด ก. 1ชนิด ข. 2 ชนดิ ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนดิ ๙. ข้อใตคอื อวัยวะทใี่ ชใ้ นการเปล่งสียงท้ังหมด ก. ริมฝีปาก ฟัน ปมุ่ เหงือก ข. ริมฝีปาก จมูก ปุ่มเหงือก ค. รมิ ฝีปาก เพดานออ่ น ปุ่มเหงือก ง. ริมฝีปาก เพดานแขง็ ปุ่มเหงือก ๑๐.เสยี งในภาษาไทยชนิดใดท่เี รยี กวา่ เสียงดนตรี ก. สียงพยญั ชนะ

ข. เสยี งสระ ค. เสยี งวรรณยกุ ต์ ง. เสียงสามัญ

ใบความรู้ที่ ๓.๖ เร่ือง ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสยี ง ระบบเสียงและอวยั วะในการออกเสียง เร่ือง ระบบเสียงและอวยั วะในการออกเสียง ความหมายของภาษา ภาษา หมายถงึ เสยี งท่ีมนุษย์เปล่งออกมาเพอ่ื สื่อความหมายระหวา่ งมนษุ ย์ด้วยกัน เพื่อสนองความต้องการ ต่างๆ เสียงในภาษาเกดิ ข้นึ ได้อยา่ งไรเสยี งต่าง ๆ ของมนุษย์ ไมว่ า่ จะเป็นเสยี งพดู เสียงรอ้ ง เสียงหัวเราะ เกิดข้ึนจากการส่นั ของเส้นเสียง ซึ่งอยภู่ ายในลาคอเส้นเสียงจะสน่ั ได้ต้องมลี มภายในปอดผ่านออกมากระทบ กบั เสน้ เสยี ง เกดิ เปน็ เสียงต่าง ๆ ขึ้น เสยี งในภาษาเกิดจากลมจากปอดผา่ นหลอดลม กล่องเสยี งซึ่งมีเสน้ เสียงอยภู่ ายใน เส้นเสยี งเมอ่ื ถกู ลมผ่านจะเกดิ การสั่นทาให้เกิดเสยี ง ขณะท่ีลมผา่ นมาในชอ่ งปาก หรือช่องจมูก จะถูกอวัยวะต่างๆ เช่น ล้นิ เพดานปาก ปมุ่ เหงือก ฟันและริมฝปี ากกลอ่ มเกลาลมให้เปน็ เสยี งต่างๆ ตามทผี่ ู้พดู ต้องการ

อวัยวะท่ีใชใ้ นการออกเสียงมีดังต่อไปน้ี ๑. ปอด ภายในปอดจะมีถุงลมเล็ก ๆ จานวนมาก เมื่อต้องการเปล่งเสียงตอ้ งอาศยั ลมจากปอดระบายลม ออกมา เพื่อนามาใชใ้ นการเปล่งเสียงพูด ๒. กระบงั ลม เปน็ กล้ามเน้ือผืนใหญก่ ้ันอยู่ในช่องท้องอยู่ใตป้ อด เมื่อหายใจเขา้ กระบังลมจะเคล่ือนตวั ลงตา่ ทาให้เกิดพน้ื ท่ีกักเกบ็ ลมมากขนึ้ เมอื่ หายใจออกกระบังลมจะถกู ยกสูงขน้ึ อากาศภายในจะถูกผลกั ออกมาทาง หลอดลม ชอ่ งจมูกและปาก ๓. หลอดลม เป็นช่องทางเดินของลมจากปอดมาสู่กล่องเสียง ๔. เสน้ เสยี ง เปน็ อวัยวะสาคัญที่ทาให้เกิดเสียง ประกอบด้วยเสน้ เอ็นและกล้ามเนื้อเปน็ แผน่ ๒ แผ่น เมอ่ื จะ เปล่งเสยี งลมผ่านเส้นเสียง เส้นเสียงสัน่ จงึ ทาให้เกิดเสียง เส้นเสียงตง้ั อย่ตู รงกลางกล่องเสียง กลอ่ งเสยี ง คอื สว่ นท่อี ยู่เหนอื หลอดลมขน้ึ มา ตรงที่เราเรียกวา่ ลูกกระเดือก ๕. ลิ้น เป็นสว่ นทเี่ คล่ือนไหวได้มากที่สุดในการออกเสียง เป็นอวยั วะท่ีควบคุมช่องทางเดนิ ของลม จงึ ทาให้ เกดิ เปน็ เสยี งในลกั ษณะตา่ งๆ ๖. ลน้ิ ไก่ เปน็ กอ้ นเนื้อเล็กๆ อย่ตู อ่ ปลายเพดานอ่อนตรงกลางระหว่างช่องปากกับช่องจมกู ๗. ชอ่ งจมกู เปน็ โพรงในช่องจมูกอยเู่ หนือลิน้ ไกข่ ึน้ ไป เปน็ ช่องทางเดนิ ลมเม่ือตอ้ งการออกเสยี งนาสิก เช่น เสียงพยญั ชนะ น ง ม ๘. เพดานออ่ น เป็นสว่ นของเพดานปากต่อกับล้นิ ไก่ ใช้ในการออกเสยี ง โดยการเอาลน้ิ ไปแตะเพอ่ื ควบคุมลม ในการออกเสียงบางเสียง เช่น เสียงพยัญชนะ ก ค ๙. เพดานแขง็ เปน็ สว่ นของเพดานปากตอ่ กบั เพดานอ่อน ใชใ้ นการออกเสียง โดย เอาลน้ิ ไปแตะเพื่อควบคมุ ลมในการออกเสียงบางเสียงเช่นเดียวกับเพดานอ่อน เช่น เสยี งพยญั ชนะ ย จ ช ๑๐. ปมุ่ เหงอื ก เป็นส่วนที่นนู ออกมาตรงบรเิ วณโคนฟันบนดา้ นใน ลน้ิ แตะอยใู่ กลบ้ ริเวณปุ่มเหงือก เมื่อออก เสียงพยญั ชนะ เช่น เสียงพยัญชนะ ด น ล ๑๑. ฟัน เป็นอวัยวะซงึ่ เปน็ ฐานหรือตาแหนง่ ท่เี กิดของเสียงหลายชนิด เชน่ เมื่อใช้ฟนั บนกับริมฝีปากลา่ ง ควบคุมทางเดนิ ลมให้ลอดช่องพอจะผ่านได้ทาให้เกิดเสียงพยัญชนะ ฟ หรอื ใชล้ ิน้ แตะฟนั บนก็สามารถออก เสียงพยญั ชนะ ต ท ๑๒. ริมฝปี าก เปน็ อวัยวะทส่ี าคญั ในการออกเสียงซึง่ ทาให้เกิดเสยี งแตกตา่ งกันมาก เชน่ ใชร้ ิมฝีปากบนและรมิ ฝปี ากล่างปิดกักลมไว้ชัว่ ครู่ แลว้ ปล่อยกจ็ ะได้เสยี งพยัญชนะ บ ป พ ม ว หากออกเสียงสระกใ็ ช้รมิ ฝีปาก กบั ลิน้ ควบคุมลมออกเสียงได้ทงั้ หมด เชน่ ทาปากห่อกลมล้นิ ส่วนหลังอยใู่ นระดับสูง กลาง ต่า ก็จะไดเ้ สียง สระ อุ อู โอะ โอ เอาะ ออ ตามลาดบั ชนิดและลักษณะของเสยี งในภาษาไทย เสยี งในภาษาไทย มี ๓ ชนิด คอื เสยี งสระ เสียงพยญั ชนะ เสียงวรรณยุกต์ ๑. เสยี งสระ คอื เสียงทีเ่ กิดจากลมผา่ นเสน้ เสยี ง ซ่ึงเกรง็ ตวั ชดิ กนั ปิดช่องทางเดนิ ลมจนส่นั สะบดั แลว้ ออกไปทางชอ่ งปากหรอื จมกู โดยที่ไม่ถกู สกดั กั้น ณ ทใ่ี ดทหี่ น่ึงในช่องทางเดนิ ลม แตม่ ีการใช้ลิน้ และริม ฝปี ากกลอ่ มเกลาเสียงใหแ้ ตกต่างกันไปได้หลายเสยี งลกั ษณะสาคญั ของเสยี งสระมี ๒ อยา่ ง คอื เปน็ เสยี งสน่ั สะบัดหรอื เสียงกอ้ ง และเปน็ เสยี งผ่านออกไปโดยตรง บางคร้ังจงึ ได้ช่ือว่า เสยี งแท้ ๒. เสียงพยญั ชนะ คือ เสียงทีเ่ กิดจากลมผ่านเส้นเสียงซ่ึงอาจส่ันสะบัดหรือไม่กไ็ ด้ แลว้ ถกู สกัดกน้ั ทง้ั หมดหรือ บางส่วน ณ ทใ่ี ดท่ีหน่งึ ในช่องทางเดินลม เช่น เพดานอ่อน เพดานแข็ง ปุ่มเหงือก ฟัน รมิ ฝีปากและลิ้น ก่อน จะปล่อยออกมาทางช่องปากหรอื ช่องจมูก

ลกั ษณะสาคญั ของเสียงพยญั ชนะ คอื เปน็ เสยี งทีถ่ ูกกักก่อนทจ่ี ะผ่านออกไปทางช่องปากหรือชอ่ งจมูก บางคร้งั เรยี กว่า เสยี งแปร ๓. เสียงวรรณยกุ ต์ คอื เสียงที่มีการเปล่ยี นระดบั สูงตา่ เน่ืองจากระดบั ความสัน่ สะเทือนของเส้นเสยี งในขณะ เปล่งเสียงวรรณยุกต์แต่ละเสยี งไมเ่ ท่ากัน และเปล่งออกมาพร้อมกบั เสียงสระ บางครง้ั เรยี กวา่ เสียงดนตรี กาเนดิ และชนิดของเสียงในภาษาไทย ความหมายของเสียงในภาษา เสยี งในภาษา หมายถึง เสยี งท่ีมนุษย์เปล่งออกมา เพอื่ ส่ือความหมายระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกัน เพอ่ื สนองความต้องการตา่ ง ๆ เชน่ เพ่อื ขอความชว่ ยเหลือ เพือ่ ขอความรู้ เพ่ือแสดงความรู้สึกพอใจ หรอื ไม่ พอใจ ใหผ้ ู้ฟงั เข้าใจความประสงคข์ องผพู้ ดู เสยี งในภาษาจึงต้องมีความหมายอันเปน็ ทเ่ี ข้าใจตรงกันระหวา่ ง มนุษย์ที่อยูร่ ว่ มสังคมเดียวกัน ภาษามีองค์ประกอบสาคัญ ๒ อย่าง คือ เสยี ง (หรือคาพูด) และความหมาย เคร่ืองสื่อความเข้าใจอ่ืน ๆ นอกจากเสียงพูดของมนุษย์ ไม่จัดเป็นภาษา เช่น เคร่อื งหมาย อาณัติ สญั ญาณ กาเนิดของเสียงในภาษา เสยี งในภาษาเกิดขึ้นได้เพราะเราใช้อวัยวะต่าง ๆ ตั้งแต่เหนือชอ่ งท้องข้ึนมาจนถึงริมฝีปาก และ ชอ่ งจมูกใหท้ างานประสานกัน ทาให้เกดิ เสยี งขึ้น อวยั วะท่ีใชใ้ นการออกเสียง ได้แก่ ปอด หลอดลม และกล่องเสยี ง ท่ลี าคอ เมื่อลมผ่านเสน้ เสียงจะทาให้เสน้ เสียงสะบัดเกิดเปน็ เสียงก้อง ถ้าสะบัดไม่มากเสยี งก็จะไมก่ ้อง จากน้ัน ลมกจ็ ะถูกปล่อยผา่ นไปทางช่องปาก แลว้ ไปกระทบกบั สว่ นต่าง ๆ ของปาก เช่น ลิ้นไก่ ล้ิน ริมฝีปาก ฟัน ปุ่ม เหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน ทาให้เสียงถูกกัก หรือก้ันลมด้วยอวัยวะสว่ นใดส่วนหนง่ึ ในช่องปาก หรือถูก กักลมในช่องปาก แล้วปล่อยลมบางส่วนออกไปทางขา้ งล้นิ หรือดันลมให้เสยี ดแทรกอวยั วะต่าง ๆ ออกมา หรอื ดันลมใหข้ ้ึนจมูก ทาให้เกิดเปน็ เสียงต่าง ๆ อวัยวะทใ่ี ช้ในการออกเสยี ง อวัยวะสว่ นทมี่ ีหนา้ ทโี่ ดยตรงในการออกเสยี งมลี ักษณะสาคัญ ดังต่อไปนี้ ๑. ริมฝีปาก เป็นอวัยวะส่วนท่ีสามารถเคลื่อนไหวได้มาก และทาให้เสียงแตกตา่ งกนั มาก เราอาจจะบังคับริมฝีปากใหป้ ิดสนทิ ใหเ้ ปดิ เลก็ น้อย ใหเ้ ปดิ กว้างข้นึ ให้ยนื่ ออกมา ใหห้ ่อกลม หรอื ทาเปน็ รปู รีก็ได้ ลักษณะต่าง ๆ ของรมิ ฝีปากล้วนมผี ลตอ่ การออกเสียง และทาใหเ้ สียงแตกตา่ งกันไปทงั้ ส้นิ ๒. ฟนั เป็นอวัยวะซึง่ เป็นฐาน หรอื ตาแหน่งท่ีเกดิ ของเสยี งหลายชนดิ เชน่ เมือ่ กดฟันบนลงที่ริม ฝปี ากล่าง ลมจะลอดช่องท่ีพอจะผา่ นออกมาได้ ทาให้เกดิ เปน็ เสยี งชนดิ ทเ่ี รียกว่า เสยี งเสียดแทรกท่เี กิด ระหวา่ งฟันกบั ริมฝีปาก ถ้าฟันบนกดกับฟนั ล่าง ลมทผ่ี า่ นออกมาจะทาให้ได้เสยี งเสียดแทรกทเ่ี กิดที่ฟนั เปน็ ตน้ ๓. ปุ่มเหงือก เป็นส่วนที่นูนออกมาตรงบริเวณหลังฟันด้านบน ถ้าเอาล้ินแตะดูจะรสู้ ึกวา่ มีลักษณะ เปน็ คลื่น ลนิ้ อาจจะแตะหรืออยู่ใกล้บริเวณปมุ่ เหงือก ซ่ึงทาใหเ้ กดิ เสียง ป่มุ เหงือกจึงนับเป็นตาแหน่งหรอื ฐาน สาคัญในการออกเสยี งตาแหน่งหนึง่ ๔. เพดานแขง็ หมายถงึ เพดานสว่ นท่โี คง้ เป็นกระดูกแขง็ ๕. เพดานอ่อน คือ ส่วนของเพดานซ่ึงอยู่ต่อเพดานแข็งเข้าไปข้างใน มีลักษณะเป็นกระดูกอ่อนท่ีขยับข้นึ ลง ได้เล็กน้อย เวลาพูดส่วนใหญ่เพดานอ่อนและลนิ้ ไก่จะถูกยกข้นึ ไปจดกับผนงั คอ และก้ันลมไม่ให้ออกไปทางจมูก

ในเวลาออกเสียงนาสกิ (ได้แก่ เสียง /น/ /ม/ /ง/ ในภาษาไทย) เทา่ นั้น ท่ีเพดานอ่อนจะลดระดับลงมาเพ่ือให้ลม ออกไปทางจมูกได้ ๖. ล้นิ ไก่ เปน็ ก้อนเน้ือเลก็ ๆ อยู่ตอ่ ปลายเพดานอ่อนตรงกลางปาก ส่นั รวั ได้ ๗. ช่องจมูก หมายถึง โพรงในช่องจมูก ซ่ึงอยู่เหนือล้ินไก่ขึ้นไปเป็นช่องที่ลมซึ่งผ่านเสน้ เสยี งข้ึนมาจะผา่ น ออกไปทางจมูกไดเ้ มอ่ื เวลาหายใจ และเวลาออกเสยี งนาสิก ในเวลาท่ีเปลง่ เสยี งอ่นื ๆ ลน้ิ ไกจ่ ะถกู ยกข้นึ ไปปดิ ช่องจมกู เพื่อให้ลมออกมาทางช่องปาก ๘. ลิ้น เป็นสว่ นท่ีเคล่ือนไหวได้มากท่ีสุดในการออกเสียงพูด ส่วนท่ีเคลื่อนไหวของล้นิ แต่ละส่วนมผี ลต่อการ ออกเสยี ง เราจงึ แบ่งลิ้นออกเป็น ๓ ส่วน ตามหน้าทีท่ ี่มใี นการออกเสียง คือ - ปลายลิน้ หรือล้นิ สว่ นปลายสดุ ซึง่ จะยกขึ้นไปแตะอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากตอนบนไดโ้ ดยงา่ ย - หนา้ ลิ้น หรอื ลนิ้ สว่ นหนา้ ไดแ้ ก่ ลนิ้ ส่วนทอี่ ยู่ตรงขา้ มกบั เพดานแขง็ - หลงั ลิ้น หรอื ลิ้นส่วนหลงั ได้แก่ ส่วนของลนิ้ ซง่ึ อยูต่ รงขา้ มกับเพดานอ่อน ๙. แผ่นเนอ้ื ปากหลอดลม หรือลนิ้ ปิดกล่องเสียง เปน็ แผ่นเนื้อบาง ๆ อย่ตู ่อโคนลน้ิ ลงไปในลาคอ มีหน้าที่ปิด เปิดช่องหลอดลมเพื่อป้องกันมิให้อาหารตกลงไปในหลอดลม เม่ือพูดแผ่นเน้อื นีจ้ ะเปิดออก ๑๐. โพรงคอ หมายถงึ โพรงซง่ึ อยู่ถัดชอ่ งปากลงไปจนถงึ เสน้ เสียง ๑๑. เส้นเสียง เป็นอวัยวะสาคัญท่ีทาให้เกิดเสียง เส้นเสียงมีลักษณะประกอบด้วยเสน้ เอน็ และกล้ามเน้ือ เป็นแผ่น ๒ แผน่ เสน้ เสยี งท้ังสองวางขวางอยตู่ รงกลางกลอ่ งเสยี ง กล่องเสียงคือ สว่ นทีอ่ ยูเ่ หนือหลอดลม ขึน้ มา ตรงทเี่ ราเรยี กวา่ ลูกกระเดอื ก ภาพท่ี ๑.๑ อวยั วะท่ีใชใ้ นการออกเสียง (ทม่ี า : หนังสือเรียนพฒั นาทกั ษะภาษา เล่ม ๑, ๒๕๔๖)

แบบบนั ทกึ กิจกรรมท่ี ๓.๖.๑ ตอนที่ ๑ ตอบคาถาม เรอ่ื ง ความหมายและกาเนิดของเสียงในภาษา ช่อื - สกุล ........................................................................................... ช้นั .................... เลขที่ ........... คาช้แี จง ให้นักเรยี นเตมิ คาหรอื ข้อความในช่องวา่ งให้ถูกต้อง ๑. เสยี งในภาษา หมายถงึ ............................................................................................................................. ๒. ภาษามีองคป์ ระกอบ ๒ ประการ ได้แก่ ..................................................................................................... ๓. อวยั วะทเี่ ปน็ แหลง่ เรม่ิ ต้นของเสยี งในภาษา คือ ........................................................................................ ๔. อวยั วะที่ใชใ้ นการออกเสยี ง ได้แก่ ............................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๕. เสยี งในภาษาเกดิ จาก ................................................................................................................................ ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .......................... .................................................................................................................................................. ............................ ๖. เคร่ืองหมายตา่ ง ๆ อาณัตสิ ัญญาณ ไมจ่ ดั เป็นภาษา เพราะ ..................................................................... ............................................................................................................................................................................. ๗. อวัยวะที่มลี ักษณะประกอบดว้ ยเส้นเอ็น และกล้ามเนอื้ เป็นแผน่ ๒ แผ่น วางขวางอยกู่ ลาง กลอ่ งเสียง คอื ....................................................................................................................................... ๘. เสียงเสยี ดแทรกทีเ่ กดิ ระหว่างฟนั กบั ริมฝปี าก เกิดจาก ........................................................................... ............................................................................................................................................................................ ๙. เพดานอ่อนจะลดระดบั ลงมาเพื่อใหล้ มออกไปทางจมูกได้ ในเวลาท่ีออกเสยี ง ........................................ ๑๐. เสียงพยัญชนะในภาษาไทยทเ่ี ปน็ เสียงนาสิก ได้แก่ เสียง ......................................................................

แบบบันทึกกิจกรรมท่ี ๓.๖.๒ ตอนท่ี ๒ ตอบคาถาม เรื่อง อวัยวะที่ใชใ้ นการออกเสยี ง ช่ือ - สกุล ........................................................................................... ชั้น .................... เลขท่ี ........... คาช้ีแจง ให้นกั เรียนบอกชื่ออวยั วะทใ่ี ช้ในการออกเสยี ง

ใบงานท่ี ๓.๗ การอา่ นจับใจความสาคญั คาช้ีแจง ให้นกั เรียนสรปุ ใจความสาคัญให้ถกู ต้อง ลูกแกะหลงฝงู กับหมาป่า ลกู แกะตัวหน่งึ หลงฝูงวง่ิ เตลดิ ไปพบกบั หมาป่า ขณะกาลงั จะถูกจับกนิ ลกู แกะเหน็ จวน ตัวไมม่ ีทางหนพี ้น จึงแข็งใจยืนเผชิญหน้า พรอ้ มออกอบุ ายว่า “ไหนๆ ข้ากจ็ ะต้องกลายเป็นอาหารของท่านอยา่ งไม่มที างหลกี เลยี่ งไดแ้ ล้ว ก่อนตายขา้ อยากฟงั เสียงปี่ และเตน้ ราเป็นครัง้ สุดท้าย ขอทา่ นชว่ ยอนเุ คราะห์ด้วยเถดิ ” หมาป่านกึ สนกุ จึงเปา่ ปดี่ ้วยทานองเร้าใจ หมาเฝ้าฝูงแกะตัวหนง่ึ ว่ิงมาตามเสียง ครั้นเห็น ลกู แกะกาลังตกอยู่ในอันตรายจงึ เหา่ เรียกพรรคพวกของมัน ดว้ ยเหตนุ ้ีหมาปา่ ต้องรบี ทิ้งปวี่ ง่ิ หนีไปดว้ ย ความเสียดาย เพือ่ นกนิ สนิ้ ทรัพยแ์ ลว้ แหนงหนี หางา่ ย เพอ่ื นตาย หลายหมื่นมี มากได้ หายาก ถา่ ยแทนชี- วาอาตม์ ฝากผีไข้ ยากแท้จักหา (โคลงโลกนติ ิ : กรมพระยาเดชาดศิ ร) \\

แบบทดสอบ แผนท่ี ๗ อา่ นบทร้อยกรองต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม ข้อ 1-2 ฝงู ชนกำเนดิ คลำ้ ย คลงึ กนั ใหญ่ย่อมเพศผวิ พรรณ แผกบำ้ ง ควำมรอู้ ำจเรยี นทนั กนั หมด เวน้ แต่ชวั่ ดกี ระดำ้ ง หอ่ นแกฤ้ ๅไหว (โคลงโลกนติ )ิ ๑. ใจความสาคญั ของบทรอ้ ยกรองนอี้ ยู่ในตอนใด ก. เว้นแต่ช่ัวดกี ระดา้ ง ห่อนแก้ฤๅไหว ข. ใหญย่ ่อมเพศผิวพรรณแผกบา้ ง ค. ความรอู้ าจเรยี นทัน กนั หมด ง. ฝูงชนกาเนดิ คล้าย คลึงกนั ๒. ผเู้ ขยี นบทร้อยกรองน้ีมีนา้ เสยี งอย่างไร ก. เศรา้ โศกสลดใจ ข. แนะนาสงั่ สอน ค. รกั และห่วงใย ง. ตาหนิติเตียน ๓. ประโยคในข้อใดมีความหมายตรง ก. เมือ่ เสรจ็ จากการทาธรุ กิจส่วนตัวแลว้ ก็ออกเดนิ ทางต่อไป ข. เมื่อไปไดส้ กั ครู่เขาจอดรถข้างทางเพ่ือลงไปยิงกระต่าย ค. ในโอกาสเดยี วกันน้ันเธอก็ลงจากรถไปเกบ็ ดอกไม้ด้วย ง. เขาและเธอไปเที่ยวต่างจังหวัดโดยขบั รถไปเอง ๔. นิทานชาดกจดั เปน็ นิทานประเภทใด ก. นิทานนานาชาติ ข. นทิ านประจาถ่นิ ค. นทิ านคตธิ รรม ง. นทิ านอีสป ๕. ข้อใดมคี วามหมายโดยนยั ก. ผู้ท่ีเกย่ี วข้องเดือดร้อนกนั ไปหมดท้งั ตัวเองและผปู้ กครองท่ตี ้องลางานมา ข. ทาผิดระเบียบโรงเรียนตามเคยเดยี๋ วฝ่ายปกครองจะเชิญไปพบ ค. เธอแตง่ ตัวสวยมากเลยนะนางเอกง้ิวยงั แพเ้ ธอเลย ง. ห้ามไม่ใหแ้ ตง่ หน้ามาโรงเรียน

อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ ๖-๗ “ในชว่ งหน้ำแลง้ กระเจยี วใชช้ วี ติ อยำ่ งเรน้ ลบั โดยซ่อนตวั อยใู่ ตผ้ นื ดนิ เมอ่ื ฝนแรกมำถงึ มนั จงึ คอ่ ยๆ ชกู ำ้ นดอกออกมำอวดสสี วยสดบนพน้ื ดนิ เม่อื เขำ้ สฤู่ ดฝู น จรงิ ๆใบสเี ขยี วกจ็ ะงอกขน้ึ มำ จนถงึ หน้ำแลง้ ใบเขยี วๆ กเ็ หย่ี วแหง้ ไป ถงึ ครำวทก่ี ระเจยี วพกั ซอ่ นตวั อยใู่ ตด้ นิ อกี ครงั้ ” ๖. ข้อใดคือประโยคใจความรองของข้อความน้ี ก. เมือ่ เขา้ สูฤ่ ดฝู นจริงๆ ใบสเี ขียวก็จะงอกขน้ึ มา ข. ในช่วงหนา้ แลง้ กระเจยี วใช้ชวี ติ อยา่ งเร้นลับโดยซ่อนตวั อยใู่ ต้ผนื ดิน ค. ใบเขยี วๆ กเ็ หีย่ วแหง้ ไป ถึงคราวท่กี ระเจยี วพักซ่อนตวั อย่ใู ต้ดนิ อีกครง้ั ง. เม่อื ฝนแรกมาถงึ มันจึงคอ่ ยๆ ชูก้านดอกออกมาอวดสีสวยสดบนพื้นดนิ ๗. ขอ้ ใดคอื ประโยคใจความสาคัญของข้อความน้ี ก. เมือ่ เขา้ สู่ฤดูฝนจริงๆ ใบสีเขยี วกจ็ ะงอกขน้ึ มา ข. ในชว่ งหนา้ แลง้ กระเจียวใช้ชีวิตอยา่ งเร้นลับโดยซ่อนตัวอยู่ใตผ้ นื ดนิ ค. ใบเขยี วๆ ก็เห่ยี วแหง้ ไป ถึงคราวท่ีกระเจียวพกั ซ่อนตวั อยู่ใตด้ นิ อีกคร้งั ง. เมื่อฝนแรกมาถึง มนั จึงคอ่ ยๆ ชกู ้านดอกออกมาอวดสสี วยสดบนพน้ื ดิน อา่ นข้อความต่อไปนี้ แลว้ ตอบคาถาม ขอ้ ๘-๑๐ “ชวี ติ มคี ่ำเกนิ กว่ำทจ่ี ะปล่อยไปตำมยถำกรรม หรอื ลอ่ งลอยไปตำมกระแสสงั คม เอำแต่ทำมำหำกนิ ไขว่ควำ้ หำยศ ทรพั ย์ และแสวงหำควำมสขุ จนลมื ไปวำ่ ทงั้ หมดน้เี ป็นของชวั่ ครงั้ ชวั่ ครำวเทำ่ นนั้ แมจ้ ะรดู้ ว้ ย เหตุผลว่ำทุกคนจะตอ้ งตำย แต่ผคู้ นกลบั จมอย่กู บั ควำม ลมุ่ หลง เพลดิ เพลนิ กบั ควำมสขุ เฉพำะหน้ำหรอื ฝัน เอำเองว่ำทุกอย่ำงทเ่ี รำมนี นั้ จะเป็นของเรำไปชวั่ ฟ้ำ ดนิ สลำย กว่ำจะต่นื จำกฝันกม็ กั สำยไปแลว้ ”

๘. ข้อความนี้ตคี วามได้อยา่ งไร ก. ให้ใชช้ ีวติ อยา่ งคนที่มสี ติ ไมล่ มุ่ หลงอย่กู ับความสุข เฉพาะหน้า ข. ต้องใช้ชีวติ อยบู่ นพ้ืนฐานแหง่ ความเป็นจรงิ ค. อยา่ ปลอ่ ยชีวิตไปตามยถากรรม ง. อยา่ ยดึ ติดกับสง่ิ ท่ีมี ๙. ข้อใดคอื ประโยคใจความสาคัญของขอ้ ความน้ี ก. แม้จะรูด้ ว้ ยเหตุผลวา่ ทกุ คนจะต้องตาย แต่ผู้คนกลับจมอยูก่ ับความลุม่ หลง ข. ฝันเอาเองว่าทุกอยา่ งทีเ่ รามีน้นั จะเป็นของเราไปชวั่ ฟ้าดินสลาย กว่าจะตื่นจากฝนั ก็มักสายไปแล้ว ค. เอาแต่ทามาหากิน ไขว่คว้าหายศ ทรัพย์ และแสวงหาความสุข ง. ชวี ติ มคี า่ เกนิ กว่าท่จี ะปลอ่ ยไปตามยถากรรม ๑๐. ผเู้ ขียนข้อความนี้มนี ้าเสยี งอย่างไร ก. เศรา้ โศกสลดใจ ข. แนะนาส่งั สอน ค. รกั และหว่ งใย ง. ตาหนติ ิเตยี น

“อปุ สรรคขวากหนามในชีวิตจรงิ ย่อมมหี นทางเอาชนะ มี เพยี งสิ่งที่อยู่ในจินตนาการเท่านน้ั ทไี่ ม่อาจเอาชนะได้ จงเรียนอยา่ งมีความสุข สวสั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook