คำนำ กศน.ตำบลหนองเหียง สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ จดั ทำ สรุปผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชา การ ทำอาหารว่างหลักสูตร 40 ช่ัวโมง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ประชาชนเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ มีอาชีพ มี รายได้ และลดรายจ่าย ซ่ึงมีการสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพดังกล่าวเพ่ือต้องการทราบว่าการ ดำเนินโครงการบรรลุตามวตั ถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรม การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพรายงานต่อผู้บริหาร ผู้เก่ียวข้องเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนิน กจิ กรรมใหด้ ีย่ิงข้ึน คณะผู้จัดทำ ขอขอบคุณผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ที่ให้คำแนะนำ คำปรกึ ษา ในการจัดทำสรปุ ผลการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชพี ในคร้งั นี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต่อไป ครู กศน.ตำบลหนองเหียง มิถนุ ายน 2565
สารบัญ หน้า ก หวั เรือ่ ง ข คำนำ ค สารบญั 1 สารบัญตาราง 3 บทท่ี 1 บทนำ 7 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง 10 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินงาน 15 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก
สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 10 10 1. ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 11 2. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 11 3. ผู้เข้ารว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี 11 4. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดับการศึกษา 12 5. แสดงค่ารอ้ ยละเฉล่ียความสำเรจ็ ของตัวช้วี ัด ผลผลิต ประชาชนท่ัวไป 12 6. ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 13 7. คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ ารจดั การ 14 8. ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 9. คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านประโยชน์ท่ีไดร้ บั
1 บทท่ี 1 บทนำ หลักการและเหตุผล สถานการณ์และสภาวะแวดล้อมของเศรษฐกิจโลกท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างมีนัยสำคัญ ภายใต้สภาวการณ์ทาง เศรษฐกิจดังที่กล่าวมาน้ี ทุกรัฐบาลที่ผ่านมาจึงได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจเป็นกรณีพิเศษ จุดมุ่งหมายของนโยบายของรัฐบาลได้มุ่งไปที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ คือ มุ่งนำประเทศไทยไปสู่โครงสร้าง เศรษฐกิจทีส่ มดุล มคี วามเข้มแขง็ ของเศรษฐกจิ ภายในประเทศมากขนึ้ การเสรมิ สร้างกระบวนการสร้างอาชพี สรา้ งงาน ทีม่ คี ุณภาพและมีรายไดส้ ูงให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถงึ เป็นระบบในทกุ ระดับชน้ั ความรู้ สำหรบั รัฐบาลชุดปจั จุบนั ไดม้ ีการ แถลงนโยบายท่ีจะให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ ให้ความสำคัญท้ังการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือก ไปพร้อมกัน เน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพื้นท่ี พัฒนากำลังคนให้เป็นที่ต้องการ เหมาะสมกับพื้นท่ี ท้ังในด้าน การเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการ จัดระบบการสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการ ทางการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน รวมทั้งมีนโยบายในการลดความเหล่ือมล้ำทางสังคม และการเร่ง สร้างโอกาสอาชีพ และการมีรายได้ท่ีม่ันคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยให้แรงงานท้ังระบบ มีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้ และพัฒนาทกั ษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ในส่วนของกระทรวงศึกษาธกิ ารไดข้ านรบั ต่อนโยบายของรัฐบาลดังกลา่ ว ดว้ ยการกำหนดภารกิจในการที่จะเพ่ิม และกระจายโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียม ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยปฏิรูปหลักสูตรการ เรียนการสอน ปฏิรูปครู รวมท้ังการเพ่ิมศักยภาพการแข่งขันของประเทศ โดยเน้นผลิตและพัฒนากำลังคนระดับกลาง และระดับสูงที่มีคุณภาพ เป็นต้น เพื่อเป็นการตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการดังท่ีกล่าว มาแล้วข้างต้น อีกท้ังจังหวัดชลบุรียังเป็นพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เป็นการยกระดับพัฒนาอาชีพที่ เน้นการต่อยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นที่ ในปี 2564 สำนกั งาน กศน. จึงได้นำนโยบายดงั กลา่ วสู่การปฏิบตั ิ ด้วย การให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม.และสถานศึกษา กศน. ดำเนินการสานต่อการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพของ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน โดยอาจเป็นการจัดฝกึ อาชีพในรปู แบบกลุ่มสนใจ หรอื รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชีพ ซง่ึ อาจเป็น ชั้นเรียนระยะสั้นหรือชั้นเรียนระยะยาว ในวิชาต่างๆ และการจัดฝึกอาชีพให้กับผู้ท่ีต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพ่ือให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอาชีพ ในอันที่จะ ประกอบอาชพี ทีส่ ร้างรายได้ได้จริง จากเหตุผลข้างต้น กศน.ตำบลวัดหลวง เป็นฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการ โดยมีความเชื่อม่ันวา่ โครงการดังกล่าวจะสามารถช่วยให้ประชาชนระดบั ฐานรากที่ยังว่างงาน หรือมีรายได้น้อย หรือขาด โอกาสในการเพ่มิ รายได้ ได้เห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ มีโอกาสที่จะมีอาชีพ สามารถที่จะมีรายได้ ลดรายจ่าย ซ่ึง อาจทำได้ด้วยการสร้างอาชีพใหม่ พัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม หรือทำเป็นอาชีพเสริม ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถ ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข จึงได้จัดการศึกษาต่อเน่ือง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชา การทำอาหารวา่ ง หลกั สตู ร 10 ชัว่ โมง นี้ขึน้
2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหป้ ระชาชนเห็นช่องทางในการประกอบอาชพี ได้ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความร้ไู ปใชใ้ นการลดรายจา่ ย และสรา้ งรายได้ สำหรบั การดำเนินชวี ติ ประจำวนั เป้าหมาย (Outputs) เป้าหมายเชิงปริมาณ ประชาชนตำบลหนองเหียง จำนวน 6 คน เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ 1. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนเหน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี ได้ 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการลดรายจา่ ย และสรา้ งรายได้ สำหรับการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ผลลัพธ์ ประชาชนเหน็ ช่องทางในการประกอบอาชีพได้และสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นสามารถนำความรไู้ ปใช้ในการลด รายจ่าย และสรา้ งรายได้ สำหรบั การดำเนินชีวิตประจำวัน ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Outputs) ประชาชนตำบลหนองเหียงเข้ารว่ มโครงการไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) - รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นชอ่ งทางในการประกอบอาชพี ได้ - ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการลดรายจ่าย และสรา้ งรายได้ สำหรับ การดำเนินชีวิตประจำวนั
3 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง ในการจดั ทำสรปุ รายงานผลโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชนรปู แบบชั้นเรยี นวิชาชพี วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลกั สตู ร 40 ชว่ั โมง ครั้งน้ี ผจู้ ัดทำโครงการได้ทำการค้นควา้ เนื้อหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง ดังนี้ 1. กรอบการจัดกิจกรรมการศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชพี 2. เอกสาร/งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง 1. กรอบการจัดกิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี ภารกจิ ต่อเนื่อง 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศึกษาตอ่ เนือ่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำอย่างย่ังยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพอ่ื การมงี านทำในกล่มุ อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพื้นที่มี คุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้าง ความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาซีพเด่น รวมท้ังให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัด การศกึ ษาอาชีพเพอื่ การมงี านทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง 2. เอกสาร/งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง อาหารไทย อาหารไทย เป็นอาหารที่ประกอบด้วยรสเข้มข้นมีเครื่องปรุงหลายอย่างรสชาติอาหารแต่ละอย่างมีรสเฉพาะตัว การใช้เครื่องปรุงรสต่าง ๆ ก็ไม่เหมือนกันผู้ประกอบอาหารไทยต้องศึกษาจากตำราอาหารไทยและผู้เช่ียวชาญการ ทำอาหารไทยให้อร่อยต้องใช้ความชำนาญและประสบการณ์ตลอดจนกรรมวิธีในการประกอบอาหารไทยผู้ทำจะต้อง พถิ ีพิถัน ประณีต มี ข้ันตอนเพ่ือให้อาหารน่ารับประทาน อาหารไทยข้ึนช่ือได้ว่ามีประวัติมาช้านาน ผู้คนส่วนใหญ่ทั้งในและ ตา่ งประเทศต่างนิยมชมชอบในอาหารไทยกันมากมาย โดยเฉพาะช่ือเสียงในดา้ นความเข้มข้นและจัดจ้านของรสอาหารที่ ติดปากติดใจผู้คนมานับศตวรรษ โดยส่วนใหญ่อาหารไทยจะมีวิธีการประกอบอย่างง่ายๆ และ ใช้เวลาในการทำไม่มาก นัก โดยเฉพาะทุกครัวเรือนของคนไทย จะมีส่วนประกอบอาหารติดอยู่ทุกครัวเรือน ไม่ว่าจะเป็นพริก แห้ง กุ้งแห้ง น้ำปลา กะปิ ส้มมะขาม กระเทียม หัวหอม ตลอด จนปลาบ้าง รวมทั้งส่วนประกอบอาหารจำพวกผัก และเน้ือสัตว์ นานาชนิด เพราะมีวิธีนำมาประกอบที่มีด้วยกันหลายรูปแบบไม่ ว่าจะเป็น แกง ต้ม ผัด ยำ รวมท้ังอาหารไทยได้รับ อิทธิพลใน การปรุงอาหารรวมทั้งรูปแบบในการรับประทานอาหารต้ังแต่ อดีต อาทิ การนำเคร่ืองเทศมาใช้ในการ ประกอบอาหารกไ็ ด้รบั อิทธิพลมาจากเปอรเ์ ซยี ผ่านอินเดยี หรืออาหารจำพวกผดั ก็ได้ รับอทิ ธิพลมาจากประเทศจนี เป็น ตน้ เมนอู าหารไทยทข่ี ึ้นช่ือลือ ชาหลายชนิดจึงประกอบไปด้วยอาหารมากมายกว่า 255 ชนิด
4 ขนมไทย ในสมัยโบราณคนไทยจะทำขนมเฉพาะวาระสำคัญเท่านั้น เป็นต้นว่างานทำบุญ งานแต่ง เทศกาลสำคัญ หรือ ต้อนรับแขกสำคัญ เพราะขนมบางชนิดจำเปน็ ต้องใช้กำลังคนอาศัยเวลาในการทำพอสมควร ส่วนใหญเ่ ปน็ ขนบประเพณี เป็นต้นว่า ขนมงาน เนื่องในงานแต่งงาน ขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมครก ขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนมในร้ัวในวังจะมีหน้าตา จุ๋มจิ๋ม ประณีตวิจิตรบรรจงในการจัดวางรูปทรงขนมสวยงาม ขนมไทยด้ังเดิม มีส่วนผสมคือ แป้ง น้ำตาล กะทิ เท่าน้ัน ส่วนขนมที่ใช้ไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน น้ัน มารี กีมาร์ เดอ ปีนา (ท้าวทองกีบม้า) หญิง สาวชาวโปรตุเกส เป็นผู้คิดค้นข้ึนมา ขนมไทยที่นิยมทำกันทุกภาคของประเทศไทย ในพิธีการตา่ งๆ ก็คือขนมจากไข่ และ เชือ่ กนั ว่าชือ่ และลกั ษณะของขนมน้ัน เชน่ รบั ประทานฝอยทอง เพื่อหวังใหอ้ ยู่ด้วยกันยดื ยาว มีอายุยืน รบั ประทาน ขนม ช้นั ก็ใหไ้ ด้เลื่อนขน้ั เงนิ เดือน รบั ประทาน ขนมถ้วยฟกู ็ขอใหเ้ จริญ รบั ประทานขนมทองเอก กข็ อให้ได้เป็นเอก เป็นตน้ ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีการพิมพ์ตำราอาหารออกเผยแพร่ รวมถงึ ตำราขนมไทยดว้ ย จึงนบั ไดว้ ่าวัฒนธรรมขนมไทย มกี ารบันทึกเป็นลายลกั ษณ์อักษรคร้งั แรก ตำราอาหารไทยเล่มแรกคือแม่ครวั หวั ป่าก ในสมยั ต่อมาเมือ่ การคา้ เจริญขึ้นใน ตลาดมีขนมนานาชนดิ มาขาย และนับว่าเปน็ ยุคที่ขนมไทยเปน็ ท่ีนิยม ประเภทของอาหารและขนมไทย ชนดิ ของอาหารไทย อาหารไทยแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คอื อาหารคาวและอาหารหวาน นอกจากนี้ยงั มีอาหารว่างซง่ึ เปน็ อาหารคาวก็ ได้ หรอื อาหารหวานก็ได้ ไว้รับประทานระหว่างแต่ละมอ้ื อาหารคาว
5 อาหารคาวของไทยประกอบด้วยรสทุกรส ทั้งเค็ม หวาน เปรี้ยว และมีรสเผ็ดอีกรสหน่ึง ตามปกติอาหารคาวที่ รบั ประทานตามบา้ นทว่ั ไป จะประกอบด้วย 1. แกง แกงของไทยมีหลายชนิด ได้แก่ แกงเผ็ด แกงค่ัว แกงส้ม แกงจืด ต้มยำ ต้มโคล้ง ต้มส้ม ซ่ึงจะใส่เน้ือสัตว์ และผักตา่ งๆ ตามลักษณะของแกงแตล่ ะชนดิ 2. ผัด แยกได้เป็น 2 อย่าง คือ ผัดจืดและผัดเผด็ ผัดจะใช้ผักและเน้ือทุกชนิด ปรุงรสด้วยนำ้ ปลาหรอื ซีอิ๊วพริกสด หรอื พริกแหง้ ซงึ่ อาจจะนำเคร่ืองแกงมาผัดแหง้ เชน่ พะแนงไก่ ปลาดกุ ผดั เผ็ด เป็นต้น 3. ยำ เทียบได้กับสลัดผักของอาหารฝร่ัง รสของยำจะเหมาะกับล้ินของคนไทยคือ มีรสจัด ยำแบบไทยแยกได้ เป็น 2 รส คือ รสหวานและรสเปรี้ยว ยำท่ีมรี สหวานประกอบด้วย กะทิ มะพร้าวคั่ว เช่น ยำถว่ั พู ยำทวาย ยำหัวปลี ส่วน ยำท่ีมรี สเปรีย้ วได้แก่ ยำใหญ่ และยำท่ใี ช้เน้อื ประกอบผกั 4. ทอด เผา หรือย่าง สำหรับเนื้อสัตว์จะปรุงรสและดับกลิ่นคาวด้วยรากผักชี กระเทียม พริกไทย และเกลือ เช่น กุ้งทอด หมูทอด ปลาทอด หรือจะเผาหรอื ย่าง เชน่ กุ้งเผา ไก่ยา่ ง เป็นต้น 5. เคร่ืองจ้ิม เป็นอาหารท่ีคนไทยชอบรับประทานมาก ได้แก่ น้ำพริกกะปิ น้ำพรกิ มะม่วง กะปคิ ัว่ แสร้งว่า ปลาร้า หลน เต้าเจ้ียวหลน และน้ำปลาหวาน เป็นต้น เครือ่ งจ้ิมน้ีจะรับประทานกับผัก ทั้งผักสดและผักสุก ผักสด ได้แก่ มะเขือ แตงกวา ผักบุ้ง ขมนิ้ ขาว ผักสุก ได้แก่ หน่อไมล้ วก มะเขอื ยาวเผาหรือชบุ ไขท่ อด ชะอมทอด ถ้าตอ้ งการใหอ้ ร่อยมากขึ้นก็ จะรับประทานกับปลาทอด กุ้งเผาหรือกุ้งต้ม ตัวอย่างเช่น น้ำพริกและผักรับประทานกับปลาทูทอดหรือกุ้งต้มหลนกับ ปลาชอ่ นทอดและผัก น้ำปลาหวานยอดสะเดากับกุ้งเผาหรือปลาดุกยา่ ง เปน็ ตน้ 6. เคร่ืองเคียง อาหารไทยจะมีเคร่ืองเคียงหรือเคร่ืองแนมประกอบเพ่ือชูรสชาติย่ิงขึ้น เช่น แกงเผ็ด จะมีของเค็ม เคร่ืองเคียง ได้แก่ ไข่เค็ม ปลาเค็ม หรือเนื้อเค็ม อาหารบางชนิดจะรับประทานกับผักดอง เช่น แตงกวาดอง ขิงดอง กระเทยี มดอง เป็นต้น ผปู้ รงุ หรอื แมค่ รวั จะต้องเลือกจัดใหเ้ ขา้ กนั ตามลักษณะของอาหาร
6 อาหารหวาน อาหารหวานของไทยมีท้ังชนิดน้ำและแห้ง ส่วนมากปรุงด้วยกะทิ น้ำตาล และแป้งเป็นหลัก เช่น กล้วยบวชชี ขนมเปียกปูน ขนมใสไ่ ส้ (สอดไส้) ขนมเหนียว เป็นต้น ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวยุโรปได้ถ่ายทอดการทำ ขนมด้วยไข่ให้แก่คนไทยหลายอย่าง เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา และขนมหม้อแกง เมืองไทยมีผลไม้ มากมายหลายชนิด จึงต้องหาวิธีเก็บรักษาผลไม้เหล่าน้ันไว้รับประทาน คนไทยมีวิธีถนอมอาหารหลายวิธี ได้แก่ วิธีดอง เช่น มะม่วงดอง มะยมดอง วิธีกวนเชน่ กล้วยกวน ทุเรยี นกวน สับปะรดกวน วธิ ีตากเช่น กล้วยตาก วธิ ีเชื่อมเช่น กล้วย เช่ือม สาเกเชื่อม วิธีแช่อิ่ม เช่น มะดันแช่อ่ิม ฟักแช่อ่ิม เป็นต้น ขนมหวานชนิดแห้ง รับประทานได้ทุกเวลา ส่วนมากจะ เป็นขนมอบเพื่อเก็บใส่ขวดโหลไว้ได้นาน เช่น ขนมกลีบลำดวน ขนมโสมนัส ขนมหน้านวล ขนมทองม้วน และขนมผิง เป็นต้น ขนมไทยในสมัยโบราณ จะแสดงฝีมือในการสลัก แกะหรือปั้นเป็นรูปต่างๆ และจะอบให้หอมด้วยกล่ินกุหลาบ มะลิ กระดังงา หรอื ควันเทียน
7 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ งาน การดำเนินโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชนรปู แบบช้ันเรียนวชิ าชีพ วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 10 ชัว่ โมง ได้ดำเนนิ การตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ดังน้ี 1. ขั้นเตรยี มการ ➢การศึกษาเอกสารท่ีเกย่ี วข้องกับโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลกั สตู ร 10 ช่ัวโมง ผู้รับผดิ ชอบโครงการได้ศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งเพื่อเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนนิ การโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วชิ า การทำอาหารว่าง หลักสตู ร 10 ชั่วโมง ดงั น้ี 1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนงั สอื เกีย่ วกบั การทำอาหารว่างเพ่ือเป็นแนวทางเกี่ยวกับการจัดโครงการ ศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนรูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชพี วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลักสูตร 10 ชั่วโมง 2. ศึกษาข้นั ตอนการดำเนนิ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนรปู แบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชา การทำอาหารวา่ งหลักสูตร 10 ช่ัวโมง เพือ่ เป็นแนวทางในการจดั เตรยี มงาน วัสดอุ ุปกรณ์ และบคุ ลากรใหเ้ หมาะสม ➢การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนท่ี (ตามนโยบายของรฐั บาล) กลุ่มภารกจิ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความตอ้ งการของ กลุม่ เป้าหมายเพ่ือทราบความตอ้ งการทแ่ี ท้จริงของประชาชนในตำบล และมีขอ้ มูลในการจัดกจิ กรรมที่ตรงกบั ความ ต้องการของชุมชน ➢ การประสานงานผนู้ ำชมุ ชน / ประชาชน ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หัวหน้า/ผู้นำชุมชนและประชาชนในตำบลเพ่ือรว่ มกันปรกึ ษาหารือ ในกลมุ่ เกย่ี วกบั การดำเนินการจัดโครงการใหต้ รงกบั ความต้องการของชมุ ชน พรอ้ มประสานวิทยากร ➢การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การประชาสมั พันธ์การจดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนรปู แบบช้ันเรียนวิชาชพี วชิ า การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ชวั่ โมง เพ่ือให้ประชาชนทราบข้อมูลการจัดกิจกรรมดงั กล่าวผ่านผู้นำชุมชน ➢ประชุมเตรียมการ / วางแผน 1) ประชมุ ปรกึ ษาหารือผู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายตา่ งๆ เตรียมดำเนินการ 3) มอบหมายหน้าท่ี แต่งตงั้ คณะทำงาน
8 ➢การรบั สมคั รผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ กศน.ตำบลได้รับสมัครผู้เขา้ ร่วมโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนรูปแบบชั้นเรียนวิชาชพี วชิ าการทำอาหาร วา่ ง หลกั สูตร 10 ช่ัวโมง โดยให้ประชาชนท่ัวไปที่อาศัยอย่ใู นพ้นื ที่ตำบลวัดหลวงเขา้ ร่วมโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน รูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลกั สูตร 10 ช่ัวโมง เปา้ หมายจำนวน 6 คน ➢การกำหนดสถานท่ีและระยะเวลาดำเนินการ ครู กศน.ตำบลหนองเหยี งได้กำหนดสถานท่ีในการจดั อบรม คือ ศนู ยห์ ตั ถกรรมงานฝีมือ หมู่ท่ี 15 ตำบลหนองเหยี ง อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี ระหวา่ งวันที่ 1-3 มถิ ุนายน พ.ศ.2565 จำนวน 3 วนั เวลา 09.00-12.00 น. 2. ขน้ั ดำเนินงาน ➢ กลุ่มเป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมายของโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชนรปู แบบช้นั เรียนวิชาชพี วิชาการทำอาหารว่าง ระหวา่ ง วนั ท่ี ระหว่างวนั ท่ี 1-3 มถิ ุนายน พ.ศ.2565 หลักสูตร 10 ชวั่ โมง เป็นประชาชนตำบลหนองเหียง จำนวน 6 คน ➢สถานทดี่ ำเนนิ งาน ครู กศน.ตำบลหนองเหียง ร่วมกนั จัดกจิ กรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชนรูปแบบชั้นเรยี นวชิ าชพี วิชาการทำอาหารว่าง หลกั สูตร 10 ชัว่ โมง โดยจดั กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ระหวา่ งวนั ที่ ระหว่างวันท่ี 1-3 มถิ ุนายน พ.ศ.2565 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ศูนย์หัตถกรรมงานฝีมือ หมู่ที่ 15 ตำบลหนองเหียง อำเภอพนสั นิคม จังหวัด ชลบรุ ี ➢ การขออนมุ ตั ิแผนการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี กศน.ตำบลหนองเหียง ไดด้ ำเนินการขออนุมัติแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาโครงการศูนย์ ฝกึ อาชพี ชุมชนรูปแบบชัน้ เรยี นวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลักสตู ร 10 ช่ัวโมง ตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี เพอื่ ใหต้ ้นสงั กดั อนุมัติแผนการจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ ➢ การจัดทำเคร่ืองมือการวัดความพงึ พอใจของผ้รู ว่ มกิจกรรม เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมินความพึงพอใจ ➢ ขั้นดำเนินการ / ปฏิบัติ 1. เสนอโครงการเพอ่ื ขอความเห็นชอบ/อนุมัติจากต้นสังกดั 2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชนรูปแบบชัน้ เรยี นวชิ าชีพ วชิ า การทำอาหาร วา่ ง หลักสูตร 10 ช่วั โมง โดยกำหนดตารางกิจกรรมที่กำหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ ก่ผ้รู ับผิดชอบฝ่ายต่างๆ 4. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 5. ประชาสมั พันธ์โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบชัน้ เรียนวชิ าชพี วิชา การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ชัว่ โมง
9 6. จดั กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชนรูปแบบชั้นเรยี นวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลกั สูตร 10 ช่ัวโมง ตาม ตารางกจิ กรรมทกี่ ำหนดการ 7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนรูปแบบชน้ั เรยี นวชิ าชพี วชิ า การทำอาหารว่าง หลกั สตู ร 10 ชวั่ โมง 3. การประเมินผล ➢วเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. บันทึกผลการสงั เกตจากผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 2. วิเคราะห์ผลจากการประเมินผลในแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 3. รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านรวบรวมสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านของโครงการนำเสนอตอ่ ผู้บริหารนำปัญหา ข้อบกพร่องไปแก้ไขคร้งั ตอ่ ไป ➢คา่ สถติ ทิ ีใ่ ช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัดความสำเร็จของ โครงการตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายข้อ โดยแปลความหมายคา่ สถิตริ ้อยละออกมาไดด้ ังน้ี ค่าสถิติร้อยละ 90 ข้ึนไป ดมี าก ค่าสถิตริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี ค่าสถติ ิร้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ คา่ สถิตริ อ้ ยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง ค่าสถิติร้อยละ 0 – 49.99 ปรับปรุงเร่งด่วน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และนำมาเปรยี บเทียบ ไดร้ ะดบั คุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ เกณฑก์ ารประเมนิ (X) ค่าน้ำหนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คือ ดีมาก ค่าน้ำหนกั คะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี ค่าน้ำหนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คอื พอใช้ คา่ นำ้ หนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรับปรงุ ค่านำ้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคุณภาพ คอื ต้องปรับปรุงเรง่ ดว่ น
10 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวิเคราะหข์ ้อมลู ตอนที่ 1 รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชนรูปแบบชน้ั เรียนวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 10 ชั่วโมง การจัดกจิ กรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชนรูปแบบชน้ั เรียนวิชาชพี วชิ า การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ชัว่ โมง สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมได้ดังน้ี ในการจดั กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชนรูปแบบชนั้ เรยี นวิชาชีพ วชิ าการทำอาหาร วา่ ง หลกั สูตร 10 ชว่ั โมง เป็นการจัดชน้ั เรยี นวชิ าชีพ โดยมี นางทองสุข เทียนนาต เปน็ วิทยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ และฝกึ ปฏบิ ตั ิ เร่ือง การทำอาหารวา่ งหลงั จากเสร็จสนิ้ กิจกรรมดงั กล่าวแลว้ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมไดร้ บั ความรู้และฝึกทักษะ เกี่ยวกบั วชิ าการทำอาหารวา่ งและสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ได้จริงเพื่อเปน็ การเพ่ิม รายไดใ้ ห้กับครอบครัว ตอนท่ี 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชนรูปแบบช้ันเรียนวชิ าชพี วชิ า การทำอาหารว่าง หลักสูตร 40 ชั่วโมง การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชนรปู แบบชั้นเรยี นวิชาชีพ วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลักสูตร 10 ช่ัวโมง ซ่ึงสรุปรายงานผลจากแบบสอบถามความคิดเห็น ขอ้ มูลทีไ่ ด้สามารถวิเคราะหแ์ ละแสดงค่าสถติ ิ ดังน้ี ตารางที่ 1 ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ รายละเอียด เพศ หญงิ ชาย 6 100.00 จำนวน (คน) - ร้อยละ - จากตารางที่ 1 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามที่เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนรูปแบบชัน้ เรียนวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารวา่ งหลักสูตร 40 ชั่วโมง เปน็ หญิง จำนวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 ตารางที่ 2 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป)ี อายุ 15-25 26 - 39 40 - 59 60 ขนึ้ ไป 2 จำนวน (คน) - -4 30.8 ร้อยละ - - 69.3 จากตารางที่ 2 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชพี
11 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ช่ัวโมง พบว่าส่วนใหญ่มีอายุ 40 – 59 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 69.3 และมอี ายุ 60 ปีขน้ึ ไป จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 ตารางท่ี 3 ผู้เขา้ ร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ รายละเอียด เกษตรกรรม รบั จ้าง อาชพี ค้าขาย อ่ืนๆ รบั ราชการ/รัฐวสิ าหกจิ - 2 - 15.4 จำนวน (คน) - 4 - รอ้ ยละ - 84.7 - จากตารางที่ 3 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามท่เี ข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนรูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ช่วั โมง พบว่าสว่ นใหญ่มีอาชีพ รับจ้าง 4 คน คิดเป็นร้อยละ 84.7 อาชีพอนื่ ๆ จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 15.4 ตารางท่ี 4 ผเู้ ข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดับการศึกษา รายละเอียด ระดับการศกึ ษา การศึกษา ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. ปวส ป.ตรีขนึ้ ไป - - จำนวน (คน) 1 2 3 - - รอ้ ยละ 15.4 38.5 46.2 จากตารางท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนรูปแบบชน้ั เรียนวชิ าชพี วชิ า การทำอาหารว่าง หลกั สตู ร 10 ช่ัวโมง พบวา่ มรี ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.2 มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 38.5 และ มีระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15.4 ตารางท่ี 5 แสดงค่ารอ้ ยละเฉลยี่ ความสำเรจ็ ของตัวช้วี ดั ผลผลิต ประชาชนท่ัวไป เขา้ ร่วมโครงการจำนวน 6 คน เป้าหมาย(คน) ผลสำเร็จของโครงการ คดิ เป็นร้อยละ 6 ผู้เข้ารว่ มโครงการ(คน) 100 6 จากตารางที่ 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ชวี้ ดั ผลผลิตกิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชนรูปแบบช้นั เรียนวชิ าชพี วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลกั สตู ร 10 ช่ัวโมง พบว่ามีผู้เข้าร่วม โครงการ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซง่ึ บรรลเุ ป้าหมายด้านตวั ช้ีวัด ผลผลิต
12 ตารางท่ี 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมที่มคี วามพึงพอใจต่อโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชนรูปแบบช้นั เรยี นวิชาชีพ วชิ า การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ช่ัวโมง ในภาพรวม รายการ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับ ความพงึ พอใจ ด้านบริหารจดั การ () () ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.55 0.53 ดมี าก ดา้ นประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ 4.59 0.49 ดมี าก รวมทกุ ด้าน 4.63 0.49 ดมี าก 4.59 0.53 ดมี าก จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทม่ี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนรูปแบบช้ันเรียน วชิ าชีพ วชิ าการทำอาหารว่าง หลกั สูตร 10 ชั่วโมง ในภาพรวมอยูใ่ นระดับดีมาก (=4.59) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ดา้ นประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ อยูใ่ นระดบั ดมี าก มคี า่ เฉลี่ย (= 4.63) รองลงมาคือ ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มีอยู่ ในระดบั ดมี าก มคี ่าเฉล่ีย (= 4.59) และดา้ นบรหิ ารจัดการ อยใู่ นระดับดีมาก มีคา่ เฉลย่ี (= 4.55) ตามลำดับ โดย มีส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.49 - 0.53 แสดงว่า ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจสอดคลอ้ งกัน ตารางท่ี 7 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมทมี่ คี วามพึงพอใจต่อโครงการศนู ย์ฝึก อาชีพชุมชนรูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลกั สตู ร 10 ช่ัวโมง ดา้ นบริหารจดั การ รายการ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน ระดบั มาตรฐาน () ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานที่ () 2. สิ่งอำนวยความสะดวก 4.53 0.50 ดีมาก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.60 0.49 ดีมาก 4. เอกสารการอบรม 4.47 0.50 ดี 5. วิทยากรผ้ใู หก้ ารอบรม 4.47 0.62 ดี 4.67 0.47 ดีมาก รวม 4.55 0.53 ดีมาก จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทมี่ ีความพึงพอใจตอ่ โครงการโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน รปู แบบชนั้ เรยี นวิชาชพี วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 10 ช่วั โมง ด้านบริหารจัดการ ในภาพรวมอยูใ่ นระดบั ดีมาก มีคา่ เฉล่ีย (= 4.55) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ วทิ ยากรผ้ใู ห้การอบรม มีค่าเฉลย่ี (= 4.67) รองลงมา ส่งิ อำนวย ความสะดวก มีค่าเฉลยี่ (= 4.60) เอกสารการอบรม และกำหนดการและระยะเวลาในการดำเนิน มคี ่าเฉล่ีย (= 4.47) ตามลำดับ โดยมสี ่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน () อยูร่ ะหวา่ ง 0.47 - 0.62 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความ คิดเห็นไปในทิศทางเดยี วกัน
13 ตารางท่ี 8 ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการศูนย์ ฝึกอาชพี ชุมชน รปู แบบช้ันเรียนวิชาชีพ วชิ า การทำอาหารว่างหลักสูตร 10 ช่ัวโมง ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายการ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบน ระดับ () มาตรฐาน () ความพึงพอใจ 6. การจดั ฝึกปฏบิ ัติอาชีพ วชิ า การทำอาหารว่าง 4.53 7. การให้ความรู้ เรอ่ื ง ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ 4.60 0.50 ดมี าก ทักษะการประกอบอาชีพ และการบรหิ ารจัดการในการ 0.49 ดมี าก ประกอบอาชีพการทำอาหารว่าง 4.60 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.67 0.49 ดมี าก 9. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของผู้เรียน 4.60 0.47 ดมี าก 10. การสรปุ องค์ความรูร้ ่วมกัน 4.53 0.49 ดมี าก 11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.51 0.50 ดมี าก 0.50 ดมี าก รวม จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชนรูปแบบชั้นเรียน วิชาชพี วิชาการทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 10 ชว่ั โมง ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอย่ใู นระดบั ดีมาก มี ค่าเฉลย่ี (= 4.59) เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เรยี น มคี า่ เฉล่ยี (=4. 67) รองลงมา คอื การให้ความรู้ เรื่อง ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชพี และการบรหิ ารจัดการในการ การตอบ ขอ้ ซักถามของวิทยากร และ การสรุปองคค์ วามรูร้ ่วมกนั มีคา่ เฉลี่ย (= 4.60) และการจัดฝกึ ปฏิบัตอิ าชีพ วชิ า การ ทำอาหารว่างและ การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม ( = 4.53) ตามลำดบั โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ ระหว่าง 0.47 - 0.50 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคดิ เหน็ สอดคล้องกนั
14 ตารางที่ 9 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมทม่ี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการศนู ย์ ฝึกอาชพี ชมุ ชนรูปแบบช้ันเรียนวชิ าชีพ วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลักสูตร 10 ชั่วโมง ดา้ นประโยชน์ท่ีได้รบั รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน () พงึ พอใจ 12. ได้เรยี นรู้และฝึกปฏบิ ตั ิเก่ียวกับความรู้เร่ือง ช่อง 4.53 ทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชพี 0.50 ดมี าก และการบรหิ ารจดั การในการประกอบอาชีพการ ทำอาหารวา่ ง 4.73 0.44 ดมี าก 13. ไดฝ้ ึกอาชีพ วชิ า การทำอาหารว่าง 4.63 0.49 ดีมาก รวม จากตารางที่ 9 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนรูปแบบชนั้ เรยี น วชิ าชีพ วชิ า การทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 40 ชั่วโมง ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ยี (= 4.63) เมื่อพจิ ารณา เป็นรายขอ้ พบวา่ ไดฝ้ กึ อาชีพวชิ าการทำอาหารวา่ งมีค่าเฉลี่ย (= 4.73) รองลงมา ไดเ้ รยี นรู้และฝกึ ปฏิบตั ิเกี่ยวกับ ความรเู้ ร่อื ง ชอ่ งทางการประกอบอาชพี ทักษะการประกอบอาชีพ และการบริหารจดั การในการประกอบอาชีพการ ทำอาหารว่าง มีค่าเฉล่ยี (= 4.53) โดยมสี ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.50 แสดงว่าผู้ตอบ แบบสอบถามมีความคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน สรุปในภาพรวมของกจิ กรรมคิดเป็นรอ้ ยละ 91.80 มคี า่ น้ำหนักคะแนน 4.59 ถือว่าผู้รบั บริการ มคี วามพึงพอใจทางดา้ นต่างๆ อยู่ในระดับดีมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ อันดับแรก ดา้ นดา้ นประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั คิดเป็นร้อยละ 92.60 มีค่าน้ำหนักคะแนน 4.63 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดีมาก อนั ดับสอง ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 91.80 มีค่านำ้ หนักคะแนน 4.59 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพดีมาก อันดับสาม ด้านบริหารจัดการ คิดเป็นร้อยละ 91.00 มีค่านำ้ หนกั คะแนน 4.55อยู่ในระดับคุณภาพดี
15 บทที่ 5 อภปิ รายและข้อเสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชนรูปแบบชนั้ เรียนวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารวา่ ง หลักสูตร 10 ชวั่ โมงไดผ้ ลสรปุ ดังนี้ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมได้รับความรแู้ ละฝึกทกั ษะเก่ยี วกบั วิชาการทำอาหารว่าง 2. เพื่อให้ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย และสรา้ งรายได้ สำหรบั การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั เป้าหมาย (Outputs) เป้าหมายเชิงปรมิ าณ ประชาชนตำบลหนองเหียง จำนวน 6 คน เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ประชาชนตำบลหนองเหียง ไดร้ ับความรู้และฝึกทักษะเกยี่ วกับวชิ าการทำอาหารวา่ งนำความรู้ไปใชใ้ น การลดรายจา่ ย และสร้างรายได้ สำหรับการดำเนินชวี ติ ประจำวนั เครื่องมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูลในครั้งน้ี คือ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบลหนองเหียง ทร่ี ับผิดชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถาม ความพึงพอใจให้กับผ้รู ว่ มกจิ กรรม โดยให้ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมต่างๆ ตามโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพ ชมุ ชนรปู แบบชัน้ เรยี นวชิ าชีพ วชิ า การทำอาหารว่างหลกั สูตร 40 ช่ัวโมง สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลหนองเหียงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตาม โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชนรูปแบบชน้ั เรยี นวชิ าชพี วิชา การทำอาหารวา่ ง หลักสูตร 10 ชัว่ โมง โดยดำเนนิ การเสรจ็ ส้ินลงแล้วและสรุปรายงานผลการดำเนินงานได้ดงั นี้ 1. ผู้รว่ มกจิ กรรมจำนวน 6 คน มไี ดร้ ับความรู้และฝึกทักษะเกีย่ วกับวชิ าการทำอาหารวา่ ง 2. ผูร้ ว่ มกิจกรรมร้อยละ 92.60 นำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย และสร้างรายได้ สำหรับการดำเนิน ชวี ติ ประจำวัน 3. จากการดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการดงั กลา่ ว สรุปโดยภาพรวมพบว่า ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมส่วนใหญม่ คี วามพงึ พอใจต่อโครงการ อยู่ในระดบั “ดีมาก” และบรรลคุ วามสำเรจ็ ตามเป้าหมายตวั ชี้วัดผลลพั ธ์ทต่ี ั้งไว้ โดยมีค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ ภาพรวมของกิจกรรม 91.80 และค่าการบรรลเุ ปา้ หมายคา่ เฉลี่ย 4.59 ขอ้ เสนอแนะ ควรจัดกจิ กรรมท่ีตอ่ เน่ือง จะไดน้ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชีวิตตอ่ ไป
บรรณานุกรม ทม่ี า กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรีสะอาด และ บญุ ส่ง นลิ แก้ว (2535 หนา้ 22-25) กระทรวงศึกษาธิการ . (2543). https://sites.google.com/site/thaifoods88/prawati-khwam-pen-ma-khxng-xahar-laea-khnm-thiy นางสาวสวุ รรณา ลาภอทิ ธิสนั ต์ (วิทยากร)
ภาคผนวก
แบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนรปู แบบชนั้ เรยี นวิชาชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ช่วั โมง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี คำชแ้ี จง 1. แบบสอบถามฉบบั นมี้ ีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใชใ้ นการสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนรูปแบบชน้ั เรียนวิชาชีพ วิชา การทำอาหารว่าง หลักสูตร 10 ชวั่ โมง 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ถามขอ้ มูลเกย่ี วกบั ผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ข้อ ให้ทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งให้ตรงกับสภาพจริง ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนรปู แบบชั้นเรียนวิชาชพี วิชา การทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 10 ชวั่ โมง จำนวน 13 ขอ้ ซงึ่ มีระดบั ความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังน้ี 5 มากทส่ี ดุ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากท่ีสดุ 4 มาก หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก 3 ปานกลางหมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง 2 นอ้ ย หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ย 1 น้อยท่ีสดุ หมายถงึ มีความพึงพอใจนอ้ ยท่สี ดุ ตอนท่ี 3 ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะต่อโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนรูปแบบช้ันเรยี นวิชาชพี วิชา การทำอาหารวา่ ง หลกั สตู ร 10 ชวั่ โมง ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ หญิง ชาย อายุ 15 ปี – 25 ปี 26 ปี – 39 ปี 40 ปี – 59 ปี 60 ปขี ึ้นไป การศกึ ษา ตำ่ กว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ประกอบอาชพี อนปุ ริญญา ปรญิ ญาตรี สงู กว่าปริญญาตรี รับจ้าง ค้าขาย เกษตรกร ลกู จา้ ง/ขา้ ราชการหนว่ ยงานภาครฐั หรอื เอกชน อนื่ ๆ ………………………………….
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจเกีย่ วกับโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชนรูปแบบชั้นเรียนวชิ าชีพ วิชา การทำอาหารวา่ ง หลักสตู ร 10 ช่ัวโมง ขอ้ ที่ รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ 5 432 1 ดา้ นบริหารจัดการ 1. อาคารและสถานท่ี 2. สง่ิ อำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วทิ ยากรผใู้ ห้การอบรม ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. การจดั กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชนรูปแบบชน้ั เรยี น วิชาชพี วชิ า การทำอาหารว่าง หลกั สตู ร 10 ชวั่ โมง 7. การใหค้ วามรเู้ รื่องการทำอาหารวา่ ง 8. การตอบข้อซักถามของวิทยากร 9. การแลกเปล่ยี นเรยี นร้ขู องผูเ้ ข้ารบั การอบรม 10. การสรปุ องค์ความรู้รว่ มกนั 11. การวดั ผล ประเมนิ ผล การฝกึ อบรม ด้านประโยชนท์ ่ีได้รบั 12 ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เกย่ี วกับการทำอาหารว่าง 13 นำความรู้ทไี่ ดร้ ับมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตอนท่ี 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคณุ ท่ใี ห้ความรว่ มมือ กศน. อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี
คณะผูจ้ ดั ทำ ที่ปรกึ ษา หมนื่ สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม การงานดี ครู 1. นางณัชธกญั ศรเี ทพ บรรณารกั ษ์ปฏบิ ตั ิการ 2. นางสาวมุทกิ า ทำทอง ครผู ู้ช่วย 3. นางปลมื้ จติ ร ศรีบณุ ยะแกว้ ครผู ูช้ ่วย 4. นางพิรฬุ ห์พร คลงั สนิ ธ์ ครู อาสาสมัคร กศน. 5. นางสาวณภษร 6. นางสาวเฟ่อื งฟา้ ครู กศน.ตำบลหนองเหยี ง คณะทำงาน ครู กศน.ตำบลหนองเหียง นางสาวณฐั วรรณ เลอื ดสงคราม บรรณาธกิ าร นางสาวณฐั วรรณ เลือดสงคราม
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: