Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุญข้าวประดับดิน ถิ่นอีสาน ข้ามผ่านวิกฤตโควิด-19

บุญข้าวประดับดิน ถิ่นอีสาน ข้ามผ่านวิกฤตโควิด-19

Published by phudindanchanathip, 2022-01-06 09:00:29

Description: บุญข้าวประดับดิน ถิ่นอีสาน ข้ามผ่านวิกฤตโควิด-19

Keywords: บุญข้าวประดับดิน ถิ่นอีสาน ข้ามผ่านวิกฤตโควิด-19

Search

Read the Text Version

“ บญุ ขา้ วประดับดิน ถนิ่ อีสาน ขา้ มผ่านวิกฤต โควิด-19 ” พีรพล พวงทอง1 บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือศึกษาข้อมลู วัฒนธรรมและประเพณี บญุ ขา้ วประดับดนิ และเพอื่ สืบสาน อนุรักษ์ วัฒนธรรมและประเพณีไทยในช่วงโควิด-19 โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้เห็นถึงความสาคัญของวัฒนธรรมและประเพณีไทย อีกท้ังยังเป็นการอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมและ ประเพณไี ทย ให้คงอยูค่ ู่แผน่ ดินไทยสบื ไป การสืบสาน อนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทยมีความสาคัญเป็นอย่างมาก ซ่ึงเป็นวิถีชีวิตของชาว พุทธที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน บุญข้าวประดับดินก็ถือว่าเป็นอีกหนึ่งประเพณีไทยท่ีชาวอีสานให้ ความสาคัญเป็นอย่างมาก เน่ืองจากบุญข้าวประดับดินเป็นการทาบุญให้แก่ญาติท่ีล่วงลับไปแล้ว อีกทั้ง ชาวอีสานมีความเชื่อว่าการทาบุญข้าวประดับดินเป็นการราลึกถึงบุญ คุณของบรรพบุรุษท่ีล่วงลับไปแล้ว เป็นการสะทอ้ นเพื่อให้ผูค้ นมคี วามซื่อสตั ย์ มีวัฒนธรรม มีความสามคั คี รักใคร่ปรองดองกนั และมคี วามกตัญญู รคู้ ุณตอ่ บรรพบุรษุ คาสาคัญ : สบื สาน อนุรักษ์ บญุ ข้าวประดับดนิ โควิด-19 1 นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ทิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร คณะมนษุ ยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

บทนา ประเทศไทย มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม มีขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ดีงาม สืบทอดต่อเน่ืองมาจากบรรพบุรุษเป็นเวลาช้านาน และเป็นส่วนหนึ่งในการดารงชีวิต การจัดพิธีทางศาสนาและการจัดกิจกรรมทางประเพณีในเทศกาลต่าง ๆ จะมีประชาชนเข้าร่วมจานวนมาก แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และมาตรการต่าง ๆ ของรัฐบาล ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว ทาให้มีผลกระทบต่อกิจกรรมทางศาสนา และประเพณีต่าง ๆ วัด ศาสนสถาน องค์กร และหน่วยงาน ไม่สามารถจัดกิจกรรมทางศาสนา หรือกิจกรรมทางประเพณีได้ จึงทาให้ประชาชนไม่สามารถเข้าร่วมพิธี หรือกิจกรรมทางศาสนาและกิจกรรมตามประเพณีได้เช่นเดียวกัน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสาคัญพร้อมท้ังส่งเสริมด้านศาสนาและประเพณี ให้สามารถ ดาเนินไปได้ในสถานการณ์ท่ีไม่ปกติ จึงได้ร่วมกับกรมการศาสนาและสานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม จัดทาคาแนะนาที่เก่ียวข้องกับ การจัดพิธีการทางศาลนา การจัดกิจกรรมทางประเพณีเพื่อใช้เป็นแนวทาง สาหรับศาสนิกชนในการปฏิบัติ ศาสนกิจและพิธีกรรมอย่างถูกต้องตามหลักศาสนา และเหมาะสมตาม ประเพณีด้ังเดิมได้โดยใช้ ฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) สามารถประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและเข้าร่วม กิจกรรมตา่ ง ๆ ได้อย่างปลอดภัย วัฒนธรรมและประเพณีไทยได้มีการปฏิบัติสืบทอดกันมาต้ังแต่สมัยพุทธกาล ชาวพุทธท่ีนับถือ พระพุทธศาสนาและมีวัฒนธรรมประเพณีท่ีเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาตามคติวัฒนธรรมความเช่ือ ของพระพุทธศาสนาและความเชื่อท้องถ่ินคือ มีการทาบุญตามหลักจารีตได้แก่ ฮีต 122 นอกจากน้ัน พทุ ธศาสนกิ ชนทุกทา่ นยังไดม้ ีการปฏิบัติตามประเพณีท่ีเก่ียวข้องกับ การเกิด การตาย และการอุทิศบุญให้กับ ญาติท่ีจากโลกน้ีไปตามปกติของความเช่ือของชาวพุทธในภาคอีสาน โดยเฉพาะความเช่ือในเร่ืองการ ทาบุญ อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลนั้นหรือชาวอีสานเรียกว่า \"บุญแจกข้าว\" ท่ีมุ่งที่จะเป็นการทาบุญ เพ่ืออุทิศส่วนบุญส่วน กุศลให้กับญาติที่จากไปโดยมุ่งหวังว่าเขาเหล่านั้นจะสามารถได้รับส่วนบุญส่วน กุศลจากการได้ประกอบ พิธีกรรมในประเพณีดังกล่าวตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา ซ่ึงประเพณีการทาบุญอุทิศส่วนบุญกุศล ให้กับญาติท่ีจากไปพบว่าในกระบวนการของการประกอบพธิ ีกรรมนับจากเม่อื มีญาติหรือสมาชิกในครอบครัว มรณภาพไปแลว้ บรรดาญาติท่ยี ังมชี ีวิตอย่กู ็จะพากันขวนขวายทาบุญ อุทิศไปใหจ้ นส้ินสุดกระบวนการนัน้ จะมี คติธรรมหรือหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาแทรกอยู่หลาย ประการ เช่น หลักความกตัญญู เนื่องจาก การประกอบพิธีกรรมในประเพณีน้ีโดยมากจะมีความกตัญญูเป็นท่ีตั้งคือมีความสานึกในบุญคุณท่ีผู้ตายได้มี แก่ตน ซ่งึ ถือว่าเป็นหลกั ธรรมทก่ี อ่ ใหเ้ กิดประโยชน์กับการดาเนนิ ชีวิต แนวคิดเก่ียวกับประเพณีของไทยเป็นเครื่องแสดงวิถีชีวิตของคนไทยที่สืบเนื่องกันมาต้ังแต่อดีตและ ถือว่าเป็นมรดกที่บรรพบุรุษมองเห็นประโยชน์ท่ีเกิดจากพิธีกรรมที่มีต่อส่วนรวม จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของ วัฒนธรรม ประเพณีของคนไทยท่นี ับถอื ศาสนาพุทธและลัทธขิ องพราหมณ์ คตแิ นวความเช่อื และค่านิยมตามท่ี พระอนุมานราชธน ได้แบ่งประเพณีออกเป็น 2 ประเภทคือ3 ประเพณีส่วนบุคคล เป็นประเพณีที่เก่ียวข้องกับ ชีวิตและประเพณีส่วนรวม เป็นประเพณีของกลุ่มชนในท้องถิ่นท่ีถือปฏิบัติร่วมกัน เพื่อเกิดความปรองดอง เกดิ ความสามัคคี และเป็นอันหนึง่ อนั เดียวกนั 2 สาร สาระทศั นานนั ท.์ ฮีตสบิ สองคองสิบส่ี (เลย: วิทยาลยั ครเู ลย,2530), หนา้ 38. 3 พระยาอนมุ านราชธน. ประเพณีต่าง ๆ ของไทย. (กรงุ เทพฯ: โรงพิมพค์ รุ สุ ภา, 2515), 59.

(ภาพประกอบจาก : สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั ร้อยเอด็ ) คาว่า \"บุญข้าวประดับดิน (หรือบุญเดือนเก้า)\" หมายถึงช่ืองานบุญส้ินเดือน 9 บุญเข้าสากน้อย ก็เรียกชื่ออาหารคาวหวาน หมากพลู บุหร่ีจัดใส่กระทงหรือภาชนะอ่ืน ๆ วางไว้ตามพื้นดิน หรือโคนต้นไม้ เพ่ือเป็นการเซ่นวิญญาณบรรพบุรษุ 4 หรือหมายถึง ของเลก็ ๆ น้อย ๆ ท่ีเอาไปบูชา ตามต้นโพธิ์และพระเจดีย์ เวลาเช้ามดื ของเดือน 95 หรอื หมายถึง บุญประเพณีอันหน่ึงของลาวมีอยใู่ นฮตี สิบสองซ่ึงจัดทาในเดือนเก้าดับ โดยการห่อของคาวและของหวานใส่ใบกล้วยทาเป็นห่อใหญ่แล้วเอาไป ห้อยหรือวางไว้ตามดิน ตามรั้ววัด ตามขอบสิม ตามแต่เจ้าของเห็นว่าควร เรียกว่า ข้าวประดับดิน วันทาบุญน้ันเรียกว่า บุญห่อข้าวประดับดิน\" (คาแปล ข้าวประดับดิน น. บุญประเพณีอันหน่ึงของลาว มีอยู่ในฮีตสิบสอง ซ่ึงทากันในวันสิ้นเดือนเก้า โดยห่อของคาวหวานใส่ใบตอง ทาเป็นห่อใหญ่ แล้วนาไปห้อยไว้ตามต้นไม้ หรือวางตามดิน ตามร้ัววัด ตามกาแพงรอบโบสถ์สุดแท้แต่เจ้าของจะเห็นสมควร เรียกว่า ข้าวประดับดิน วันทาบุญน้ันเรียกว่า วันบุญห่อ ขา้ วประดบั ดนิ ) บญุ ข้าวประดับดินของชาวอีสาน กาหนดจดั ข้นึ ในวันแรม 15 ค่า เดอื น 9 เป็นประเพณแี บบพทุ ธผสม กับความเช่ือเรื่องวิญญาณ เป็นการทาบุญเพ่ืออุทิศให้เปรตและผี ไร้ญาติ ในเรื่องที่ ธวัช ปุณโณทก กล่าวว่า ชาวอีสานจะเตรียมอาหารใส่กระทงนาไปวางที่สามแพร่ง ตามต้นไม้ใหญ่ ในเวลา 2-3 ชั่วโมงก่อนสว่าง เปน็ การใหอ้ าหารแก่เปรตซึง่ หิวโหย มลู เหตมุ าจากเร่อื ง ของพระเจ้าพิมพิสารและเรอื งของพระโมคคลั ลานะซึ่ง ลงไปเยีย่ มเมืองนรก6 \" ในเร่ืองเดียวกนั น้ี สิริวัฒน์ คาวันสา ใหค้ วามเห็นว่าเป็นพิธรี ะลกึ ถึงบุญคณุ ของแผน่ ดิน 4 บรรณาธกิ าร. พจนานกุ รมภาษาถิน่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ. พมิ พค์ ร้ังท่ี 2 . (กรงุ เทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาต,ิ 2537) 5 ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2542. พมิ พค์ รั้งที่ 6. (กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2546) 6 ธวัช ปุณโณทก. ความเช่ือพ้ืนบ้านสัมพันธ์กับวิถีชีวิตในสังคมอีสาน, ในวัฒนธรรมพื้นบ้าน: คติความเช่ือ. พิมพ์คร้ังที่ 3 . (กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2532) หนา้ 22-23

ที่มนุษย์อาศัยอยู่และได้ทากิน ใน เดือน 9 ข้าวปลาพืชผลกาลังเจริญงอกงาม ชาวบ้านจึงได้ทาพิธีขอบคุณ แผ่นดิน ชาวอีสานจัดหาอาหาร หมากพลู บุหรี่ ห่อด้วยใบตองไปวางตามต้นไม้ ตามก่ิงไม้ เจดีย์ โบสถ์ ต่อมานิยมทาบญุ ตักบาตร และกรวดนา้ อุทศิ สว่ นกุศลตามแบบพทุ ธศาสนา7 สรุปได้ว่า การทาบุญข้าวประดับดิน ถือว่าเป็นประเพณีหนึ่งในฮีตสิบสองที่ชาวอีสานนิยมทากันใน วันแรม 14ค่า เดือน 9 หรือท่ีเรียกว่า บุญเดือนเก้า บุญข้าวประดับดินเป็นบุญท่ีทาเพ่ืออุทิศส่วนกุศล ให้แก่ เปรต (ชาวอีสานบางถ่นิ เรียกเผต) หรอื ญาติมติ รท่ีตายไปแลว้ ข้าวประดบั ดิน ไดแ้ ก่ ขา้ วและ อาหารคาวหวาน พร้อมหมากพลู บุหรี่ท่ีห่อด้วยใบตองกล้วย นาไปวางไว้ตามใต้ต้นไม้ แขวนไว้ตามก่ิงไม้ ตามบริเวณกาแพงวัด (คนอีสานโบราณเรียกกาแพงวัดว่าต้ายวัด) หรอื วางไว้ตามพ้ืนดิน เรียกวา่ \"หอ่ ข้าวน้อย\"พร้อมกับเชญิ วิญญาณ ของญาติมิตร นาภัตตาหารไปถวายแด่พระภิกษุสามเณร แล้วอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ตาย โดยการหยาดน้า (กรวดน้า) ไปให้ดว้ ย บุญข้าวประดับดิน ชาวอีสานก็จะพากันมาร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นจานวนมาก แต่ด้วย สถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นจานวนมาก จึงจาเป็นต้องมีมาตรการการป้องกันเข้ามาให้ทุกท่านได้ปฏิบัติเพ่ือท่ีจะไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ ซง่ึ มาตรการการปอ้ งกันในการไปเข้าร่วมกจิ กรรมทางพระพุทธศาสนา มดี งั นี้ สาหรับผู้ประกอบพิธี/ผู้นาปฏิบัติพิธี หากมีใช้ ไอ เจ็บคอ มีน้ามูก แม้จะมีอาการไม่มาก ให้งดไปร่วม พิธี สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดพิธี หากต้องเป็นผู้นากล่าวในพิธี อนุโลมให้ใช้หน้ากากหรือ กระจังป้องกันใบหน้า (Face Shield) ได้ มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างผู้ประกอบพิธีกรรมทา่ นอื่น และผู้ร่วมพิธี 1 - 2 เมตร หม่ันล้างมือด้วยน้าและสบู่ นาน 20 วินาที หรือทาความตะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์เจล ขณะมือ แห้งทุกครั้งหลังสมั ผัสส่ิงท่มี ีบุคคลอื่น ๆ สัมผัสบ่อย ๆ หรือใช้ร่วมกัน เป็นจานวนมาก เช่น โตะ๊ เก้าอ้ี หนังสือ สวดมนต์ คมั ภรี ์ ลกู บิดประตู ราวบนั ได ฯลฯ รวมทัง้ หลกี เลีย่ งการใช้มือสัมผสั ใบหนา้ ตา จมูก ปาก สาหรับมาตรการผู้เข้าร่วมพิธีหรือร่วมกิจกรรม หากมีไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ามูก แม้จะมีอาการไม่มาก ให้งดไปเข้าร่วมพิธี ต้องมีการลงทะเบียนหรือบันทึกช่ือ - นามสกลุ พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ ลงในสมุดบันทึก ตามท่ีศาสนสถาน หรือผู้จัดงานจัดเตรียมไว้ให้ทุกคร้ัง สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดการเข้าร่วม พิธี มีการเว้นระยะห่างระหว่างแถว 1 - 2 เมตร และให้ยืนตามจุดที่กาหนด หลีกเล่ียงการใช้มือสัมผัสสิ่งของ ร่วมกับผู้อ่ืน หมั่นล้างมือด้วยน้าและบู่นาน 20 วินาที หรือทาความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์เจล หลังออก จากงาน รวมทั้งทาความสะอาดอุปกรณ์สื่อสาร และของใชส้ ว่ นตวั ทพี่ กติดตวั มาในงาน8 ทั้งนี้การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงทาให้มีการสร้างมาตรการขึ้นมา ป้องกันเพอ่ื ไม่ให้เกิดการแพรร่ ะบาด บางหน่วยงานมีการเล่ือน หรืองดจัดกิจกรรม หรือบางหน่วยงานมีการนา เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีเก่ียวกับ วัฒนธรรมและประเพณีไทย เช่น เทศกาล ประเพณีสงกรานต์ อาจจะเป็นการจัดกิจกรรมในครอบครัว หรือเทศกาลวันลอยกระทง ก็จัดให้มีการลอย กระทงแบบออนไลน์ แต่ด้วยบุญข้าวประดับดินต้องทาพิธีกรรมท่ีวัด จึงจาเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการ การป้องกนั อยา่ งเครง่ ครัด เพ่ือไม่ใหเ้ ส่ียงต่อการแพรก่ ระจายไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 7 สริ วิ ัฒน์ คาวันสา. ฮีตสิบสองคองสิบส่ี, ใน อีสานคด.ี (กรุงเทพฯ: มหาลยั ศิลปากร, ม.ป.ป.) หนา้ 80-81 8 สานกั อนามัยผู้สงู อายุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. คมู่ ือการจัดพิธีทางศาสนาและการจดั กจิ กรรมประเพณี ในสถานการณ์การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). (กรงุ เทพ: บรษิ ทั ทีเอส อินเตอร์ พรน้ิ ต์ จากดั , 2563)

ดังน้นั การเข้าร่วมพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนาของชาวอีสานในปัจจุบนั ก็ยังคงเดมิ ตามประเพณที ่ีทา มาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ เพียงแต่เพิ่มในเรื่องของการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการทาตามมาตรการการป้องกันอย่างเคร่งครัด สวมหน้ากากอนามัย หม่ันล้างมือบ่อย ๆ เว้นระยะห่าง 1 – 2 เมตร เพื่อตนเองและสังคม ถึงแม้จะมีอุปสรรคในเรื่องของการแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ชาวอีสานก็ยังคงร่วมกันทาตามวัฒนธรรมและประเพณีไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดินไทยและให้คน รุ่นหลังไดเ้ รียนรู้ อนุรกั ษ์ สืบสานและถ่ายทอดวฒั นธรรม ประเพณีสบื ไป บรรณานุกรม บรรณาธกิ าร. (2537). พจนานุกรมภาษาถ่ินภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . พิมพ์คร้ังที่ 2 . กรุงเทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ ธวัช ปุณโณทก.(2532). ความเช่ือพื้นบ้านสัมพันธ์กับวิถีชีวิตในสังคมอีสาน, ในวัฒนธรรมพื้นบ้าน: คตคิ วามเชือ่ . พมิ พ์ครัง้ ที่ 3 . กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พระยาอนุมานราชธน. (2515). ประเพณตี ่าง ๆ ของไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2542. พิมพ์ครงั้ ท่ี 6. กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน สาร สาระทศั นานนั ท.์ (2530). ฮตี สิบสองคองสิบส.ี่ เลย: วทิ ยาลัยครเู ลย. สริ วิ ฒั น์ คาวนั สา. (ม.ป.ป.). ฮีตสิบสองคองสิบส,ี่ ใน อสี านคดี. กรงุ เทพฯ: มหาลยั ศลิ ปากร. สานักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการจัดพิธีทางศาสนาและ การจัดกิจกรรมประเพณีในสถานการณ์การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19). กรงุ เทพ: บรษิ ัท ทเี อส อินเตอร์พรนิ้ ต์จากดั . เจษฎา มูลยะพอ และคณะ. (2560). บุญข้าประดับดิน: ประวัติพัฒนาการและอิทธิพลต่อชาว จังหวดั หนองคาย. (ม.ป.ป.).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook