“รว่ มสืบสานประเพณี บุญเดือนหา้ ในยคุ New Normal” นางสาวสุดารัตน์ ปจั ชยั โย1 _____________________________________________________________________________ บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลวัฒนธรรมประเพณี บุญเดือนห้าหรือบุญสงกรานต์ เพื่อสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยในช่วงโควิด -19 โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัย ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพ่ือใหเ้ หน็ ถึงความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณไี ทย อกี ทง้ั ยังเป็นการอนุรกั ษ์ สบื สานวัฒนธรรมและ ประเพณีไทย ให้คงอยคู่ แู่ ผน่ ดินไทยสืบไป การสืบสานอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและประเพณไี ทยมีความสำคัญเป็นอย่างมาก ซ่งึ เปน็ วถิ ชี ีวิตของชาวพุทธ ที่สืบทอดกนั มาอย่างยาวนาน บุญเดอื นห้าก็ถือเปน็ อีกหน่ึงประเพณีไทยท่ีชาวอสี านใหค้ วามสำคญั เป็นอย่างมาก เน่อื งจากบุญเดือนห้าหรือบุญสงกรานต์เป็นประเพณีวันข้ึนปใี หม่ของไทยการทำบุญทำทาน การอุทิศส่วนกุศล แด่บุรษุ ผ้ลู ่วงลับ การสรงนำ้ พระ การรดน้ำขอพรผใู้ หญ่ การเล่นสาดนำ้ นบั ว่าวา่ เปน็ เทศกาลแหง่ ความเอื้ออาทร เก้ือกูลผกู พันซง่ึ กันและกนั คำสำคัญ : บุญเดอื นหา้ สงกรานต์ ประเพณไี ทย 1 นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี1
บทนำ วถิ ชี ีวติ ของชาวไทยส่วนมากจะเกยี่ วข้องกับพระพทุ ธศาสนา ชาวไทยรอ้ ยละ 95 % นับถอื พระพุทธศาสนา และได้นำหลักการปฏิบัติทางพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางแห่งการดำเนินชีวิตจนกลายมา เป็นรา กฐ า น ทางวฒั นธรรม อันเปน็ เอกลักษณ์ เป็นมรดกของชาติไทย ตราบเท่าทุกวันน้ีสังคมไทยมีหลักปฏบิ ัติและ วิถีชีวิต อยู่บนหลักของพระพุทธศาสนา ซึ่งได้ยึดถอื และปฏิบัติต่อกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน หลักธรรมคำสอน และความเชื่อตลอดจนแนวปฏิบัติตนตามหลักศาสนาได้ซึมซาบอยู่กับวิถีชีวิตของคนไทยทุกคน จึงกล่าว ได้ว่าสงั คมไทยทกุ ระดับไดร้ ับเอาความเช่ือทางศาสนาเป็นแบบอย่างแห่งการดำเนนิ ชวี ติ จนกอ่ ใหเ้ กิดวัฒนธรรม ขึ้นมา มนุษย์จึงพยายามหาวิธีจะก่อให้เกิดผลดี และเกิดความสุขให้กับชีวิต จึงทำให้เกิดเป็นแนวทางปฏิบัติ ที่เป็นพิธีกรรมเกิดขึ้น พิธีกรรมเป็นสิ่งประดิษฐ์คิดคน้ ทางสังคมทีม่ นุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อ และหนทา ง ทจ่ี ะนำมาซึ่งความสำเรจ็ ตามสิ่งที่คาดคิดไว้ ซึ่งมผี ลมาจากความเช่ือ กอ่ ให้เกดิ เปน็ “ประเพณี” ของแต่ละสังคม เมอื่ คนในสังคมมคี วามเช่อื ต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง จึงก่อให้เกดิ ความศรัทธาเลอื่ มใส และปฏบิ ัตสิ บื ทอดกนั อย่างยาวนาน จนถงึ ปจั จุบนั จนกลายมาเปน็ ประเพณพี ้ืนบ้านและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ประเพณีวันสงกรานต์ ถือเป็นประเพณีวันขึ้นปีใหม่ของไทยมาแต่โบราณ เป็นประเพณีที่งดงาม ออ่ นโยน เอ้ืออาทร และเตม็ ไปดว้ ยบรรยากาศของความกตัญญู ความสนุกสนาน ความอบอ่นุ และการให้เกียรติ เคารพซึ่งกันและกัน สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของความเป็นไทยได้อย่างเด่นชัด โดยใช้น้ำเป็นสื่อ ในการ เช่อื มสมั พนั ธไมตรี ปจั จบุ ันแม้ไทยเราจะนบั วนั ที่ 1 มกราคมของทุกปี เป็นวนั ข้นึ ปีใหม่แบบสากลนิยม แต่ลักษณะ พิเศษและกจิ กรรมทีค่ นในชมุ ชนได้ถอื ปฏบิ ตั ิสบื เน่อื งมาอย่างยาวนาน ไมว่ า่ จะเปน็ การทำบุญทำทาน การอุทิศส่วน กุศลแด่บุรุษผู้ล่วงลับ การสรงน้ำพระ การรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ การเล่นสาดน้ำ และการละเล่นรื่นเริงต่าง ๆ ล้วนทำให้ชาวไทยส่วนใหญย่ ังถือประเพณีสงกรานต์เป็นปีใหม่แบบไทย ๆ ว่าเป็นเทศกาลแหง่ ความเอ้ืออาทร เกือ้ กลู ผกู พนั ซึ่งกนั และกนั อย่างไรก็ตามประเพณีวันสงกรานต์ ในทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม ดินแดนบ้านเมอื งในสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรอื ภาคอีสานของราชอาณาจักรไทย กจ็ ะมีพัฒนาการ ทางประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรมรว่ มกัน เนือ่ งจากพื้นทีส่ ว่ นใหญ่ของภาคอีสานก็เคยเปน็ สว่ นหน่ึงของอาณาจักร ล้านช้าง ทีม่ ีอาณาเขตปกครองสองฝ่งั แม่น้ำโขงในบรเิ วณล่มุ นำ้ โขงตอนกลาง ดังนั้น รปู แบบวถิ ชี ีวติ และวัฒนธรรม ของผู้คนทั้งสองฝั่งโขงในลาว และอีสานปัจจุบันจึงมีความคล้ายคลงึ กันในหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ วิถีปฏิบัติตาม “ฮตี สิบสอง” ซึง่ เปน็ งานบุญประจำเดอื นทีต่ ้องปฏบิ ัตคิ รบทั้ง 12 เดือน ในรอบหน่ึงปี
(ภาพประกอบจาก : เพจศูนยศ์ ลิ ปวฒั นธรรมมหาวิทยาลัยขอนแก่น) บุญเดือน 5 บุญฮดสรง หรือ บุญสงกรานต์ จัดให้มีในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนห้า ซึ่งถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ ของไทยมาตั้งแต่โบราณ ในวันนี้พระสงฆ์จะนําพระพุทธรูปออกจากโบสถ์มาไว้ที่หอสรง ตอนบ่ายชาวบ้าน จะนําน้ำอบ น้ำหอมกิจกรรมที่คนในชุมชนได้ถือปฏิบัติสืบเนื่องมาอย่างยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นการทำบุญ ทำทาน การอุทิศส่วนกุศล แด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ การสรงน้ำพระ การรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ การเล่นสาดน้ำ และการละเล่น รื่นเริงต่าง ๆ ล้วนทำให้ชาวไทยส่วนใหญ่ยังถือประเพณีสงกรานต์เป็นปีใหม่แบบไทย ๆ ทเี่ ทศกาลแห่งความเออ้ื อาทร เกอื้ กูลผกู พนั ซง่ึ กนั และกัน ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีฉลองการขึ้นปใี หมข่ องไทย ซึ่งโดยทั่วไปจัดข้ึนระหว่างวนั ที่ 13-15 เมษายน ตรงกับเดือนหา้ ตามจันทรคติ ตามหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทยนั้นเรมิ่ มปี ระเพณีสงกรานต์ที่ปรากฏ ชัดเจนมาต้งั แตส่ มัยกรุงศรอี ยุธยาแล้ว ในกฎมณเฑียรบาลซึง่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯใหต้ ราขึน้ กล่าวถึง การพระราชพิธีเผดจ็ ศกและพระราชพิธีลดแจตร พระราชพิธีเผดจ็ ศกเป็นพิธีการเกี่ยวกับการตัดจากปีเก่าขึ้นสู่ ปีใหม่ ส่วนพระราชพิธลี ดแจตรน้ัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ทรงสันนิษฐานวา่ หมายถึงพระราชพิธีรดน้ำ เดือน 5 แสดงว่าประเพณีสงกรานต์ของหลวงมีมาต้ังแตต่ น้ สมัยกรุงศรีอยธุ ยา อย่างไรก็ตามสงกรานต์ตามที่สังคม ในปัจจบุ นั รบั รู้กันจะหมายถงึ วันข้ึนปีใหม่ของไทยในสมยั ก่อน ซง่ึ ตรงกบั วันท่ี 13 เมษายน ของปฏิทนิ สากล ประเพณีสงกรานต์ของไทยนั้นไม่ว่าจะเป็นภาคไหนก็ตาม ถือเป็นประเพณีที่งดงามมีคุณค่าสาระ เป็นชว่ งเวลาแห่งการรกั ษากายใจและสง่ิ แวดล้อม การแสดงความกตัญญตู ่อผูม้ พี ระคณุ และแสดงความปรารถนาดี ความเอือ้ อาทรต่อญาติมติ รและแขกผู้มาเยือนนบั เป็นประเพณแี ห่งการสมานสามัคคีทงั้ ในครอบครัวและชุมชน สังคมไทยจะเป็นสงั คมท่รี ่มเยน็ และนา่ อยตู่ ่อไปอกี นาน หากเราฉลองสงกรานต์ด้วยความเขา้ ใจและชว่ ยกนั สืบทอด คณุ คา่ สาระสำคญั ของประเพณี2 2 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว, พระราชพธิ สี บิ สอิ งเดอื น, (กรงุ เทพมหานคร: โสภณการพิมพ์, 2552), หนา้ 91
(ภาพประกอบจาก : yaipearn/shutterstock.com) ภาคอีสานเรียกประเพณีสงกรานต์ว่า “บุญสงกรานต์” หรือ “บุญเดือนห้า” เรียกวันที่ 13 เมษายน ว่า “มอ้ื สงกรานตล์ ่อง” หรอื “มอื้ สงกรานตพ์ า่ ย” เรียกวันท่ี 14 เมษายนว่า “มื้อเนา” และเรียกวนั ที่ 15 เมษายน ว่า “ม้อื สงกรานต์ขึ้น” ชาวอีสานนิยมฉลองสงกรานตต์ อ่ เนื่อง 7 วนั บางแหง่ ถึง 15 วัน ถอื วา่ การร่ืนเริง มใี จเบิก บานสนกุ สนานรว่ มทำบุญทำกุศลในวนั สงกรานต์ เปน็ นมิ ติ อันดีท่จี ะได้โชคชยั ประสบความสำเร็จในปใี หม่ กอ่ นถึง งานบุญสงกรานต์จะมีการเตรียมสถานท่ีล่วงหน้า เช่น จัดทำหอสรง โดยสร้างเป็นศาลาขนาดย่อมเพื่อนำ พระพุทธรปู มาประดิษฐานไวบ้ างแห่ง มีการทำรางรินสำหรับใหช้ าวบ้านรดนำ้ ไปสรงพระพุทธรูป ในมอ้ื สงกรานต์ ล่อง ชาวอีสานจะทำความสะอาดบ้านเรือน ตลอดจนหง้ิ บูชาผีประจำบา้ นซงึ่ เรียกกนั ว่า “ของรักษา” การปดั กวาด ทำความสะอาดในวันนี้ถือว่าเป็นการปดั กวาดสิ่งอัปมงคลออกไปด้วย หากผใู้ ดไมท่ ำมกั ถือกันว่าจะไม่มีโชคลาภ ทำมาหากินไม่ข้ึนตลอดปีใหม่ ในมื้อเนาชาวบา้ นจะแต่งกายสวยงามและนำอาหารไปตักบาตรทีว่ ัด เมื่อถวาย ภัตตาหารพระสงฆ์เสร็จแลว้ ตา่ งขอพร จากพระภิกษุผใู้ หญ่ สรงน้ำพระพุทธรูปดว้ ยน้ำอบ นำ้ หอมโดยรดไปตาม รางริน บางทีมกี ารจดั ทำบายศรสี ขู่ วญั ผู้ใหญ่ดว้ ย หลังจากนั้นก็เล่นรดน้ำกันเอง กลางคืนมีการมาร่วมกนั สวดมนต์ เยน็ และฟังธรรม หนุ่มสาวอาจจับกลมุ่ เล่นกฬี าพ้ืนบา้ นเช่น สะบา้ บางทีมีมโหรสพ เช่น หมอลำ ในมื้อสงกรานต์ ชาวบ้านไปทำบุญตกั บาตรอีก หลังจากนนั้ กเ็ ล่นสาดน้ำกัน บางหมบู่ ้านจดั งานร่นื เรงิ บางกลมุ่ เซง้ิ ไปตามหมู่บ้าน เพือ่ เรยี่ ไรปจั จยั ไทยทานถวายวัดงานบญุ สงกรานต์จึงมีกจิ กรรมดังกล่าวทกุ วนั คอื มีทงั้ งานบญุ กุศลและงานรื่นเริง สนุกสนานระหวา่ งชาวบา้ น การสรงน้ำพระพทุ ธรปู นยิ มทำตอ่ เนอ่ื งจนกวา่ จะสิน้ สดุ งานบุญสงกรานตแ์ ต่ละท้องถิ่น อาจกำหนดระยะเวลาไม่ตรงกนั มหาวิทยาลัยขอนแก่นร่วมกับศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดงานบุญเดือนห้า ในเดอื นเมษายนของทุกปี ณ คุม้ ศิลปวัฒนธรรม (คุ้มสฐี าน) เน้นพิธีกรรมเรยี บงา่ ย โดยมกี ิจกรรมหลกั ประกอบด้วย การบชู าหลวงพ่อพระศรี 50 ปี มข. เปน็ การสกั การบูชาเพื่อเป็นสริ มิ งคลแกป่ ระชาชน ร่วมสรงน้ำพระพุทธศิลป์ถ่ิน ล้านช้างร่มขาว สมมาอาวุโส บูชาต้นดอกไม้ หัตถประติมากรรม บูชาพญานาคราช 15 ตระกูล
ผลงานประติมากรรมแกะสลักไม้ล้ม เป็นงานที่เกิดข้ึนจากโครงการศิลปะเพื่ออนุรักษแ์ ละพัฒนาสิ่งแวดล้อม แกะสลักไม้ล้มเป็นงานศลิ ป์ เนื่องจากอายุและสภาพของธรรมชาติ ทำให้ป่าไม้ล้ม หรือหักจากภยั ธรรมชาติ ทำให้เกดิ สภาพไมท้ อ่ นที่ผุพังและเส่ือมสภาพ โดยการนำไม้ทล่ี ม้ หัก และกำลังผพุ ัง มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด ในทางศิลปะ การตกั บาตรดอกไม้ อานิสงสบ์ ุญแหง่ การถวายพุทธบูชาศรัทธาแหง่ ชาวพุทธ การประกวดขบวนแห่ พุทธบูชาและนางสังขาร โดยภายในขบวนแห่ไม่อนญุ าตใหใ้ ช้รถที่ใช้น้ำมันเพื่อลดมลภาวะ มีกิจกรรมประกวด ก่อเจดีย์ทราย (ตบปะทาย) ประกวดถา่ ยภาพ พิธีทำบุญตักบาตรดอกไม้ พระสงฆ์ 9 รูป แน่นอนว่ายังคงมีนำ้ เป็นสว่ นประกอบ แต่เน้นการประพรม ไม่เนน้ การสาด การแตง่ กายจะแตง่ ดว้ ยชดุ ผา้ ไทยมบี รกิ ารให้ยืมผ้าซิ่น และ ผา้ โสรง่ ฟรี นอกจากนนีย้ ังมีการแสดงหมอลำกลอน แต่ในการจัดงานกค็ งอยภู่ ายใต้มาตรการปอ้ งกันและควบคุม การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ของกระทรวงสาธารณสขุ อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่ ในช่วงบุญเดอื นห้าปีน้ี ขอให้จดั กิจกรรมโดยเน้น “ริน รด พรม ใส่หน้ากาก ไม่สาดนำ้ ” เพื่อสืบสาน วฒั นธรรมประเพณีสงกรานตซ์ ึ่งเป็นเอกลกั ษณ์ของไทย และขอความร่วมมือประชาชนทุกคนปฏิบัตติ ามมาต รการ ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 อยา่ งเครง่ ครดั โดยสวมหนา้ กากอนามัยทกุ คน ล้างมอื บอ่ ย ๆ เว้นระยะห่าง และหลีกเลี่ยงไปในพื้นที่ที่มีผู้คนอยู่รวมกันจำนวนมาก รวมถึงสถานที่เสี่ยงต่างๆ เพื่อป้องกันการรับเชื้อ และแพรก่ ระจายเชอ้ื ใหก้ ับคนในครอบครวั โดยเฉพาะผู้สงู อายุ และลดการแพรร่ ะบาดโรคในชมุ ชนดว้ ย
บรรณานกุ รม กรมการศาสนากระทรวงวัฒนธรรม. (2552). พธิ กี รรมและประเพณี. กรุงเทพฯ: ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. ประเพณีสงกรานต์. สืบคน้ เมอื่ 28 ธนั วาคม 2564, จาก http://www.baanjomyut.com/library/songkran/index.html ประวตั ิประเพณีสงกรานตแ์ ต่ละภาค. สบื ค้นเมอ่ื 3 มกราคม 2565, จาก yaipearn/shutterstock.com พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั . (2552). พระราชพธิ ีสิบสองเดือน. กรงุ เทพฯ: โสภณการพิมพ์. มลู นิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย. (2542). สารานกุ รมวัฒนธรรมไทย ภาคอสี าน เลม่ 7. กรุงเทพฯ: สยามเพรส. มูลนธิ สิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย. (2542). สารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ภาคใต้ เล่ม 15.กรุงเทพฯ: สยามเพรส. มข. ร่วมอนุรกั ษ์ศิลปวฒั นธรรมอันงดงาม แมใ้ นยามโควิดฯ. สืบค้นเม่ือ 30 ธันวาคม 2564, จาก https://cac.kku.ac.th/
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: