Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ

Published by navapon, 2018-07-05 03:36:50

Description: eHealth_Strategy_THAI_16NOV17

Search

Read the Text Version

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 51จากยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพระดบั ชาติ (National eHealth Strategy) ตามตารางภาพขา้ งต้นจะเหน็ วา่ การจัดทำ� ยุทธศาสตร์ ไดแ้ บ่งออกเปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่สว่ นที่ 1 วิสัยทัศน์ eHealth ประกอบไปดว้ ย เปา้ หมายกลยทุ ธ์ เปา้ หมายเชิงกลยุทธ์และความทา้ ทาย ผลลพั ธ์ eHealth วิสัยทศั น์ eHealth สภาวะแวดลอ้ ม eHealth แหง่ ชาติ องคป์ ระกอบ eHealth ค�ำแนะนำ� ชิงกลยุทธ์สว่ นที่ 2 แนวทางการด�ำเนินการ ผลผลติ ของ eHealth และกิจกรรมส่วนท่ี 3 ตัวชี้วัดผลผลิต ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์ซ่ึงเอกสารฉบบั นเี้ นน้ ในสว่ นที่ 1 และการวเิ คราะหแ์ ผนท่ีการด�ำเนินงาน (Roadmap) ซ่ึงจะนำ� ไปส่กู ารด�ำเนนิ การในสว่ นท่ี 2และ 3 ต่อไปจากท่ไี ดก้ ลา่ วมาในทกุ บทข้างต้น คณะท�ำงานได้ทำ� การสงั เคราะห์องคป์ ระกอบต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการด�ำเนนิ การดา้ น eHealthดังนี้ • วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของ eHealth ในประเทศไทยตามองค์ประกอบของ eHealth • วเิ คราะห์ SWOT ตามองคป์ ระกอบของ eHealth • พิจารณาจากสถานการณ์ปญั หาสถานะสขุ ภาพของประชาชน/ยทุ ธศาสตร์และเปา้ หมายในแผนพฒั นาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 • วเิ คราะห์สภาพปญั หาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวงสาธารณสุข • สงั เคราะห์ความสอดคล้องยุทธศาสตร์ดา้ น ICT และ eHealth ไดแ้ ก่ 1. Thailand 4.0 2. แผนพัฒนาดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม 3. ยทุ ธศาสตร์และเปา้ หมายในแผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ 4. กรอบนโยบาย ICT 2020 5. ASE-AN ICT Master Plan 6. ยุทธศาสตร์การบรู ณาการรฐั บาลอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Government) 7. การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ปัญหาสถานะสุขภาพของประชาชนและแผนปฏิบตั ิราชการกระทรวงสาธารณสขุ 8. Regional Strategy for strengthening eHealthin South-East Asia Region 2558 – 2564 9. WHO eHealth policiesจากการวิเคราะห์ SWOT ตามองคป์ ระกอบของ eHealth และการสังเคราะห์ความสอดคลอ้ งยุทธศาสตรด์ า้ น ICT และ eHealthพบว่ามคี วามสอดคล้องกัน ซึ่งสามารถสรปุ เป็นยุทธศาสตรใ์ นการพฒั นา eHealth ของชาติได้ 6 ยทุ ธศาสตร์ จากนัน้ คณะท�ำงานได้ประชุมระดมสมอง วิพากษ์และสรปุ ยทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy) ได้ดังนี้ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

52 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธยศทุ ธาสศาตสรต์เรทเทคคโนโนโลโลยยีสีสาารรสสนนเทเทศศสสขุ ภุขาภพาพ(eH(eeaHltehaSlttrhatSegtrya)tegy) VISION MISSION GOALปÃÐà·Èä·ÂÁÕ eHealth ·àèÕ ¢Á้ á¢çง 1. ¾Ñ²¹ÒÃкººÃÔËÒèѴ¡Òà ෤â¹âÅÂÕ 1. »ÃЪҪ¹ÁÊÕ Ø¢ÀÒ¾·Õè´Õ¢¹Öé ¨Ò¡ÁÕปÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ า¾ àปนš ¸ÃÃÁ ÊÒÃʹà·Èà¾Í×è ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹eHealth ¡ÒÃࢌҶ§Ö áÅÐ㪻Œ ÃÐ⪹¨ Ò¡à¾è×Í»ÃЪҪ¹ Á¤Õ ³Ø ÀÒ¾ªÇÕ Ôµ·´èÕ Õ ¢ÍงปÃÐà·È·èÁÕ ÕปÃÐÊÔ·¸ÀÔ า¾ eHealth Í‹ҧ§èÑ Â¹×ãนป‚ 2020 2. Èٹ¡ÅÒ§¡ÒûÃÐÊÒ¹¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁ×Í 2. ªÁØ ª¹ ·ÍŒ §¶Ôè¹ ÀÒ¤àÕ ¤Ã×Í¢‹ÒÂ ä´ŒÃºÑ ÀÒ¤Õà¤ÃÍ× ¢Ò‹ Â㹡ÒâºÑ à¤Å×Íè ¹¡ÒÃ㪌 »ÃÐ⪹¨ Ò¡ eHealth à¾è×͹Óä»Ê‹Ù eHealth à¾è×ÍÊ‹§àÊÃÁÔ ¤³Ø ÀÒ¾ªÇÕ Ôµ ¡ÒþѲ¹Ò¤³Ø ÀÒ¾ªÇÕ Ôµ»ÃЪҪ¹ ¢Í§»ÃЪҪ¹ãËŒ´¢Õ ¹éÖ 1 กรอบยทุ ธศาสตรเ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ ÂØ·¸ÈÒʵ÷ èÕ 1 ¡ÅÂ·Ø ¸· Õè 1 ¼ÅÑ¡´Ñ¹¾ÃÐÃÒªºÑÞÞѵÔͧ¤¡Ã¡ÅÒ§¤ÇÒÁËÇÁÁÍ× ¡ÒúÃÔËÒè´Ñ ¡Òà eHealth ¡ÅÂ·Ø ¸·Õè 2 ¡Ó˹´¹âºÒ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹´ÒŒ ¹ eHealthÃͧÃѺ˹Nj ºÃÔËÒÃáÅÐ˹‹ÇºÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧ໹š ¸ÃÃÁ ¨Ñ´µ§Ñé ͧ¤¡Ã¡ÅÒ§ ¡ÅÂ·Ø ¸·èÕ 3 ʹºÑ ʹ¹Ø ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ ¡ÒûÃÐÊÒ¹§Ò¹áÅÐÊÃÒŒ §¤ÇÒÁËÇÁÁÍ× ã¹¡ÒþѲ¹Ò eHealth¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁ×Í¡ÒúÃËÔ Òà ¡ÅÂØ·¸·Õè 4 µÔ´µÒÁáÅлÃÐàÁ¹Ô ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹Í‹ҧÁÕÊÇ‹ ¹ÃÇ‹ Á ¨Ñ´¡Òà eHealth 2 ¡ÅÂ·Ø ¸·Õè 1 ÊÌҧ¡ÒÃÁÊÕ Ç‹ ¹Ã‹ÇÁà¾×Íè ¨Ñ´·Óʶһ˜µÂ¡ÃÃÁͧ¤¡Ã´ÒŒ ¹ eHealth ·èÕÊÒÁÒöʹѺʹ¹Ø ÂØ·¸ÈÒʵÏ ¡ÅÂ·Ø ¸· èÕ 2 ´ŒÒ¹ÊØ¢ÀÒ¾ ¢Í§»ÃÐà·ÈÍ‹ҧÃͺ´ŒÒ¹ ÂØ·¸ÈÒʵÏ·èÕ 2 ¡ÅÂØ·¸· èÕ 3 ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃã˺Œ ÃÔ¡ÒÃâ¤Ã§ÊÃÒŒ §¾×¹é °Ò¹â´Â¤Ó¹§Ö ¶§Ö ¤ÇÒÁµÍŒ §¡Òâͧ¼ŒãÙ ª§Œ Ò¹ 4 ¡ÅØÁ‹ ¤×Í ¼ŒºÙ ÃÔËÒÃ, ¡ÅÂ·Ø ¸·èÕ 4 à¨ÒŒ ˹Ҍ ··èÕ Õèà¡èÂÕ Ç¢ÍŒ § ¡ÑºÃкºÊØ¢ÀÒ¾, ˹Nj §ҹÍè¹× æ ÀÒÂã¹/ÀÒ¹͡»ÃÐà·ÈáÅлÃЪҪ¹ ¾²Ñ ¹ÒáÅÐ »ÃºÑ »Ã§Ø ¨Ñ´ãËÁŒ ºÕ ÃÔ¡ÒôŒÒ¹ Infrastructure ÊÓËÃѺ»ÃЪҪ¹ ·èÊÕ ÒÁÒöà¢ÒŒ ¶§Ö áÅФÃͺ¤Ãͧ Individual ʶһµ˜ ¡ÃÃÁͧ¤¡Ã Health Information áÅÐâ¤Ã§ÊÃÒŒ §¾¹×é °Ò¹ Ê‹§àÊÃÁÔ ¡ÒúÃËÔ ÒèѴ¡ÒáÒÃ㪌 Infrastructure ·àèÕ ¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§¡Ñº â¤Ã§¢Ò‹ ¢͌ ÁÅÙ Í‹ҧÁÕà¾×Íè ʹºÑ ʹ¹Ø ¡Òà ã˺Œ Ã¡Ô Òà »ÃÐÊ·Ô ¸ÔÀÒ¾ ¤ÁŒØ ¤‹Ò áÅлÅÍ´ÀÑ áÅСÓ˹´ÊѴʋǹ¡ÒÃ㪧Œ Ò¹ Network eHealth á¡»‹ ÃЪҪ¹ 3 ¡ÅÂØ·¸· èÕ 1 ÊÃÒŒ §ÁҵðҹÃкº¢ÍŒ ÁÙÅ梯 ÀÒ¾·ÊèÕ ÒÁÒöáÅ¡à»ÅÂèÕ ¹áÅÐàªÍè× Á⧠(Standards and Interoperability) ¡¹Ñ ä´ÍŒ ÂÒ‹ § ÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÀÔ Ò¾ ÂØ·¸ÈÒʵÏ·Õè 3 ¡ÅÂØ·¸·Õè 2 ¾Ñ²¹Ò¤Å§Ñ ¢ŒÍÁÅÙ Ê¢Ø ÀÒ¾ ÊÃÒŒ §Áҵðҹ¢Í§Ãкº ¡ÅÂ·Ø ¸· Õè 3 ¾²Ñ ¹ÒÁҵðҹ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ¢ŒÍÁÙÅ梯 ÀÒ¾¢ŒÍÁÅÙ Ê¢Ø ÀÒ¾¡ÒúÃÙ ³Ò¡Òà ¡ÅÂØ·¸· èÕ 4 ¾Ñ²¹ÒÃкº´ªÑ ¹ÕªéÕÇ´Ñ áÅÐÃкºµÔ´µÒÁ»ÃÐàÁÔ¹¼ÅÃкºÊ¢Ø ÀÒ¾ ¡ÅÂ·Ø ¸·Õè 5 ¾Ñ²¹ÒÃкºÊÒÃʹà·È㹡Òõ´Ô µÒÁáÅÐà½Ò‡ ÃÐÇѧÀÑÂ梯 ÀÒ¾ ¢ÍŒ ÁÅÙ ÊÒÃʹà·È áÅÐ ¡ÒÃàªèÍ× Áâ§áÅ¡à»ÅÂèÕ ¹ ¢ŒÍÁÅÙ ·ÁèÕ Õ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 53 ยุทธศยุทาธสศตารส์เตทรคเทโนคโโลนโยลีสยีสารารสสนนเเททศศสสุขุขภภาาพพ(e(HeeHaelthalSthtraStetrgayt)egy) กรอบยุทธศาสตรเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ 4 ¡ÅÂØ·¸· Õè 1 à¾ÁèÔ »ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃÃкºà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È㹡ÒâѺà¤ÅÍè× ¹ eHealth ¡ÅÂØ·¸· èÕ 2 ´ÒŒ ¹ Process Software Hardware áÅÐ Peopleware ÂØ·¸ÈÒʵ÷ èÕ 4 ʹѹʹعáÅлÃÐÊÒ¹¤ÇÒÁËÇÁÁÍ× ã¹¡ÒÃÇ¨Ô ÑÂáÅоѲ¹Ò¹Çѵ¡ÃÃÁ´ÒŒ ¹à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È ÊØ¢ÀҾ㹡ÒÃã˺Œ Ã¡Ô ÒÃ Ê¢Ø ÀҾᡋ»ÃЪҪ¹µÒÁͧ¤» ÃСͺ¡ÒúÃÔËÒè´Ñ ¡ÒôҌ ¹ eHealth¢ºÑ à¤ÅèÍ× ¹áÅоѲ¹Ò¹ÇµÑ ¡ÃÃÁÃкººÃÔ¡Òà áÅÐ â»Ãá¡ÃÁ ¡ÅÂ·Ø ¸·èÕ 1 ÊÌҧÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ Á·Ò§¡®ËÁÒÂáÅСÒúѧ¤ºÑ 㪌¡®ËÁÒ´Ҍ ¹ eHealth ¡ÅÂ·Ø ¸·Õè 2 à¾Íè× ãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁ¤Ãͺ¤ÅÁØ áÅлÃСÒÈ㪹Œ âºÒ »ÃÐÂ¡Ø µ ´ÒŒ ¹ eHealth ¡ÅÂ·Ø ¸·Õè 3 ʹºÑ ʹ¹Ø ¡ÒÃÍÍ¡¡®ËÁÒ ¢ŒÍ¡Ó˹´ ¡®ÃÐàºÕºËÅ¡Ñ à¡³±á ¹Ç»¯ºÔ µÑ Ôà¾Íè× ãËàŒ ¡Ô´¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·Õè໚¹»ÃÐ⪹µ Í‹ ÃкººÃÔ¡Òà ໚¹¸ÃÃÁ ¤ØÁŒ ¤Ãͧ¼ŒÙºÃâÔ À¤ áÅк¤Ø ÅҡôŒÒ¹ÊÒ¸ÒÃ³Ê¢Ø áÅмàŒÙ ¡èÕÂÇ¢ŒÍ§ã¹´ÒŒ ¹ eHealthÊØ¢ÀÒ¾ (health care service ·º·Ç¹áÅо²Ñ ¹ÒÁҵðҹ´ŒÒ¹ eHealth ãËŒÁÕ¤ÇÒÁÊÍ´¤ÅÍŒ §ÃÍ§ÃºÑ ¡Ñº¡ÒÃã˺Œ Ã¡Ô ÒÃÊØ¢ÀÒ¾ ·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÂÕè ¹á»Å§ÍÂÙ‹ µÅÍ´àÇÅÒ delivery) áÅлÃЪҪ¹ ÃÇÁ·Ñé§Á¡Õ ÒäŒØÁ¤Ãͧ ·ÃѾÊÔ¹·Ò§»˜ÞÞÒ 5 ÂØ·¸ÈÒʵÏ·èÕ 5 ¼Å¡Ñ ´¹Ñ ¡ÒÃ㪌 ¡®ËÁÒ ÃÐàºÕº ÇÔ¸Õ»¯ºÔ µÑ áÔ ÅÐ Áҵðҹ·àèÕ ËÁÒÐÊÁ à¾Í×è ʹѺʹ¹Ø ¡ÒÃ㪌 ã¹Ãкº 6 ¡ÅÂ·Ø ¸·èÕ 1 ÊÌҧÃкº¡ÒúÃËÔ ÒÃ·Ã¾Ñ Âҡú¤Ø ¤Å´ÒŒ ¹ eHealth (HRM) ¡ÅÂØ·¸·Õè 2 à¾ÔèÁ»ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾¡Òþ²Ñ ¹Ò·Ã¾Ñ Âҡú¤Ø ¤Å´ÒŒ ¹ eHealth (HRD) Â·Ø ¸ÈÒʵ÷ èÕ 6 ¡ÅÂ·Ø ¸· èÕ 3 Ê‹§àÊÃÁÔ ¡ÒÃÊÃÒŒ §à¤Ã×Í¢Ò‹ ÂÃÐËÇÒ‹ §¼ŒÙ¾Ñ²¹ÒáÅÐËÃ×ͼŒÙ㪧Œ Ò¹ÃÇÁ·é§Ñ àÍ¡ª¹·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹´ÒŒ ¹ eHealth ¡ÅÂØ·¸· èÕ 4 ʹѺʹ¹Ø ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅФÇÒÁà¢ÒŒ ã¨ã¹ÀÒ¤»ÃЪҪ¹ ¡Òþ²Ñ ¹Ò·Ø¹Á¹ÉØ Â ´ÒŒ ¹ eHealth áÅÐ à·¤â¹âÅÂÕ ÊÒÃʹà·È¡Òè´Ñ ¡ÒäÇÒÁÌٴҌ ¹ ¡ÒÃᾷáÅÐ梯 ÀÒ¾ ÊÓËÃºÑ »ÃЪҪ¹Standards and ¡®ËÁÒ ¾²Ñ ¹Ò¤Åѧ¢ŒÍÁÙÅ ¾²Ñ ¹ÒÃкº¢ŒÍÁÙÅ ¾Ñ²¹ÒÃкº ¾²Ñ ¹Ò ¾²Ñ ¹Ò·ÃѾÂÒ¡Ãinteroperability ¡ÒÃáÅ¡à»ÅÂÕè ¹¢ŒÍÁÙÅ ÊØ¢ÀÒ¾á˧‹ ªÒµ/Ô Ê¢Ø ÀҾʋǹºØ¤¤Å µ´Ô µÒÁà½Ò‡ ÃÐÇѧ mHealth/teleHealth ºØ¤¤Å´ŒÒ¹ Ãкº¢ÍŒ ÁÅÙ ÂÒ/ â´ÂºÃÙ ³Ò¡ÒÃËÇÁ¡ºÑ ÀÂÑ Ê¢Ø ÀÒ¾/Ãкº à¾×Íè ʹºÑ ʹعËÁÍ Healthcare 梯 ÀÒ¾ Health are logistics ¡ÃзÃǧÁËÒ´ä·Â ¡ÒÃᾷ© Ø¡à©Ô¹ eHealth (HRD) Logistics ¤Ãͺ¤ÃÑÇáÅÐ »ÃЪҪ¹ã¹¾é×¹·Õè Ë‹Ò§ä¡Å THE SIX BUILDING BLOCKS OF A HEALTH SYSTEM SERVICE DELIVERY, HEALTH WORKFORCE, HEALTH INFORMATION SYSTEMS, ACCESS TO ESSENTIAL MEDICINES, FINANCING, LEADERSHIP / GOVERNANCE eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

54 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดต้ังองค์กรกลางความร่วมมือการบริหารจัดการ eHealthเปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผรู้ ับผดิ ชอบ1. มีองคก์ รในการ 1. ระดับความสำ� เร็จ องค์กรกลางมกี าร กลยุทธ์ท่ี 1 1. จดั ต้งั องคก์ รกลาง กระทรวงสาธารณสขุขบั เคลื่อน eHealth ในการจัดต้งั องคก์ ร ด�ำเนินงานตามองค์ ผลกั ดนั พระราช ทท่ี ำ� งานแบบมืออาชพี และกรมฯ ในสังกดัส�ำหรบั การบรหิ าร กลางในการก�ำหนด ประกอบของการขบั บญั ญัติองค์กร ในการก�ำหนดนโยบาย เขตสขุ ภาพจัดการและการบริการ นโยบายและกำ� กบั เคล่ือน eHealth โดย กลางความร่วมมือ และกำ� กบั ดแู ลการ กระทรวง ICTสุขภาพของประชาชน ดแู ลการดำ� เนนิ งาน ความรว่ มมือของ การบริหารจัดการ ดำ� เนนิ งาน eHealth กระทรวงยุติธรรมอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ eHealth (ระดับ ภาคเี ครอื ขา่ ยอยา่ งมี eHealth ภายใน 1 ปี กระทรวงมหาดไทย ประสทิ ธิผล • รา่ งขอ้ เสนอพระราช และกระทรวงตา่ งๆ ท่ี ชาติ กระทรวง เขต บัญญตั ใิ นการจดั ตัง้ เกี่ยวข้อง และจงั หวดั ) องค์กรกลางความรว่ ม มอื การบรหิ ารจัดการ eHealth กลยุทธ์ท่ี 2 ศนู ยเ์ ทคโนโลยี ก�ำหนดนโยบาย สารสนเทศและการ การดำ� เนนิ งานด้าน ส่อื สาร กรมฯ eHealth รองรับหนว่ ย ในสงั กัดกระทรวง บริหารและหนว่ ย สาธารณสขุ บริการอยา่ งเปน็ ธรรม เขตสุขภาพ 1. ก�ำหนดใหม้ ี กระทรวง ICT โครงสรา้ งหนว่ ยงาน กระทรวงยตุ ธิ รรม กลางทุกระดับ(ระดับ กระทรวงมหาดไทย ชาติ เขต จงั หวดั ) กระทรวงตา่ งๆ ที่ เพือ่ รองรบั การด�ำเนิน เกย่ี วขอ้ ง งาน eHealth (ภายใน 1 ป)ี 2. กำ� หนดเป้าหมาย ใหส้ อดคลอ้ งกบั การ บรหิ ารจัดการดา้ น สุขภาพของประชาชน ตามบริบทของพน้ื ที่ 3. กำ� หนดแนวทาง การบรหิ ารจดั การตาม eHealth Strategy Toolkit ของ WHO & ITU (Leadership, Governance, Strategy, Investment) 4. การก�ำหนดตัวชี้ ศูนย์เทคโนโลยี วัด การตดิ ตาม และ สารสนเทศและการ การประเมนิ ผล ใน สื่อสาร การด�ำเนินงานอยา่ งมี สำ� นักนโยบายและ สว่ นรว่ ม ยทุ ธศาสตร์ 5. สนบั สนนุ หนว่ ย กรมฯ ในสงั กดั งานกลางทกุ ระดบั กระทรวงสาธารณสขุ จดั ทำ� แผนการด�ำเนิน เขตสุขภาพ งานในดา้ นบุคลากร กระทรวง ICT งบประมาณ อุปกรณ์ กระทรวงยตุ ิธรรม โครงสร้างพ้ืนฐานดา้ น กระทรวงมหาดไทย เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารจดั การ eHealtheHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 55ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดตั้งองค์กรกลางความร่วมมือการบริหารจัดการ eHealth (ต่อ) เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวัด เปา้ หมายยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ Flagship ผรู้ ับผิดชอบ2. สรา้ งความร่วม จ�ำนวนหน่วยงานท่ี ศูนยเ์ ทคโนโลยีมือของภาคเี ครือ เข้ามาเปน็ ภาคเี ครอื ได้รบั ความรว่ มมือ กลยทุ ธ์ที่ 3 2. ประชุมความรว่ ม สารสนเทศและการข่ายในการขบั เคลอ่ื น ขา่ ยในการขบั เคล่ือน ในการขับเคลอื่ น สนบั สนนุ การดำ� เนิน มอื ระหว่างภาคีเครือ สอื่ สารeHealth ทุกระดบั eHealth eHealth จากทุก งาน การประสาน ขา่ ย ก�ำหนดความ กรมฯ ในสงั กัด ภาคสว่ นอยา่ งมี งานและสรา้ งความ รว่ มมอื ใน กระทรวงสาธารณสุข ประสิทธิผล รว่ มมอื ในการพัฒนา การดำ� เนนิ งาน เขตสขุ ภาพ eHealth ด้าน eHealth ตาม กระทรวง ICT 1. สนับสนนุ การ Flagship กระทรวงยตุ ิธรรม ประสานงานและสรา้ ง ทสี่ �ำคญั ในแตล่ ะ กระทรวงมหาดไทย ความร่วมมอื ในการ ยุทธศาสตร์ พัฒนา โดยประชุม ศูนย์เทคโนโลยี ความร่วมมอื ระหว่าง สารสนเทศและการ หนว่ ยงานและภาค สื่อสาร สว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ ง เชน่ กรมฯ ในสังกดั ความรว่ มมอื ในการให้ กระทรวงสาธารณสุข บริการสขุ ภาพระหว่าง เขตสขุ ภาพ ภาครฐั และเอกชน กระทรวง ICT (Public and Private กระทรวงยตุ ธิ รรม Partnership – PPPs) กระทรวงมหาดไทย และความร่วมมอื ดา้ นวชิ าการและการ จดั การเรยี นการสอน 2. ภาคีเครือขา่ ยน�ำ eHealth ไปวางแผน การบรหิ ารจดั การ ส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ประชาชน ในการเขา้ ถึงบรกิ าร สขุ ภาพอย่าง ครอบคลุม เท่าเทียม เปน็ ธรรมและยั่งยนื 3. ก�ำหนดความรว่ ม มอื การแลกเปล่ียน และเชอื่ มโยงขอ้ มูล ประชากรรายบคุ คล และสถิตชิ ีพ 4. สง่ เสรมิ การใช้ กฎหมายและกฎ ระเบยี บท่ีเหมาะสม เพ่ือสนบั สนุนการ ใช้ eHealth ในระบบ สขุ ภาพ กลยุทธ์ท่ี 4 ตดิ ตามและประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งาน อย่างมสี ว่ นร่วม eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

56 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรและโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อสนับสนุนการให้บริการeHealth แก่ประชาชนเป้าประสงค์ ตวั ช้วี ดั เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผู้รบั ผดิ ชอบ1 . มี Enterprise 1. มกี ารพัฒนา มี Enterprise กลยทุ ธท์ ี่ 1 1. โครงการสรา้ งความ ศูนย์เทคโนโลยีArchitecture (EA) Enterprise Archi- Architecture (EA) สรา้ งการมสี ว่ น รู้ ความเขา้ ใจดา้ น สารสนเทศและการสำ� หรับ eHealth tecture (EA) ของ ที่เอื้อให้ ร่วมเพื่อจดั ทำ� Enterprise สอ่ื สาร กรมฯ ใน eHealth ที่ได้รับการ การดำ� เนนิ งาน สถาปัตยกรรมองคก์ ร Architecture (EA) สงั กัดกระทรวง ยอมรับจากทุก eHealth ดา้ น eHealth ที่ เพ่อื สนับสนนุ หน่วย สาธารณสุข ภาคส่วน ภายใน 1 ปี มปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถสนับสนุน งานสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพ ยุทธศาสตรด์ า้ น ของไทย กระทรวง ICT สุขภาพของประเทศ 2. โครงการจดั ท�ำ และกระทรวงต่างๆ อยา่ งรอบด้าน สถาปัตยกรรมองคก์ ร ทเ่ี กี่ยวข้อง สำ� หรับ eHealth2. มโี ครงสร้างพืน้ 1. จำ� นวนหนว่ ย หน่วยบริการมี กลยทุ ธ์ที่ 2ฐานเพอื่ ให้เกดิ ความ บริการท่ีมโี ครงสร้าง โครงสร้างพน้ื ฐานท่ี พฒั นาการใหบ้ รกิ ารหลากหลาย และ พ้นื ฐานสามารถ สามารถให้บริการได้ โครงสรา้ งพ้ืนฐานโดยสามารถหลอมรวม บรกิ ารใหแ้ กก่ ลุ่มผู้ ตามมาตรฐานห ค�ำนึงถึงความตอ้ งการเทคโนโลยี ในการให้ ใชง้ าน ของผ้ใู ชง้ าน 4 กลุม่บริการ eHealth ที่ 2. จ�ำนวนปริมาณการ คอื ผู้บรหิ าร, เจ้าเป็นมาตรฐาน ใชบ้ รกิ าร eHealth ใน หน้าทีท่ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั แต่ละช่องทาง ระบบสขุ ภาพ, หนว่ ย งานอน่ื ๆ ภายใน/ ภายนอกประเทศและ ประชาชน3. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพ 1. สามารถจัดหาและ กลยุทธ์ที่ 3 1. โครงการศึกษา ศูนยเ์ ทคโนโลยีโครงสร้างพนื้ ฐาน ออกแบบเทคโนโลยี จัดให้มบี ริการด้าน เทคโนโลยที ่ีเหมาะ สารสนเทศและการดจิ ติ อล โดยใช้ ทีเ่ หมาะสม เพื่อ Infrastructure สมเพ่อื รองรับการให้ ส่ือสาร กรมฯ ในเทคโนโลยีท่เี หมาะสม รองรบั การใหบ้ ริการ สำ� หรับประชาชน บรกิ าร Individual สังกดั กระทรวงภายในระยะเวลา 5 ปี Individual Health ท่สี ามารถเข้าถงึ และ Health Information สาธารณสขุ Information ของ ครอบครอง ในระยะเวลา 5 ปี เขตสขุ ภาพ โรงพยาบาลระดบั Individual Health กระทรวง ICT M2 ข้ึนไป ภายใน Information และกระทรวงต่างๆ 3 ปี ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 2. มรี ายการข้อมลู ทีเ่ ปน็ Individual Health Information ทีส่ ามารถ บนั ทึกคนื ขอ้ มลู ให้ผู้รับบริการ อยา่ งนอ้ ย 3 ชดุ ข้อมูล ภายใน 3 ปี 3. มีหนว่ ยบรกิ ารท่ใี ห้ บริการดา้ นการบันทกึ และใช้งาน Individual Health Information อย่างน้อย ร้อยละ 30 ของโรงพยาบาลระดับ M2* ข้นึ ไป*โรงพยาบาลระดบั M2 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาด 120 เตียง ขนึ้ ไปทีม่ ีแพทย์เวชปฏิบตั หิ รือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครวั 3 – 5 คน และแพทย์เฉพาะทางครบทงั้ 6 สาขาหลกั (อายรุ กรรม ศัลยกรรม สตู ินรเี วชกรรม กมุ ารเวชกรรม ออร์โธปดิ กิ ส์ วสิ ญั ญ)ี สาขาละอยา่ งน้อย 2 คน มผี ปู้ ว่ ยใน ห้องผา่ ตัด หอ้ งคลอดหอผู้ป่วยหนกั ห้องปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื วินิจฉยั ประกอบการรักษาของแพทยเ์ ฉพาะทาง รงั สวี ิทยาเพ่อื วนิ ิจฉยั ประกอบการรักษาของแพทย์เฉพาะทางสาขาหลกั 6 สาขารองรับการสง่ ตอ่ จากโรงพยาบาลชมุ ชนอ่ืนและลดการสง่ ตอ่ ไปโรงพยาบาลทั่วไป และสนับสนนุ เครือข่ายบริการปฐมภมู ิของแตล่ ะอำ� เภอeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 57ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปัตยกรรมองค์กรและโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อสนับสนุนการให้บริการeHealth แก่ประชาชน (ต่อ) เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวดั เป้าหมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผรู้ บั ผิดชอบ4. เพ่ิมประสิทธิภาพและคุณภาพความ กลยทุ ธท์ ี่ 4 1. มี Infrastructure ศูนย์เทคโนโลยีปลอดภยั การ ส่งเสรมิ การบรหิ าร Infrastructure ท่ี สารสนเทศและการบริหารจัดการการ จดั การการใช้ Infra- ผ่านมาตรฐานความ สอ่ื สาร กรมฯใชโ้ ครงสรา้ งพน้ื ฐาน structure ท่ีเก่ียวขอ้ ง ปลอดภัย และมี ในสังกัดกระทรวง(Infrastructure) ที่ กบั โครงข่ายข้อมูล ปรมิ าณการใชเ้ ฉล่ยี สาธารณสขุ เขตเกี่ยวข้องกับโครงข่าย อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตอ่ เดือนเป็นไปตาม สุขภาพ กระทรวงขอ้ มูล ค้มุ ค่า และปลอดภยั สดั ส่วนท่ีกำ� หนด ICT และกระทรวง และก�ำหนดสดั สว่ น 2. มกี ารปรบั ปรงุ ตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง การใช้งาน Network เปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีโครงสร้าง พ้นื ฐานท่ีสามารถผา่ น มาตรฐานความมัน่ คง เป็น Fault Tolerance ใหม้ ีความเร็วตามท่ี ก�ำหนดยุทธศาสตร์ท่ี 3 สร้างมาตรฐานของระบบข้อมูลสุขภาพ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ ตวั ชี้วัด เป้าหมายยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ Flagship ผู้รับผดิ ชอบ1. เพม่ิ ศักยภาพและสรา้ งความเขา้ กนั ได้ 1. มาตรฐานระบบ กลยทุ ธท์ ี่ 1 มีมาตรฐานโครงสรา้ ง ส�ำนักนโยบายและของระบบ (Interop- ขอ้ มูลสุขภาพสามารถ สรา้ งมาตรฐานระบบ ชดุ ข้อมูล (Individual ยุทธศาสตร์erability) บรู ณาการ แลกเปลยี่ นและเชื่อม ข้อมูลสขุ ภาพท่ี Health Individual ศนู ย์เทคโนโลยีขอ้ มลู สุขภาพที่มีความ โยง (Standards สามารถแลกเปลี่ยน Information) สารสนเทศและการแตกต่างหลากหลาย Standards and และเช่ือมโยง 1 ปี : ประกาศเปน็ สื่อสาร กรมฯ ในใหม้ ีโครงสร้างท่เี ปน็ Interoperability) (Standards and มาตรฐานส�ำหรบั สังกดั กระทรวงมาตรฐานเดยี วกัน กันไดอ้ ยา่ งมี Interoperability) หน่วยงานสาธารณสุข สาธารณสุขการเชื่อมโยงแลก ประสิทธิภาพ กันไดอ้ ย่างมี สงั กัดกระทรวง เขตสุขภาพ กระทรวงเปลยี่ นข้อมูล เพื่อ ประสทิ ธิภาพ สาธารณสุข ICT และกระทรวงรองรบั ขอ้ มูลสุขภาพ • สรา้ งมาตรฐาน 3 ปี : 100% : ตา่ งๆ ที่เก่ยี วขอ้ งและข้อมลู โรคในเชิง โครงสรา้ งชุดข้อมลู 100% : 100% :มหภาค สุขภาพ (Health 100% : 100% ของ Data Structure หน่วยงาน Standard) มาตรฐาน สาธารณสุขสังกดั ระบบรายงาน กระทรวง (Data Presentation สาธารณสขุ ใช้ Standard) มาตรฐาน โครงสรา้ ง ของ Data Items ชุดขอ้ มลู ตาม และ Data Value มาตรฐานทีก่ �ำหนด รวมท้งั หน่วยวัดและ เกณฑ์การวัดท่ชี ัดเจน 5 ปี : ประกาศใช้ มาตรฐานโครงสรา้ ง ชดุ ขอ้ มูล ส�ำหรบั หนว่ ยงานสาธารณสขุ ของประเทศ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

58 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างมาตรฐานของระบบข้อมูลสุขภาพ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ)เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั เป้าหมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผรู้ บั ผิดชอบ 2. กำ� หนดมาตรฐาน มมี าตรฐานรปู แบบ ศูนยเ์ ทคโนโลยี การแลกเปลย่ี น การแลกเปลี่ยนขอ้ มลู สารสนเทศและการ ข้อมลู สขุ ภาพ (Data สุขภาพทม่ี ีความ สือ่ สาร ส�ำนกั นโยบาย Interchange Stand- ปลอดภยั และยทุ ธศาสตร์ ards in Healthcare 1 ปี : ประกาศเป็น กรมฯ ในสงั กัด IT - Computable มาตรฐานส�ำหรบั กระทรวงสาธารณสุข Interoperability) หน่วยงานสาธารณสขุ เขตสุขภาพ สงั กัดกระทรวง กระทรวง ICT สาธารณสุข และกระทรวงต่างๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 3 ปี : 100% : 100% : 100% : 100% : 100% ของ หนว่ ยงานสาธารณสขุ สังกดั กระทรวง สาธารณสขุ ใชเ้ คร่อื ง มอื แลกเปลีย่ นข้อมูล สขุ ภาพตามมาตรฐาน ที่กำ� หนด 5 ปี : ประกาศใช้ มาตรฐานรูปแบบใน การแลกเปลย่ี นข้อมลู สขุ ภาพ อย่างมคี วาม ปลอดภยั สำ� หรับหน่วย งานสาธารณสุขของ ประเทศ 3. สร้างมาตรฐาน ศูนย์เทคโนโลยี เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชเ้ ช่ือมโยง สารสนเทศและการ และแลกเปลีย่ นชุด สอ่ื สาร สำ� นักนโยบาย ข้อมูลสขุ ภาพ และยทุ ธศาสตร์ (Standards and กรมฯ ในสงั กดั interoperability) กระทรวงสาธารณสขุ ในสถานบรกิ าร เขตสุขภาพ กระทรวง สาธารณสขุ ทกุ ระดบั ICT และกระทรวง ต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 59ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างมาตรฐานของระบบข้อมูลสุขภาพ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ)เปา้ ประสงค์ ตวั ช้วี ดั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ Flagship ผ้รู บั ผิดชอบ2. ลดความซ�้ำซอ้ น มคี ลงั ข้อมูลสุขภาพ 1. มคี ลังขอ้ มลู สุขภาพ กลยุทธ์ท่ี 2 มีคลงั ขอ้ มูลสขุ ภาพ ส�ำนกั นโยบายและของระบบบริหาร ตาม มาตรฐานรปู ตามมาตรฐานรปู แบบ พัฒนาคลงั ข้อมลู ตาม มาตรฐานรปู ยุทธศาสตร์ ศูนย์จดั การคลงั ข้อมูลใน แบบในการ แลก ในการแลกเปลยี่ น สุขภาพ แบบในการแลก เทคโนโลยสี ารสนเทศระดับจังหวดั และ เปลีย่ นข้อมูลสุขภาพ ข้อมลู สขุ ภาพอยา่ งมี เปล่ียนขอ้ มูลสขุ ภาพ และการส่อื สาร กรมฯสว่ นกลาง (โดยการ อยา่ งมคี วามปลอดภยั ความปลอดภัย 1. พัฒนาคลังขอ้ มูล อยา่ งมีความปลอดภัย ในสังกดั กระทรวงรวบรวมและจัดการ ในระดับจังหวดั (รวม สขุ ภาพตามมาตรฐาน สาธารณสุข เขตขอ้ มูลจากแหล่งต่างๆ ข้อมูลของหนว่ ยงาน รูปแบบในการแลก 1 ปี : ระดบั จงั หวัด สุขภาพ กระทรวงที่มคี วามซ้าซ้อน สาธารณสขุ สงั กดั เปลย่ี นข้อมลู สขุ ภาพ (รวมข้อมลู ของหน่วย มหาดไทยกระทรวงและแตกต่างใหเ้ ปน็ กระทรวงสาธารณสขุ ) อย่างมีความปลอดภยั งานสาธารณสุขสังกดั ICT และกระทรวงระบบเดยี วท่ีมคี วาม ภายในปี 2559 • ก�ำหนดรูปแบบการ กระทรวงสาธารณสขุ ) ต่างๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งครบถ้วน ครอบคลุม บริหารจัดการคลงัสามารถเขา้ ถึงและใช้ ขอ้ มลู ในระบบบริการ 3 ปี : ระดบั เขตประโยชนร์ ว่ มกันได้ สขุ ภาพ (Big Data สขุ ภาพ (รวมขอ้ มลูอย่างสะดวก มรี ะบบ Management in ของหน่วยงานรกั ษาความปลอดภัย Healthcare System) สาธารณสขุ ภาครัฐทกุของข้อมูล) ใหม้ ีความเหมาะสม แห่ง) กบั หน่วยงานในแตล่ ะ ระดบั 5 ปี : ระดับ • พฒั นาระบบสง่ ต่อท่ี กระทรวง (รวม ไร้รอยตอ่ (สอดคลอ้ ง ขอ้ มลู ของหนว่ ยงาน กบั แผนพฒั นาสขุ ภาพ สาธารณสขุ ภาครัฐ แห่งชาติ ฉบับท่ี 11) และภาคเอกชน) ใหม้ กี ารแลกเปลยี่ น ขอ้ มูลการแพทย์ 10 ปี : ระดับประเทศ เพอื่ การสง่ ตอ่ ผปู้ ่วย (Medical Record Exchange) ท้งั แบบ ผู้ป่วยทว่ั ไปและเร่ง ด่วน ระหวา่ งสถาน บรกิ ารทุกระดบั เพื่อ ใหผ้ ูป้ ่วยสามารถไป รบั บริการจากสถาน บรกิ ารใดก็ได้ • สรา้ งเสริมความเขม้ แข็งของระบบข้อมูล ขา่ วสารด้านยาและ เวชภณั ฑแ์ ละระบบ ขนสง่ (Logistics) • พัฒนาระบบข้อมูล สขุ ภาพสว่ นบคุ คล (Personal Health record: PHR ) (MOU กับ กระทรวงมหาดไทย) กลยทุ ธท์ ี่ 3 สำ� นักนโยบายและ พฒั นามาตรฐาน ยุทธศาสตร์ ความปลอดภยั ข้อมลู ศูนยเ์ ทคโนโลยี สุขภาพ สารสนเทศและการ ส่ือสาร กรมฯ ในสังกัด กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพ กระทรวง ICT และ กระทรวงต่างๆ ท่ี เกย่ี วข้อง eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

60 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างมาตรฐานของระบบข้อมูลสุขภาพ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพ (ต่อ)เปา้ ประสงค์ ตัวชว้ี ดั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผ้รู ับผิดชอบ กลยุทธท์ ่ี 4 1. พัฒนาระบบดัชนีช้ี สำ� นกั นโยบายและ พฒั นาระบบดัชนีช้ี วัดและระบบตดิ ตาม ยทุ ธศาสตร์ วัดและระบบติดตาม ประเมนิ ผลระบบ ศูนย์เทคโนโลยี ประเมนิ ผลระบบ สขุ ภาพ สารสนเทศและการ สุขภาพ สอ่ื สาร 1. พัฒนาระบบดัชนี กรมฯ ในสงั กดั ช้ีวดั ดา้ นสขุ ภาพและ กระทรวงสาธารณสุข ระบบตดิ ตามประเมิน เขตสขุ ภาพ ผลด้านสขุ ภาพ เชน่ กระทรวง ICT และ การตดิ ตามโรคเรอ้ื รงั กระทรวงต่างๆ ท่ี การเฝ้าระวงั โรค เกีย่ วข้อง เฝ้าระวังปญั หาทาง ศูนย์เทคโนโลยี สขุ ภาพจิต สารสนเทศและการ 2. พฒั นาเครือ่ งมือ สอ่ื สาร ช่วยในการนำ� เสนอ กรมฯ ในสงั กัด ข้อมลู ในรูปแบบต่างๆ กระทรวงสาธารณสขุ ได้แก่ แผนภูมแิ ผนท่ี เขตสุขภาพ (GIS) แผนภาพ ซ่ึง กระทรวง ICT สามารถน�ำเสนอ กระทรวงยตุ ธิ รรม ขอ้ มลู ไดบ้ นเครอื ขา่ ย กระทรวงมหาดไทย อินเทอรเ์ น็ต เพอ่ื ใหส้ ามารถติดตาม ประเมนิ ผลและน�ำ ข้อมูลไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการ บริการและการ วางแผนพัฒนา 3.พัฒนาระบบ วเิ คราะห์ข้อมูลบน อนิ เทอรเ์ น็ต โดยผู้ใช้สามารถเลือก ตัวแปรในการแสดง ขอ้ มลู และรูปแบบใน การนำ� เสนอข้อมลู ได้ อยา่ งอิสระ 3.พฒั นาระบบ วิเคราะหข์ ้อมูลบน อินเทอร์เน็ต โดยผ้ใู ชส้ ามารถเลอื ก ตวั แปรในการแสดง ขอ้ มลู และรูปแบบใน การน�ำเสนอขอ้ มลู ได้ อย่างอิสระ**ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ขับเคลอื่ นและพฒั นานวัตกรรม ระบบบรกิ ารและโปรแกรมประยกุ ตด์ า้ น eHealth ที่เป็นประโยชนต์ ่อระบบบริการสุขภาพ (health care servicedelivery)และประชาชน รวมทงั้ มกี ารคมุ้ ครองทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 61ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างมาตรฐานของระบบข้อมูลสุขภาพ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ) เปา้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ดั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ Flagship ผรู้ ับผดิ ชอบ1. เพ่มิ ประสิทธิภาพการพัฒนาและน�ำนวัตกรรม กลยุทธ์ท่ี 5 2. พัฒนาระบบ สบรส.เทคโนโลยีดจิ ิตอล มา พัฒนาระบบ สารสนเทศในการ ส�ำนกั นโยบายและเปน็ เคร่ืองมือในการขบั สารสนเทศในการ ตดิ ตามและเฝ้าระวัง ยทุ ธศาสตร์เคลอื่ นดา้ น eHealth ติดตามและเฝ้าระวังภัย ภยั สขุ ภาพเพอ่ื ใช้ใน ศนู ย์เทคโนโลยี สุขภาพ ภาวะฉุกเฉนิ รับมือกบั สารสนเทศและการ 1. พฒั นาระบบ วิกฤตโรคระบาด รวม สอ่ื สาร กรมฯ ในสงั กัด สารสนเทศในการ ถึงโรคทเี่ กดิ จากภัยพิบตั ิ กระทรวงสาธารณสุข ตดิ ตามและเฝ้าระวงั ภยั ทางธรรมชาติ ข้อมลู มี เขตสขุ ภาพ กระทรวง สุขภาพ ประสิทธภิ าพ สามารถ ICT กระทรวงยุติธรรม 1.1 พัฒนาระบบตดิ ตาม แจง้ ผลประกอบการ กระทรวงมหาดไทย เฝ้าระวงั ภัยสุขภาพ ตัดสินใจใหแ้ กผ่ ู้บรหิ าร • พัฒนาระบบ SHOC กระทรวงสาธารณสขุ (Strategic Health ในภาวะฉุกเฉินได้อยา่ ง Operation Center) ทันท่วงที เพือ่ ใช้ในภาวะฉุกเฉิน รบั มือกบั วิกฤตโรค ระบาด รวมถงึ โรคท่ี เกดิ จากภยั พิบตั ทิ าง ธรรมชาติ ข้อมลู มี ประสิทธิภาพ สามารถ แจ้งผลประกอบการ ตัดสนิ ใจให้แก่ผบู้ รหิ าร กระทรวงสาธารณสุขใน ภาวะฉุกเฉินไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที และประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทางภมู ิศาสตร์ (GIS) ในการติดตามเฝ้าระวงั และรายงานดา้ นภยั สขุ ภาพ 1.2 พฒั นาระบบแจง้ เตือนภัยด้านสุขภาพ และส่ือสารผ่านชอ่ งทาง ต่างๆ ระบบบรกิ ารสุขภาพ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ศูนยเ์ ทคโนโลยี (Health care service เพม่ิ ประสิทธิภาพการ สารสนเทศและการ delivery) มี บริหารจัดการระบบ สือ่ สาร กรมฯ ในสงั กัด ประสิทธิภาพยิ่งขนึ้ เทคโนโลยสี ารสนเทศใน กระทรวงสาธารณสุข ประชาชนสามารถ การขับเคลื่อน eHealth เขตสุขภาพ เข้าถึงบริการได้อยา่ ง ดา้ น Process Soft- กระทรวง ICT สะดวก รวดเร็ว ได้รบั ware Hardware และ กระทรวงยตุ ิธรรม บรกิ ารอยา่ งต่อเนอ่ื งและ Peopleware กระทรวงมหาดไทย ปลอดภัย • ทำ� Road map ของการพัฒนาไปสู่ มาตรฐาน health care service delivery • นำ� เทคโนโลยี Digital Health และ Smart Device เข้ามาใช้ใน การให้บรกิ ารผู้ป่วย เพือ่ เพิ่มประสิทธภิ าพ ในการรักษาพยาบาล เช่น mHealth และ TeleHealth**ยุทธศาสตร์น้ีมงุ่ เนน้ การพัฒนาระบบบรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐาน โดยการนำ� เอานวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจติ อลเข้ามาใช้เพ่ือตอบสนองตอ่ ความต้องการตามปัญหาสุขภาพ และส่งเสริมความสัมพนั ธท์ ด่ี ีระหวา่ งผใู้ หแ้ ละผู้รบั บริการ รวมทงั้ ค�ำนึงถึงการพฒั นาระบบสง่ ตอ่ ท่ีไร้รอยตอ่ (ตอบสนองยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาสุขภาพตามแผนการยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสขุ ภาพ ฉบับที่ 11) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

62 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ขบั เคล่อื นและพฒั นานวัตกรรม ระบบบรกิ ารและโปรแกรมประยกุ ต์ดา้ น eHealth ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ระบบบรกิ ารสุขภาพ (health care service delivery) และประชาชน รวมทั้งมีการค้มุ ครองทรพั ยส์ ินทางปัญญา เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ดั เปา้ หมายยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผ้รู บั ผิดชอบ2. มโี ครงการตน้ แบบท่ี ศูนย์เทคโนโลยีใชเ้ ทคโนโลยดี ิจติ อล กลยุทธ์ท่ี 2 สารสนเทศและการเปน็ กลไกในการขบั สนับสนนุ และประสาน สือ่ สารเคล่อื น eHealth ทมี่ ี ความร่วมมอื ในการวจิ ยั กรมฯ ในสงั กัดประสิทธภิ าพ และพัฒนานวตั กรรม กระทรวงสาธารณสุข ด้านเทคโนโลยี เขตสุขภาพ สารสนเทศสุขภาพใน กระทรวง ICT การให้บริการสุขภาพ กระทรวงยุติธรรม แก่ประชาชนตามองค์ กระทรวงมหาดไทย ประกอบการบริหาร จดั การดา้ น eHealth (หมายเหตุ : ตาม ตารางท่ี 4-2 องค์ ประกอบการบริหาร จัดการด้าน eHealth หนา้ 38)ยุทธศาสตร์ที่ 5 ผลักดันการใช้กฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติและมาตรฐานท่ีเหมาะสมเพื่อสนับสนุนการใช้ ICT ในระบบสุขภาพเปา้ ประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผรู้ บั ผดิ ชอบ ระดบั ความสำ� เร็จในการ กลยุทธท์ ่ี 1 กลุ่มกฎหมาย ส�ำนกั งาน ก�ำหนดนโยบายและ สร้างสภาพแวดลอ้ มทาง ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใช้กฎหมายกบั กฎหมายและการบงั คับ ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกุ หนว่ ยงาน เพ่ือให้ ใช้กฎหมายดา้ น eHealth และการสื่อสาร สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ เพอื่ ให้เกดิ ความครอบคลุม กรมฯ ในสงั กดั กระทรวง ดา้ นระบบเทคโนโลยี และประกาศใช้นโยบาย สาธารณสขุ สารสนเทศสุขภาพ เขตสขุ ภาพ (eHealth) กระทรวง ICT กระทรวงยุตธิ รรม กลยทุ ธ์ที่ 2 กระทรวงตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง สนบั สนนุ การออก กฎหมาย ขอ้ กำ� หนด กลุ่มกฎหมาย สำ� นกั งาน กฎ ระเบยี บ หลักเกณฑ์ ปลดั กระทรวงสาธารณสุข แนวปฏบิ ัติเพอ่ื ใหเ้ กิด ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ ความปลอดภัย เปน็ ธรรม และการสอ่ื สาร ค้มุ ครองผู้บริโภค และ กรมฯ ในสังกดั กระทรวง บคุ ลากรด้านสาธารณสุข สาธารณสุข และผู้เก่ียวขอ้ งในด้าน เขตสุขภาพ eHealth เชน่ อาจใช้ กระทรวง ICT NASARN MODEL กระทรวงยตุ ธิ รรม การแจง้ สทิ ธิ์ (ผปู้ ฏบิ ตั )ิ , กระทรวงต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง การวดั ระดบั ความสำ� เร็จ ของการได้รับการค้มุ ครอง • พิจารณานโยบายการให้ ขอ้ มูล ในระดบั ชน้ั ความ ลับต่าง ๆ • ออกแนวทางปฏบิ ตั ิ ทช่ี ัดเจนดา้ น eHealth สำ� หรับกระทรวง สาธารณสุข และกระทรวง อืน่ ๆeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 63ยุทธศาสตร์ที่ 5 ผลักดันการใช้กฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติและมาตรฐานที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการใช้ ICT ในระบบสุขภาพ (ต่อ)เปา้ ประสงค์ ตัวช้ีวดั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ Flagship ผู้รบั ผิดชอบ ระดับความส�ำเรจ็ ของ • ออกแบบฟอรม์ ทจ่ี ำ� เป็น กลุ่มกฎหมาย ส�ำนักงาน มาตรฐานการเกบ็ รวบรวม ในการคุม้ ครองความ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล และแลกเปลยี่ น ปลอดภัยด้าน eHealth ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ขอ้ มูลดา้ นสุขภาพในระบบ ส�ำหรับบุคลากรทางการ และการส่ือสาร บริการสุขภาพระหวา่ ง แพทย์และผเู้ ก่ยี วขอ้ ง กรมฯ ในสงั กัดกระทรวง หน่วยงาน ระบบข้อมลู • จดั ทำ� ระดับความ สาธารณสขุ สขุ ภาพ ส�ำเร็จของการไดร้ บั ความ เขตสุขภาพ คมุ้ ครอง (2 มิติ ไดแ้ ก่ กระทรวง ICT ผู้รับบรกิ าร และผ้ใู ห้ กระทรวงยตุ ธิ รรม บริการ) โดยมกี ิจกรรม กระทรวงต่างๆ ทเี่ กีย่ วข้อง เช่น กิจกรรมผใู้ หบ้ รกิ าร กลุ่มกฎหมาย ส�ำนักงาน 1. ก�ำหนดนโยบายและ ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กำ� หนดประเภทของผรู้ บั ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ บรกิ าร และการส่ือสาร 2. ผรู้ ับผดิ ชอบต้องรับรู้ กรมฯ ในสังกดั กระทรวง (โดยการทำ� หนังสอื เรยี น) สาธารณสุข 3. จดั ให้มีช่องทาง เขตสุขภาพ ประชาสัมพันธ์ เชน่ กระทรวง ICT ท�ำปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ กระทรวงยุติธรรม ตดิ หนา้ โรงพยาบาล กระทรวงต่างๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 4. มรี ะบบวดั ผลเป็น ประจำ� (อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดอื น) 5. รายงานผล/สรปุ 6. ทบทวนกระบวนการ (1 ป/ี ครงั้ ) ผูร้ บั บรกิ าร 1. ชอ่ งทางการรับรู้ (App, Website, Call Center, SMS) 2. ความรคู้ วามเขา้ ใจ ของผู้รับบรกิ าร ความ ปลอดภยั ของผู้รบั บริการ • การควบคมุ สื่อ ในการ เผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ น eHealth กลยุทธ์ที่ 3 ทบทวนและพฒั นา มาตรฐานด้าน eHealth ให้มคี วามถกู ต้องและ สอดคล้องรองรับกบั การ ให้บริการสุขภาพท่ีมีการ เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา • ออกมาตรฐานในการจดั เกบ็ ข้อมูลท่ีชัดเจน และ ออกระเบียบหรือแนวทาง การใช้ขอ้ มลู จากระบบ ร่วมกัน • ออกมาตรการทาง กฎหมายการแลกเปล่ียน ขอ้ มูลสขุ ภาพ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

64 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ที่ 5 ผลักดันการใช้กฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติและมาตรฐานที่เหมาะสมเพ่ือสนับสนุนการใช้ ICT ในระบบสุขภาพ (ต่อ)เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ดั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผู้รบั ผิดชอบ • ผลกั ดันใหเ้ กดิ พระราช กลุ่มกฎหมาย ส�ำนกั งาน บญั ญตั ิความปลอดภัยของ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ขอ้ มลู สุขภาพ (Health ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ Information Security และการสอื่ สาร Act) กรมฯ ในสงั กัดกระทรวง • จัดทำ� มาตรฐานการ สาธารณสุข รักษาความปลอดภัยและ เขตสุขภาพ ความเปน็ ส่วนตัวของขอ้ มลู กระทรวง ICT สขุ ภาพ (Security and กระทรวงยตุ ธิ รรม Privacy Standards) กระทรวงต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง กฎเกณฑ์ (Rule) นโยบาย (Policy) แนวทาง (Guideline) และมาตรฐานทางเทคนคิ ที่จ�ำเป็นสำ� หรับการรกั ษา ความปลอดภยั ความ เป็นสว่ นตัวของบุคคลใน ระบบสารสนเทศสุขภาพ มาตรฐานการระบุผู้ปว่ ย ท่ไี มซ่ ้ำ� กัน (Unique Patient Identifier) การระบุผใู้ ห้บรกิ ารและ รายการ บริการทีไ่ มซ้ำ� กนั (Unique Provider Identifier and Services Catalogue) มาตรฐาน ในการจัดเก็บขอ้ มูลต้อง มีความชดั เจน (การเกบ็ ขอ้ มูลเกินอ�ำนาจหนา้ ท่ี เกบ็ ขอ้ มลู เกนิ กวา่ ความ จ�ำเปน็ ข้อมูลที่กระทบต่อ ความรสู้ กึ ผ้ปู ่วย การเปิด เผยขอ้ มูล การ กำ� หนดสทิ ธใ์ิ นการเข้าถงึ ข้อมลู การสง่ ขอ้ มูลผา่ น ชอ่ งทางต่าง ๆ ควรมกี าร เข้ารหสั การออกระเบียบ เพอ่ื คุ้มครอบเจา้ หน้าที่ จดั ท�ำแนวทางปฏิบตั สิ ำ� หรับ เจ้าหน้าท่ี และออก มาตรการบงั คบั ให้หนว่ ย งานในสังกดั ปฏบิ ตั ิตาม)eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 65ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาทุนมนุษย์ด้าน eHealth และเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ด้านการแพทย์และสุขภาพส�ำหรับประชาชนเป้าประสงค์ ตวั ช้วี ดั เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผู้รบั ผดิ ชอบเพม่ิ คุณภาพการพัฒนา แผนกรอบอตั ราก�ำลัง กลยทุ ธท์ ี่ 1 ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศระบบงานบุคลากรใหเ้ ข้ม บุคลากรดา้ น eHealth สร้างระบบการบริหาร และการสอื่ สารแขง็ (โดยสรา้ งวัฒนธรรม ทชี่ ดั เจน และไดร้ บั การ ทรัพยากรบคุ คลด้าน สถาบันพระบรมราชชนกองคก์ ร ยอมรบั จากหนว่ ยงานท่ี eHealth (HRM) กลมุ่ บริหารงานบคุ คลการส่ังการ เก่ียวขอ้ ง • Retain/Recruit กรมฯ ในสงั กัดกระทรวงเจ้าหนา้ ทีบ่ ุคลากร • ตำ� แหน่ง/อัตรารองรบั สาธารณสุขและกระบวนการทำ� งาน ทมี่ ่ันคง/ความก้าวหนา้ ใน เขตสขุ ภาพของบคุ ลากร) สายอาชพี (Career Path) ทบวงมหาวิทยาลัย (มกี ารจัดทำ� ขอ้ เสนอ และ กระทรวงศกึ ษาธิการ บคุ ลากรระดับต่าง ๆ ผลกั ดนั รว่ มกบั อกพ. ในองค์กรตอ้ งไดร้ ับ กระทรวง และ กพ. ใน ศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาความรดู้ ้าน การปรบั ปรงุ กลไกการ และการส่ือสาร eHealth ไม่ต่ำ� กวา่ บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล สถาบันพระบรมราชชนก ร้อยละ XXX ให้เออ้ื ตอ่ การธา้ รงรักษา กลมุ่ บริหารงานบคุ คล (Retain) บคุ ลากรด้าน กรมฯ ในสงั กัดกระทรวง eHealth) สาธารณสุข • รายได้/คา่ ตอบแทน/ เขตสขุ ภาพ incentives ทบวงมหาวทิ ยาลัย • ระบบประเมินผล กระทรวงศึกษาธิการ บุคลากร กลยทุ ธท์ ี่ 2 เพิ่มประสทิ ธิภาพการ พฒั นาทรพั ยากรบุคคล ด้าน eHealth (HRD) • Standard Competencies ของ eHealth Worker - Standard IT eHealth Competencies ของ วชิ าชีพสุขภาพ (User) รว่ มกับสภาวชิ าชีพ และ มหาวิทยาลัย รวมทั้ง มาตรฐานวิชาชพี เทคโนโลยขี นั้ สูงใน ระดับนานาชาติ (Certification) • eHealth Authority ของ ประเทศ • KM CoP ดา้ น eHealth ทเี่ ปน็ ระบบท้ังผู้ปฏบิ ัติ และผบู้ รหิ าร เช่น สร้าง นโยบายด้านการจดั การ ความรู้ โดยสรา้ งเว็บทา่ ขององค์ความร้,ู จดั ทำ� ประวตั ิย่อผ้เู ชี่ยวชาญ, สรา้ งกลไกการแลกเปลี่ยน เรยี นร,ู้ สร้างวัฒนธรรม eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

66 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาทุนมนุษย์ด้าน eHealth และเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ด้านการแพทย์และสุขภาพส�ำหรับประชาชน (ต่อ)เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ัด เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผ้รู บั ผิดชอบ • จำ� นวนโครงการท่ีไดร้ บั และหากระบวนการเพ่ือขบั ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรว่ มมอื เคลอื่ น โดยสร้างให้มีการ และการส่อื สาร • จำ� นวนคน หรือ บริษัท ประสานงาน สถาบันพระบรมราชชนก เอกชนทอ่ี บรมร่วมกนั • การ Engage CIO กลุ่มบริหารงานบคุ คล กรม กอง กบั TMI กรมฯ ในสงั กัดกระทรวง • อบรมด้าน IT/eHealth สาธารณสุข ส�ำหรบั ผู้บรหิ าร เขตสขุ ภาพ (ในหลกั สูตรผูบ้ ริหาร ทบวงมหาวิทยาลยั (ผบต./ผบก./นบส.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ CIO) • การอบรมบุคลากรดา้ น ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ IT ใหม้ ีมาตรฐานคลา้ ย และการส่ือสาร การทำ� งานแบบ HA สถาบันพระบรมราชชนก • ประสานความร่วมมือ กลุ่มบริหารงานบคุ คล กับ TMI และสถาบนั กรมฯ ในสังกดั กระทรวง การศกึ ษา ท้ังในและนอก สาธารณสุข สงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพ ในทกุ หลกั สูตร เพ่อื จัดการ ทบวงมหาวทิ ยาลยั เรยี นการสอนหลกั สูตร กระทรวงศึกษาธกิ าร เกีย่ วกบั eHealth • อบรมภาษาอังกฤษข้ัน พืน้ ฐาน และกฎหมายดา้ น IT ส�ำหรับผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ด้าน eHealth • จัดระบบ Talent Management • จัดท�ำฐานขอ้ มูลบคุ ลากร eHealth ระดับผเู้ ช่ียวชาญ และฐานขอ้ มลู บุคลากรท่ี ปฏบิ ตั ิงานด้าน eHealth ของแต่ละหน่วยงาน กลยทุ ธ์ท่ี 3 สง่ เสรมิ การสรา้ งเครือข่าย ระหวา่ งผพู้ ฒั นาและหรอื ผู้ใช้งานรวมทั้งเอกชนที่ เกยี่ วข้องในดา้ น eHealth • สนบั สนนุ ใหเ้ กิดความ ร่วมมอื ระหวา่ งภาครฐั และ เอกชนในการน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร ดา้ นสขุ ภาพมาใชใ้ นระบบ บรกิ ารสุขภาพ โดยหน่วย งานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ กสธ., สวทช. & NECTEC, SIPA, Software Park, TMI, PReMA • จัดต้ังชมรมผ้พู ฒั นา โปรแกรมระบบงานของ กระทรวงสาธารณสขุ เพ่ือ แลกเปล่ียนความคิดเห็น และร่วมมอื กนั พฒั นา โปรแกรมระบบงานต่างๆ ใชร้ ่วมกนัeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 67ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาทุนมนุษย์ด้าน eHealth และเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ด้านการแพทย์และสุขภาพส�ำหรับประชาชน (ต่อ)เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วดั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ Flagship ผรู้ ับผิดชอบ • มีกลไกสนบั สนนุ ผใู้ ชง้ าน ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ โปรแกรมระบบงาน เช่น และการส่ือสาร การฝกึ อบรม การใหค้ ำ� สถาบนั พระบรมราชชนก แนะน�ำปรึกษาและแกไ้ ข กลมุ่ บริหารงานบุคคล ปัญหาในการใช้งาน กรมฯ ในสงั กดั กระทรวง สาธารณสขุ จำ� นวนบทความ ความรู้ กลยุทธท์ ี่ 4 เขตสุขภาพ ทางการแพทย์ทเ่ี ผยแพร่ สนับสนุนการใหค้ วามรู้ ทบวงมหาวทิ ยาลัย บนเวบ็ ไซต์ และความเขา้ ใจในภาค กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประชาชน • จัดระบบการให้ความ ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ ร้พู ้นื ฐานและสร้าง และการสอื่ สาร ความตระหนักดา้ นการ สถาบันพระบรมราชชนก ดแู ลสขุ ภาพตนเองของ กลุม่ บริหารงานบคุ คล ประชาชน ผา่ น eHealth กรมฯ ในสังกดั กระทรวง ดว้ ยช่องทางที่หลาก สาธารณสขุ หลาย เชน่ Mobile App, เขตสขุ ภาพ Website, โดยน�ำเสนอใน ทบวงมหาวิทยาลยั รูปแบบ Multimedia และ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร Info Graphic • สนบั สนุนการเผยแพร่ ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฐานความรทู้ างการแพทย์ และการส่อื สาร บนเวบ็ ไซต์ (Consumer สถาบันพระบรมราชชนก Health Knowledge กลมุ่ บริหารงานบคุ คล Portal) เพ่ือบรกิ ารความรู้ กรมฯ ในสังกดั กระทรวง ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ สาธารณสุข เขตสขุ ภาพ การป้องกันโรคและ ทบวงมหาวิทยาลัย การรกั ษา พยาบาลของ กระทรวงศึกษาธิการ ประชาชนทุกกล่มุ วัย มกี ารแลกเปลย่ี น ถ่ายทอดความรู้ และ บรหิ ารจดั การเว็บไซต์ ฐานความรตู้ ามมาตรฐาน สรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื ของ ข้อมูล และตรวจสอบ คณุ ภาพของข้อมูลกอ่ น เผยแพร่ • ประสานงานร่วมกับ องคก์ รปกครองส่วนท้อง ถ่ิน และใช้ทรัพยากรร่วม กัน เพอื่ พฒั นางานด้าน eHealth • สร้างเวทกี ารมีสว่ น ร่วมของชมุ ชนในการ จัดการความรูด้ ้านสุขภาพ ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

68 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 69บทที่ 5 : การนำ� ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏบิ ัติผู้นิพนธ์ : กองบรรณาธิการดังทไี่ ดก้ ลา่ วไว้ว่าแนวคิดยทุ ธศาสตร์ eHealth คอื “การพฒั นา ยทุ ธศาสตร์และกลยุทธเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealthประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Strategy) จะถูกน�ำเสนอและกล่ันกรองผ่านความคิดเห็นของ เพื่อปรับปรุงการให้บริการสุขภาพ การบริหารจัดการสุขภาพ ผู้แทนจากภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องในระดับชาติ ซึ่งจะเป็นผู้ร่วมและการสื่อสารดา้ นสขุ ภาพ” ยุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ ผลักดันให้ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ eHealth สามารถน�ำไปสู่สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (2560 - 2564) ท่ไี ดจ้ ัดทำ� ขึ้น การปฏบิ ัติได้จรงินี้ ผ่านกระบวนการสังเคราะห์โดยพิจารณาจากสถานการณ์ปัญหาสถานะสุขภาพของประเทศไทย วิเคราะห์ SWOT ตาม การทจ่ี ะผลกั ดนั ใหย้ ทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศองค์ประกอบของ eHealth และสภาพแวดล้อมของ eHealth สุขภาพใหส้ �ำเร็จ สามารถขบั เคลอื่ นได้ ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ในประเทศไทย สภาพปัญหาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องมีความชัดเจน สามารถสนับสนุนวิสัยทัศน์ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้งระดับ แห่งชาติและสามารถใช้เป็นกรอบแนวทางในการด�ำเนินการที่โลก ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ทั้งได้ผ่านการประชุม ช่วยสนับสนุนความส�ำเร็จ การด�ำเนินการท่ีมีประสิทธิภาพจะระดมสมองจากผู้เช่ียวชาญและบุคลากรด้านสุขภาพและด้าน ตอ้ งขบั เคลอ่ื นใหเ้ ปน็ องคาพยพ โดยมแี นวทางในการปฏบิ ตั ดิ งั น้ีเทคโนโลยสี ารสนเทศในระดบั ต่างๆ5.1 แนวทางการปฏิบัติการ eHealth Action Lines Description Mapped eHealth Components1. การกำ� กบั ดูแล (Governance) การจดั ต้ังคณะกรรมการเพื่อก�ำหนดกลไกการ การกำ� กับดแู ล ทำ� งานร่วมกันอย่างมีประสทิ ธิภาพระหว่างภาค กลยุทธ์2. ฐานราก (Foundations) ส่วนต่างๆ ผ้นู ำ� ให้ความส�ำคญั มีการก�ำกบั ดแู ล การลงทนุ3. การแกป้ ญั หา (eHealth Solutions) ทีด่ ี การกำ� หนดข้อตกลงใน eHealth Agenda ของประเทศ (มีการวาง Alignment รว่ มกนั โดยเริม่ แรกจะต้องให้ผ้บู รหิ ารเห็นความส�ำคญั และมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดทิศทาง eHealth โดยก�ำหนดวิสยั ทศั น์ นโยบายและกลยุทธ์ eHealth จากนั้นจึงคัดเลอื กกลยทุ ธท์ ส่ี ำ� คญั และ จัดทำ� แผนปฏบิ ตั ิการ eHealth ตาม Priority ดำ� เนินการออกมาตรฐานสถาปัตยกรรม โครงสรา้ งพน้ื ฐาน /มาตรฐานและการเชอ่ื ม โครงสรา้ งพน้ื ฐาน มาตรฐานกฎระเบยี บ โยงการท�ำงานระหว่างกัน/ กฎระเบยี บ / และโปรโตคอลส�ำหรับการด�ำเนนิ งานท่ี นโยบายและการปฏบิ ตั ติ ามข้อก�ำหนด มปี ระสิทธภิ าพในการบรกิ าร eHealth กระบวนการดำ� เนนิ งานและการแกป้ ัญหา ด�ำเนนิ การดา้ น PPPs ในการใหบ้ รกิ าร บรกิ ารและแอพพลเิ คช่นั ต่างๆ เทคโนโลยดี จิ ิทัลและเครื่องมือในระบบ สุขภาพ กฏหมาย/ระเบียบและวิธีปฏิบัติ รวมถึงนโยบายทจ่ี ะกำ� หนดแนวทางการ ดำ� เนนิ การเพื่อให้เกดิ ความโปรง่ ใสและเป็น ประโยชน์กับระบบบริการอยา่ งแทจ้ รงิ เพื่อให้ เกิดกระบวนการท�ำงานรว่ มกัน ทง้ั ภาครฐั และ เอกชน Health–Non Health การแก้ปัญหาเพื่อ ให้บรรลุวสิ ัยทัศน์ eHealth eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

70 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569Action Lines Description Mapped eHealth Components ทรัพยากรบุคคล4. การเปลย่ี นแปลงและการยอมรบั การนำ� ไปใช้ กจิ กรรมทจ่ี ะกระตุ้นส่งเสรมิ และก�ำหนดให้(Change and Adoption) ผู้ท่ีเก่ยี วขอ้ ง / ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ตระหนัก ถึงความสำ� คัญของ eHealth เพื่อนำ� มาใช้แก้ ปญั หาไดส้ อดคลอ้ งกับความต้องการ5.2 ระยะของการพฒั นา eHealth ใน 4 ระยะระยะการพัฒนา eHealth ปี รายละเอียด 1 ปี 6 เดอื น นโยบาย eHealth Policy มาตรฐานและการเช่ือมต่อส�ำหรับโครงการ HISระยะท่ี 1 ระยะสนั้ โครงการน�ำร่องในด้านข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล (Personal Health Record)การลงทนุ และสร้าง ระยะกลาง 5 ปี การส่งมอบบริการสุขภาพและบริการสาธารณะฐานรากในการพัฒนาeHealth 10 ปี การปรบั เปลย่ี นและปฏิรูประบบสขุ ภาพในการด�ำเนนิ การ eHealthระยะท่ี 2 อย่างครอบคลุมในด้านตา่ งๆ ดังน้ีeHealth : Inclusion 1. eHealth foundationsทุกภาคสว่ นของ 2. Legal frameworks for eHealthประเทศไทยมสี ว่ น 3. Telehealthร่วม ในการดำ� เนินงาน 4. Electronic health recordseHealth 5. Use of eLearning in health sciences 6. mHealthระยะท่ี 3 ระยะยาว 7. Social mediaeHealth ระยะตอ่ เนอื่ ง 8. Big dataTransformation และมั่นคง ประเทศไทยขับเคลื่อนระบบสุขภาพโดยการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดิจิทัลประเทศไทยก้าวสู่ ได้อย่างเต็มศักยภาพ เป็น Smart Health Care ที่ทันสมัยก้าวทันต่อการeHealth ท่ขี ับเคลอื่ น ปฏิรูปการให้บริการสุขภาพโดยน�ำ Disruptive technology มาใช้อย่างเต็มระบบสุขภาพโดยการ ความสามารถ ส่งผลทางบวกต่อเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข เพ่ิมมูลค่าให้กับใช้ประโยชน์จาก อตุ สาหกรรมด้านสุขภาพนวัตกรรมดจิ ทิ ลั ได้อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ 10 – 20 ปี การปรับปรุง การบริหารจัดการ การก�ำกับติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเน่ืองระยะที่ 4 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้น (Improve health) ได้รับการตอบสนองความeHealth Leadership ต้องการ (Responsiveness) ได้รับการคุ้มครองความเส่ียงทางด้านสังคมและประเทศไทยอยใู่ นกล่มุ การเงิน ไม่ล้มละลายจากค่ารักษาพยาบาล (Social and Risk protection)ประเทศท่มี ีการพัฒนา และเพ่ิมประสิทธิภาพ (Improved efficiency) สง่ ผลต่อการพฒั นาท่ยี ่ังยนืทางดา้ นสขุ ภาพโดยสามารถใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สรา้ งมูลคา่เพิม่ ทางเศรษฐกจิ ในระบบสาธารณสขุ และประชาชนมีคุณภาพชีวติ ทด่ี ีeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 715.3 เป้าหมายการด�ำเนนิ การ eHealth Targets ในระยะ 1 ปี 6 เดอื นระยะ ช่วงเวลา รายละเอยี ด1 ระยะสัน้ 2016 - 2017 นโยบาย eHealth Policy มาตรฐานและการเชือ่ มตอ่ ส�ำหรับโครงการ HIS โครงการนำ� รอ่ งในดา้ นขอ้ มลู สขุ ภาพสว่ นบคุ คล (Personal Health Record) การส่งมอบบริการสุขภาพและบรกิ ารสาธารณะการบรหิ ารกำ� กับดูแล (Governance)ลงนามความรว่ มมือระหว่างกระทรวงสาธารณสขุ กบั กระทรวงและกรมต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้อง ท�ำบนั ทึกขอ้ ตกลงเชิงเทคโนโลยใี นการจดั ตั้งคณะกรรมาธิการและคณะทำ� งาน eHealth ด้านเทคนิค : เพ่ือใหเ้ กดิ การท�ำงานรว่ มกัน, มกี ารติดตามการดำ� เนินการและตรวจสอบการพฒั นาการจัดท�ำกรอบยุทธศาสตร์ แผนงาน โปรแกรม และ/หรอื โครงการ eHealth ของประเทศทบี่ รรจุไว้ในแผนคณะท�ำงานดา้ นข้อมูลสุขภาพระดับชาติ นโยบายและการด�ำเนนิ งานดา้ นข้อมูลสุขภาพ กระบวนการและแนวทางในการดำ� เนินงาน• ทบทวน ประเมินและจัดทำ� ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา National Health Data Dictionary• จดั ตง้ั คณะกรรมการดา้ นขอ้ มลู สขุ ภาพระดบั ชาติ เพอื่ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ มาตรฐานขอ้ มลู สขุ ภาพระดบั ชาตแิ ละแนวทางการดำ� เนนิ งานสำ� หรบั มาตรฐานการเช่อื มโยงและแลกเปลย่ี นข้อมลู eHealth• พัฒนากลไกทั้งด้านนโยบายและกฎหมายเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพอิเล็คทรอนิกส์และมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ รวมถึง สนับสนุนให้เกิดการใช้งานและปฏิบัติตามมาตรฐาน เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูลกันท้ังในส่วนของรัฐและเอกชน โดยค�ำนึงถึงการ รกั ษาความเปน็ ส่วนตัวข้อมลู ทางคลินกิ• วาง Roadmap การดำ� เนนิ การใหเ้ กดิ ระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นสขุ ภาพและมาตรฐานขอ้ มลู สขุ ภาพทงั้ ในระดบั ประเทศและในระดบั ทอ้ งถน่ิ• การบูรณาการระบบข้อมลู สขุ ภาพและการแลกเปล่ียนข้อมูล (Integration & Exchange of Health Information)ร่างมาตรฐานข้อมูลด้านข้อมูลแห่งชาติเพื่อการรายงานข้อมูลสุขภาพแห่งชาติและนโยบายการด�ำเนินงานข้ันตอนและ / หรือแนวทางการดำ� เนนิ การ: บรกิ าร Telehealth แห่งชาติการวางฐานราก eHealth ต่างๆ ได้แก่ การก�ำกบั ดูแลและการร่างกฎหมาย สถาปัตยกรรมองคก์ ร eHealth ชดุ ขอ้ มูลพ้ืนฐาน(Minimum Data Sets) ส�ำหรบั การแลกเปล่ียนขอ้ มลู สุขภาพ โครงสร้างพื้นฐานการด�ำเนินงาน • การเช่อื มตอ่ คลงั ขอ้ มูล (Data Warehouse Connectivity) • โครงสรา้ งพนื้ ฐานของฐานข้อมลู (Database Infrastructure) • โครงสร้างพื้นฐานในช้ันการทำ� งานรว่ มกันระหวา่ งระบบ (Interoperability Layer Infrastructure)การแกป้ ญั หา eHealth โครงการน�ำรอ่ งในดา้ น Personal Health Record, Health Care Delivery และโครงการน�ำรอ่ งระยะท่ี 1 เช่น Telemedicine, mHealth การพฒั นาและดำ� เนินการแลกเปลยี่ นข้อมลู สขุ ภาพระยะท่ี 1 (โดยสามารถระบุแหลง่ น�ำร่องได้) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

72 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 25695.4 แนวทางในการบรหิ ารก�ำกบั ดแู ล eHealth (eHealth Governance)การบริหารก�ำกับดูแล eHealth เป็นสงิ่ จ�ำเป็นท่จี ะตอ้ งใหค้ วาม การด�ำเนินงานร่วมกัน รวมถึงการสร้างความสามารถของสำ� คัญ โดยเฉพาะการยอมรบั eHealth ของบุคลากรในทุกภาค บุคลากรในการพัฒนากรอบการปฏิบัติงานด้านความเป็นส่วนส่วนที่เก่ียวข้อง หลังจากท่ีได้รับการยอมรับและเข้าใจในความ ตวั และความปลอดภยั การมกี รอบมาตรฐานและการรบั รองการหมายในประโยชน์ของ eHealth แล้วจะเกิดการแลกเปล่ียน ท�ำงาน จะน�ำไปสู่การพัฒนาบุคคลและผลลัพธ์ด้านสุขภาพของFigure 5.4 eHealth Governanceเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ และช่วยส่งเสริมให้มีการด�ำเนินการท่ีดี ประชาชน เกิดความโปร่งใสและประสิทธิภาพในการปรับปรุงขน้ึ เขตบรกิ ารสุขภาพทงั้ 12 เขต จะเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำ� คญั ความสามารถในเรียนรู้และการให้บริการสุขภาพ ทั้งนี้การวิจัยในภาคกระทรวงสาธารณสุข การฝึกอบรมด้าน eHealth จะ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ eHealth เป็นส่ิงที่ควรให้ความส�ำคัญช่วยให้บุคลากรน�ำความรู้ไปปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพ เนอ่ื งจากแนวโนม้ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งการด�ำเนินงานได้ อย่างไรก็ดี งบประมาณและการลงทุนด้าน รวดเร็ว การวิจัยและศึกษาด้าน eHealth จะเป็นประโยชน์ต่อeHealth เปน็ สงิ่ ส�ำคัญที่ภาครฐั และเอกชน ต้องก�ำหนดบทบาท การพัฒนาอย่างยั่งยืน Region 1-12 Governance Improve individual and Workforce training population health outcomes Adoption of eHealth Increase transparency and eHealth funding E ciency Improve ability to Capability Building Meaningful use study and improve care delivery of eHealth Privacy and security framework Exchange of health Standards andcerti cation framework Research to enhance eHealth ภาพท่ี 11 eHealth Governanceจากระยะของการพัฒนา eHealth ใน 4 ระยะ ขณะนไี้ ดด้ ำ� เนนิ การพัฒนายุทธศาสตร์ eHealth ให้สามารถขับเคลื่อนได้อย่างการในระยะที่ 1 โดยการออกนโยบาย eHealth รวมถงึ การสรา้ ง เป็นองคาพยพ ควรมีการเตรียมพร้อมในการเปลี่ยนแปลงและมาตรฐานและการเชอื่ มตอ่ ขอ้ มลู สขุ ภาพ มกี ารดำ� เนนิ โครงการ ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มแหง่ การเปลยี่ นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขนึ้น�ำร่องในด้านข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล (Personal Health ดว้ ยการบรหิ ารจดั การ ทด่ี ที ง้ั การวางแผนกำ� ลงั คน การวางแผนRecord) และการพฒั นานวตั กรรมการสง่ มอบบรกิ ารสขุ ภาพ งบประมาณ ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและภาคส่วนการด�ำเนินการ eHealth ให้ประสบความส�ำเร็จนั้น จะต้อง ต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน ซึ่งควรขับเคล่ือนองค์ประกอบในน�ำนโยบายไปสู่การปฏิบัติโดยจัดท�ำ eHealth Action Plan แต่ละส่วนไปพร้อมๆ กนั(การจัดทำ� แผนปฏิบัตกิ ารระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว) จากนั้นจะต้องมีตดิ ตามและประเมินผลงานอย่างต่อเนอื่ ง (eHealthMonitoring and Evaluation)eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 735.5 วงจรแหง่ การเปลยี่ นแปลภงาeพHeทa่ีlt1h3(eHeeaHltheTarlathnsfTorrmanatsiofno)rmationวงจรแห่งการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบจะเกิดข้ึนกับบุคลากร มือในการด�ำเนินการ มีการติดตามวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานด้าน IT และประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การสร้างการ รวมทั้งปรับปรุงและแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้วยกันอย่างต่อเน่ือง จะมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน eHealth กับทุกภาคส่วน โดย ชว่ ยใหก้ ารปรบั เปลยี่ นระบบการท�ำงาน eHealth เป็นไปอย่างมีการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ระบุโอกาสในความท้าทายท่ีมีในระบบ ประสิทธภิ าพ ดังรายละเอียดในแผนภาพท่ี 5.2สุขภาพ รวมทั้งร่วมออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ความร่วม eHealth Transformation สราŒ งวงจรแห‹งการเปล่ยี นแปลงและผลกระทบสราŒ งการมสี ‹วนรว‹ ม ออกแบบและทาํ ใหŒสาํ เรจ็ ปรับปรุงอยา‹ งต‹อเน่อื งและเรียนรูŒ 1 2 3 45 6 7 8กรอบการ สรางการ สรา งความ ระบุวธิ ีการ รวมออกแบบ เรม่ิ ติดตามและ ปรับปรงุ และมีสว นรวม มีสว นรว ม และโอกาส วธิ ีการแกป ญ หา ดําเนนิ การ วิเคราะหผลการ แลกเปลย่ี นเรียนรู กับผูมีสว นได เขาใจ ในการเปลย่ี นแปลง และสรา ง ตามแผน ดาํ เนินการ อยา งตอเน่ือง สวนเสยี และมวี สิ ัยทศั น และผลกระทบ ความรวมมอื รวมกัน แผนภาพท่ี 5.2 eHealth Transformationกลยทุ ธจ์ ะไดร้ บั ความตระหนกั และจะสง่ ผลเชงิ ประจกั ษก์ ต็ อ่ เมอ่ื ท�ำไมเราถงึ ต้องทำ� โครงการ/กิจกรรมน้ี ท�ำไปเพอ่ื อะไร มีความมีการนำ� กลยทุ ธไ์ ปสู่การปฏิบัติโดยจัดท�ำเป็นโครงการและแผน จำ� เปน็ อยา่ งไรและประโยชนท์ จี่ ะไดค้ อื อะไร) โดยทจ่ี ะตอ้ งมนั่ ใจปฏบิ ัตกิ าร กิจกรรม ตวั ชีว้ ัด มกี ารติดตาม ประเมินผลโดยการ วา่ โครงการทจ่ี ะดำ� เนนิ การนนั้ อยภู่ ายใตย้ ทุ ธศาสตรแ์ ละขอบเขตใชเ้ ครอื่ งมอื ทเี่ หมาะสม โดยผเู้ ลน่ แตล่ ะคน (Individual Player) กลยุทธ์ทก่ี ำ� หนดได้แก่ กรม/กอง/เขต/จังหวัด สามารถน�ำเอากลยุทธ์ไปแปลงให้เกิดเป็นโครงการ (การด�ำเนินการใดๆ อย่าลืมตั้งค�ำถามว่า eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

á¼นÀา¾·Õè 5.3 µÇั ÍÂา‹ ง eHealth Strategic Work Streams74 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 Inform health policy & Health service planning improve access to care E ciency, productivity, cost-e ectiveness Policy,legislation and ComplianceLaws, Policies, Citizen Protection Equality Capability Building Insurances National health Interoperability identi er health data Strategy and Investment Human Resources Education and training Strategic Planning eHealth Capacity Building Sustained Financing Fund Management eHealth Solution (Services &Applications)Health Information Delivery Services Health InformationSources Telehealth Services Electronic Consultant (Referrals, Prescriptions,Health Reports Public Services: mHealth Test Orders and Results,Research Electronic Claims Systems Health Pro le, Demographics,Health Knowledge Portals DSS for Medication Care Plans, Others)Electronic Health Records Disease Management Provider Services : EMR/EHR Knowledge Services: eLearning Standard and InteroperabilityData Messaging Terminologie Software Certi cation Research and Development แผนภาพท่ี 5.3 ตวั อย่าInงfreaHsetraultchtuSrterategic Work Streams Connectivity Storage Security Standards ComputingeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 75แeHละeลalดthควจาะมชเF่วสยย่ีiใgงหในก้uการrาบรeใรหิหr5บ้ าoรร.ิกจ7aัดาdรกAามmรnกีเทาคaรeวโpนาxงโลa(Rยpomีสaาhdรmpสaนalpsเeทeทศี่เoแsหลมfะoากeะfาสรHมiสmอ่ื eชสดัาapรเจมllนtคีehวmามiเmหeมnาpะtสlaมetmยiกoรenะดn)บั tคaุณtภiาoพ nเพิม่ ประสิทธภิ าพแผนภาพท่ี 5.4 ดา้ นลา่ งนี้ เป็นตัวอยา่ งการวาง eHealth Implementation Roadmap เพือ่ เปน็ แผนทน่ี ำ� ทางในการน�ำ eHealthไปสจู่ ุดหมายEstablish Enterprise Identify Service National Health Information Management Enable Independent Single PointArchitecture integration Center/Big data management of Contact for access to information possibilities and • Create a Metadata Repository and and Services ex. Delivery ServicesEstablish Interoperability Develop Business electronic ConsultantFramework Process Techniques a Data WarehouseIntegration & Exchange • Health Reports & Research / Integrate Service Delivery andof Health Information Telemedicine/ Governmental Processes ex. eClims mHealth/Referral Health knowledge Portals systems/DSS for Medication/EHR Standard system Disease Management Medical Services Medical SupplyHealth Information Drug Human ResourceSystems Interoperability FinanceHealth InformationStandards Citizen Protection Health Care Logistics Customize Information and Services needs of individuals and businessesDeploy Common and Create Disaster Education and Health Care via wirelessSpeci c Applications - Recovery Sites Training Individual electronic>HDC/Shoc programmes health Information (PHR)/ Personalized medicineGovernance and Legalframework Build Data Center, Infrastructure for Communications, Server, IPv6, Clound computing, Middleware, Security, KnowledgeChange Management and Capacity BuildingPhase 1 Phase 2 Phase 3 Phase 4 Phase 52 Years 3 Years 4 Years 3 Years 3 Yearsแผนภาพท่ี 5.4 ตวั อย่าง eHealth Implementation Roadmap (A Phases of Implementation) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

76 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 77บทท่ี 6: การดำ� เนินงาน eHealth ทสี่ อดคล้องกบัยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านสาธารณสุข และแผนพัฒนาดจิ ิทลั เพอ่ืเศรษฐกิจและสงั คมผนู้ พิ นธ์ : ผศ.(พเิ ศษ) นพ.พลวรรธน์ วิทรู กลชิตการด�ำเนินยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุข ให้บรรลุเป้าหมาย (Goal) ท่ีกำ� หนดไว้คือ ประชาชนมีสขุ ภาพทด่ี ขี ้ึนจากการเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์จาก eHealth อยา่ งย่งั ยืน ชมุ ชนทอ้ งถ่ินและภาคีเครอื ข่ายได้รับปºระ·โ·ยชÕè น6์จาก eHealth โดยมีพันธกิจ (Mission) ในการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การด�ำเนนิ งานเeพHื่อeสal่ÂงthเØ·สขร¸อิมÈงคปÒุณรÊะภµเาทÃพศ¤ชทีวÇม่ี ิตÒปี ขÁรอะàงส»ปทิ š¹รธะภิàชÅาาพÔÈชนแ4ใลหะ้ดก´ีขาŒÒร้ึนเ¹ปทน็ ั้ง(ศห4นู มยดEก์ นลxี้เาcพงeก่ือlาขleรับปnเรคcะลeสื่อsาน)นภคาวรากมิจรดว่ ม้านมสอื าภธาาครเี คณรสอื ุขขใา่ หย้บในรกรลารุวขิสบััยเทคัศลนอ่ื น์ “กปารระใชเท้ eศHไeทaยltมhีeHealth ที่เข้มแข็ง มปี ระสทิ ธิภาพ เป็นธรรม เพือ่ ประชาชนมีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีในปี 2020”สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข โดยศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ไดว้ ิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งเช่ือมโยงระหวา่ งยุทธศาสตร์ eHealth กับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และแผนพัฒนาดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม (Digital Economy) เพือ่ ใหก้ ารด�ำเนินงาน eHealth ขับเคลื่อนและปฏิรูประบบสาธารณสุขด้านการอภิบาลระบบสุขภาพ ภายใต้ยุทธศาสตร์ด้านบริหารเป็นเลิศดดัง้วแยสธดรรงมในาแภผิบนาลภา¤(พGÇพoÒทÁveี่Êr6Ín-a´1n¤cÅeŒÍE§ÃxÐcËelÇle‹Òn§cáe¼)¹หªนÒµึ่งใÔ นยáุท¼ธ¹ศาDสEตรá์คÅวÐาม4เปEน็ xเลcศิelle4ncดe้าน¡Ã(Ð4·EÃxÇc§eÊlÒle¸nÒcÃe³s)ÊØ¢กระทรวงสาธารณสุข Â·Ø ¸ÈÒʵê ÒµÔ 20 »‚ (¾.È. 2560 - 2579)1 2 ¡ÒÃÊÃÒŒ § 3 ¡Òþ²Ñ ¹Ò 4 ¡ÒÃÊÃÒŒ §âÍ¡ÒʤÇÒÁ 5 ¡ÒÃÊÌҧ¡ÒÃàµÔºâµº¹ 6 ¡ÒÃ»ÃºÑ ÊÁ´ÅØ áÅÐ ¤ÇÒÁÁ¹èÑ ¤§ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö áÅÐàÊÃÁÔ ÊÃÒŒ § àÊÁÍÀÒ¤áÅÐà·‹Òà·ÂÕ Á¡Ñ¹ ¤Ø³ÀÒ¾ªÇÕ Ôµ·Õè໹š ÁԵà ¾²Ñ ¹ÒÃкº¡Òà 㹡ÒÃᢧ‹ ¢Ñ¹ È¡Ñ ÂÀÒ¾¤¹ ·Ò§Êѧ¤Á ¡ÑºÊ§èÔ áÇ´ÅŒÍÁ ºÃËÔ Òè´Ñ ¡ÒÃÀÒ¤ÃÑ°4 Excellence Strategies P&P Service People Governance ¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢ Excellence Excellence Excellence Excellence ʧ‹ àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾áÅÐ ºÃÔ¡ÒÃ໚¹àÅÔÈ ºØ¤ÅÒ¡Ã໹š àÅÔÈ ºÃËÔ ÒÃ໚¹àÅÈÔ »Í‡ §¡¹Ñ âä໚¹àÅÔÈ ´ŒÇ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅá¼¹ DE : á¼¹¾²Ñ ¹Ò´Ô¨Ô·ÅÑ à¾Íè× àÈÃÉ°¡Ô¨áÅÐÊѧ¤Á1 ¾Ñ²¹Òâ¤Ã§ÊÌҧ 2 3 4 5 6 ¾é¹× °Ò¹´Ô¨Ô·ÑÅ ¢Ñºà¤Åè×͹ ÊÌҧÊѧ¤Á »ÃºÑ à»ÅÕÂè ¹ ¾²Ñ ¹Ò¡Òí Åѧ¤¹ ÊÃÒŒ §¤ÇÒÁ ÀÒ¤ÃÑ°Ê‹¡Ù Òà ãËŒ¾ÃŒÍÁà¢ÒŒ ÊÂÙ‹ ¤Ø »ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾʧ٠ãËŒ àÈÃÉ°¡¨Ô ´ÇŒ  ¤³Ø ÀÒ¾··èÕ ÑèǶ§Ö ໚¹ÃÑ°ºÒÅ àªÍè× Á¹Ñè 㹡ÒÃ㪌 ¤Ãͺ¤ÅÁØ ·ÇèÑ »ÃÐà·È à·¤â¹âÅÂÕ à·Ò‹ à·ÕÂÁ´ŒÇ ´Ô¨·Ô ÑÅ àÈÃÉ°¡Ô¨áÅÐ椄 ¤Á à·¤â¹âÅÂÕ´¨Ô Ô·ÑÅ à·¤â¹âÅÂÕ´¨Ô Ô·ÑÅ ´¨Ô ·Ô ÑÅ ´Ô¨Ô·ÅÑ 2 4 3 1 6 5 ¾²Ñ ¹ÒáÅлÃѺ»Ãا ¢Ñºà¤ÅèÍ× ¹áÅоѲ¹Ò ÊÌҧÁҵðҹ¢Í§ ¨Ñ´µÑ§é ͧ¤¡ à ¾Ñ²¹Ò·¹Ø Á¹Øɏ ¼Å¡Ñ ´¹Ñ ¡ÒÃ㪌ʶһ˜µÂ¡ÃÃÁͧ¤¡ à ¹Çѵ¡ÃÃÁ ÃкººÃ¡Ô Òà Ãкº¢ÍŒ ÁÅÙ ÊØ¢ÀÒ¾ ¡ÅÒ§¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁÍ× ´ÒŒ ¹ eHealth Ï ¡¯ËÁÒ ÃÐàºÂÕ ºáÅÐâ¤Ã§ÊÃÒŒ §¾é¹× °Ò¹ áÅÐâ»Ãá¡ÃÁ»ÃÐÂ¡Ø µ ¡Òúó٠ҡÒâ͌ ÁÅÙ ¡ÒúÃËÔ ÒèѴ¡Òà à¾è×ÍʹѺʹع¡Òà ÊÒÃʹà·ÈáÅСÒà ÇÔ¸Õ»¯ºÔ ѵÏÔã˺Œ Ã¡Ô Òà eHealth á¡‹ ´ÒŒ ¹ eHealth àª×èÍâ§áÅ¡à»ÅÕÂè ¹ eHealth ¢ŒÍÁÅÙ ·èÁÕ Õ»ÃÐÊÔ·¸ÀÔ Ò¾ »ÃЪҪ¹ แผนภาพท่ี 6-1 แสดงความเช่อื มโยงยทุ ธศาสตร์ eHealth กบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

78 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 ภาพแสดงความเชื่อมโยงร่างยุทธศาสตร์ eHealth กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) ช่วยเพม่ิ ความมั่นใจในการเดนิ หนา้ แผนงานโครงการตา่ ง ๆ ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพของกระทรวง สาธารณสุขว่ามีแนวโน้มความส�ำเร็จในทิศทางเดียวกันกับการพัฒนาประเทศไทย 4.0 ที่ก�ำหนดยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน การสรา้ งเสรมิ ใหค้ นมสี ขุ ภาวะทด่ี ี การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทางสงั คม พฒั นาระบบ บรกิ ารและระบบบรหิ ารจดั การสขุ ภาพ และยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งสงั คมคณุ ภาพทท่ี วั่ ถงึ เทา่ เทยี มดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไวอ้ ยา่ งชดั เจน ประกอบกับนโยบายรัฐบาลที่ก�ำหนดให้ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ เดินหน้าประเทศไทยร่วมกันแบบบูรณาการทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาสงั คม เพ่อื ผลลพั ธ์สุดท้าย “ประเทศมคี วามม่ันคง ม่ังคงั่ ย่งั ยนื เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้น�ำแนวคิดยุทธศาสตร์ eHealth คือการพัฒนาประสิทธิภาพในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อปรับปรุงการให้บริการสุขภาพ การบริหารจัดการและการส่ือสารด้านสุขภาพ มาเป็น แผนแม่บทหรือกรอบการด�ำเนินงาน โดยเฉพาะระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพที่จ�ำเป็นจะต้องมีกฎหมาย กฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง มาตรฐาน และกลไกการดูแลมาตรฐานร่วมกันของประเทศไทย เพื่อให้สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลกันได้แบบไร้รอยต่อด้วยความ ปลอดภยั ทั้งเจ้าของข้อมูล ผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มูล และผู้ใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู สารสนเทศสขุ ภาพ ทั้งน้ียทุ ธศาสตร์ eHealth มคี วามมงุ่ หวงั พฒั นาระบบสขุ ภาพดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่อื ให้บรรลุ วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาใหค้ นไทยมคี วามสขุ และตอบสนองตอ่ การบรรลซุ งึ่ ผลประโยชน์ แห่งชาติในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความ มน่ั คง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ประเทศสามารถแขง่ ขันไดใ้ นระบบเศรษฐกิจ แผนพฒั นาดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) เป็นกรอบแนวทางการด�ำเนินการตามนโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของรัฐบาลให้เกิดการนำ� เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัยและ หลากหลายมาเปลี่ยนแปลงวิธีการด�ำเนินธุรกิจ การด�ำเนินชีวิตของประชาชน และการด�ำเนินงานของภาครัฐ ซึ่งจะส่งผลให้เกิด ความมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกจิ ทแ่ี ขง่ ขนั ไดใ้ นเวทโี ลก และความมน่ั คงทางสงั คมของประเทศตอ่ ไป (ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรี เม่อื วนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2559) ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานดิจิทลั ประสทิ ธภิ าพสูงใหค้ รอบคลุมท่วั ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ขับเคล่อื นเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างสงั คมคณุ ภาพท่ีทั่วถึงเท่าเทยี มดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ปรับเปลี่ยนภาครฐั สูก่ ารเป็นรฐั บาลดิจิทัล ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาก�ำลงั คนใหพ้ ร้อมเขา้ ส่ยู ุคเศรษฐกิจและสงั คมดิจิทลั ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 สรา้ งความเช่ือมัน่ ในการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ยุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุข มีความสอดคล้องในทกุ ยทุ ธศาสตรข์ องแผน พฒั นาดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy : DE) เพ่อื ขับเคลอ่ื นสปู่ ระเทศไทย 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาล พล เอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี โดยเฉพาะการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างสังคมคุณภาพท่ีท่ัวถึงเท่าเทียมด้วย เทคโนโลยีดิจิทัล ที่มุ่งสร้างประเทศไทยท่ีประชาชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มเกษตรกร ผู้ที่อยู่ในชุมชนห่างไกล ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และคนพิการ สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบริการต่างๆ ของรัฐผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล มีข้อมูล องค์ความรู้ ทั้งระดับประเทศและระดับท้องถิ่น ในรูปแบบดิจิทัลท่ีประชาชนสามารถเข้าถึงและน�ำไปใช้ประโยชน์ได้โดยง่ายและสะดวก มีประชาชนท่ีรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสาร และมีทักษะในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดย ยุทธศาสตร์นี้ประกอบด้วยแผนงานเพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการสร้างโอกาสและความเท่าเทียมในการ เข้าถงึ และใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดจิ ิทลั สำ� หรบั ประชาชนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กลุ่มผูส้ ูงอายุ กล่มุ ผู้พกิ าร กล่มุ ผู้ท่ีอย่อู าศยั ใน พื้นท่ีห่างไกล 2) ด้านการพัฒนาศักยภาพของประชาชนในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์และสร้างสรรค์ รวมถึงความ สามารถในการคดิ วเิ คราะห์ และแยกแยะข้อมลู ข่าวสารในสังคมดิจิทลั ที่เปิดกว้างและเสรี 3) ด้านการสร้างสื่อ คลังส่อื และแหล่ง เรยี นรดู้ จิ ทิ ลั เพอื่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตทป่ี ระชาชนเขา้ ถึงไดอ้ ยา่ งสะดวก ผ่านทงั้ ระบบโทรคมนาคม ระบบแพรภ่ าพ กระจายเสยี ง และส่ือหลอมรวม 4) ด้านการเพ่ิมโอกาสการได้รับการศึกษาท่ีมีมาตรฐานของนักเรียนและประชาชน แบบทุกวัย ทุกที่ทุกเวลา eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 79ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และ 5) การเพ่ิมโอกาสการได้รับบริการทางการแพทย์และสุขภาพท่ีทันสมัย ทั่วถึงและเท่าเทียม สู่สังคมสูงวัย ดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ซง่ึ ดา้ นที่ 5 นี้มแี ผนงานกำ� หนด 3 แผนงาน ได้แก่5.1 บรู ณาการระบบประวตั สิ ขุ ภาพผปู้ ว่ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ สซ์ ง่ึ เชอ่ื มตอ่ กนั ทวั่ ประเทศ ทป่ี ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ และบรหิ ารจดั การ ขอ้ มลู สขุ ภาพของตนได้ เพอื่ อำ� นวยความสะดวกในการเขา้ รบั การรกั ษา และเปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั ประกอบการรกั ษากรณฉี กุ เฉนิ5.2 บูรณาการและส่งเสริมให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเหมาะสม ที่ครอบคลุมถึงระบบการให้บริการแพทย์ทางไกล (telemedicine) การสร้างพ้ืนท่ีปรึกษาปัญหาและแลกเปล่ียนเรียนรู้ การเฝ้าระวังและส่ือสารเตือนภัยด้านสุขภาพและ อนามัย รวมไปถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพ่ือสุขภาพในรูปแบบใหม่ เพ่ือสนับสนุนการมีสุขภาพ สุขภาวะท่ีดี หรือ ลดปัญหาสขุ ภาพของประชาชน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงประชาชนในพืน้ ท่หี า่ งไกล กลมุ่ แม่และเด็ก กลมุ่ ผ้สู งู อายุ และผูพ้ กิ าร5.3 เร่งจัดท�ำนโยบายและแผนการด�ำเนินงานการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมสูงวัย โดย บรู ณาการรว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งทางดา้ นการแพทย์ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการพฒั นาสงั คมส�ำหรบั ระบบการใหบ้ รกิ ารแพทย์ทางไกล (telemedicine) นน้ั สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ไดด้ �ำเนินการโครงการระบบการแพทยท์ างไกลผา่ นดาวเทยี มมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2538 ในโรงพยาบาลสว่ นภมู ภิ าค โรงพยาบาลราชวถิ ี และโรงพยาบาลรามาธบิ ดีโดยใช้ช่องสัญญาณดาวเทียม C-Band ขนาด 1/8 transponder บนเครือข่าย VSAT (Very Small Aperture Terminal) ซ่ึงเป็นระบบส่ือสารโทรคมนาคมท่ีเหมาะส�ำหรับสภาพภูมิศาสตร์และระยะทางของพ้ืนที่ห่างไกล ไม่มีผลกระทบจากเมฆฝนต่อการรับส่งสัญญาณ ซ่ึงมีความเหมาะสมท่ีสุดส�ำหรับระบบการแพทย์ทางไกลผ่านดาวเทียมในขณะนั้น ต่อมาได้ยุติโครงการลงเม่ือปี พ.ศ. 2545 เนื่องจากเหตุปัจจัยหลายประการท่ีไม่สามารถควบคุมได้ในขณะนั้น แต่ความพยายามท่ีจะน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นการสอ่ื สารมาใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นสาธารณสขุ นน้ั มไิ ดย้ ตุ ติ ามลงไปดว้ ย เมอ่ื ปี พ.ศ. 2554 สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุจึงได้เร่ิมโครงการระบบประชุมทางไกล (Video Conference) ระหว่างผู้บริหารส่วนกลาง ผู้บริหารส่วนภูมิภาค (ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ) และผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพความรวดเร็ว ความชัดเจนในการส่ังการในช่วงเทวอ่ี ลาาจเตร่งอ้ ดงส่วนง่ ทมีสแถพานทกยใ์าหรก้ณา์ฉรุกบเรฉบิ ินาลเกปี่ยรวะกชับาชภนัยใสนุขพภน้ื าทพปี่ รกะาสรบรเะหบตาทุ ดว่ั ข6ปอ.ร2งะโ.เ2รทคศ การให้ความช่วยเหลือเยียวยาในเหตุภัยพิบัติต่าง ๆ ซง่ึ ประสบความสำ� เรจ็ เปน็ อยา่ งดี ชว่ ยลดงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยเก่ียวกบั การเดนิ ทางร่วมประชุม และชว่ ยเพิ่มประโยชน์ในการจัดการปัญหาภัยสขุ ภาพท่เี กิดในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ ไดค้ รอบคลมุท่วั ประเทศอย่างรวดเร็ว GIN ร.พ.ช VIDEO conference EGA GIN GIN ร.พ.ท A coVnIfeDrEeOnceกระทรวงสาธารณสุข GIN ส.ร.อสรอ. : สํานักงานรฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ร.พ.ท B coVnIfeDrEeOnceGIN : ระบบเครอื ขา ยสือ่ สารขอมลู เชอ่ื มโยงหนว ยงานภาครฐัแผนภาพที่ 6-2 การเชือ่ มโยงระบบประชุมทางไกล ผา่ นเครอื ขา่ ยสารสนเทศภาครฐั (GIN) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

80 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 ในปัจจุบันประเทศไทยมีความพร้อมใช้งานของโครงสร้างพ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ท้ังคุณภาพความเร็ว ความมี เสถียรภาพ และมีนโยบายส�ำคัญของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ท�ำให้มี โครงการขยายโครงข่ายใยแก้วน�ำแสง (Fiber Optic) ไปยังชุมชนพ้ืนทหี่ า่ งไกลท่วั ประเทศ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจงึ ได้น�ำประสบการณ์การดำ� เนินงานโครงการ telemedicine ในอดีต มาวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำ� เร็จ และสรุปข้อเสนอแนวทาง การด�ำเนินงานโครงการตน้ แบบ telemedicine ไดด้ งั นี้ • ใช้เครอื ขา่ ยสารสนเทศภาครฐั (Government Infrastructure Network : GIN) ในการสื่อสารขอ้ มูลภาพและเสยี ง • ใชร้ ะบบ VDO High definition (HD) ซง่ึ มีความละเอยี ดสงู ทงั้ ภาพและเสยี ง ชว่ ยใหแ้ พทยส์ อ่ื สารกนั ไดอ้ ยา่ งชดั เจน สนับสนนุ ใหก้ ารวนิ ิจฉยั โรคมีความถกู ตอ้ งแม่นยา้ มากยงิ่ ขน้ึ • ด�ำเนนิ งานสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ของกระทรวงสาธารณสุข ซง่ึ มีแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีชัดเจน ในการส่งตอ่ ผู้ปว่ ย (Refer) จากโรงพยาบาลชมุ ชน ไปยงั โรงพยาบาลทว่ั ไป และมแี พทยเ์ ป็นผูร้ บั ผิดชอบในทกุ ขน้ั ตอนตลอด ระยะเวลาทีผ่ ปู้ ่วยอยู่ในระบบการรกั ษา ดจิ ิทลั ไทยแลนด์ (Digital Thailand) หมายถงึ ประเทศไทยที่สามารถสรา้ งสรรค์ และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสร้าง พ้ืนฐาน นวตั กรรม ข้อมูล ทนุ มนุษย์ และทรัพยากรอ่นื ใด เพื่อขบั เคลื่อนการ พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ไปสู่ความม่ันคง มง่ั คั่ง และยัง่ ยืนความเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์ eHealth และยทุ ธศาสตรแ์ ผนพฒั นาดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม (DE)ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุข มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของแผนพฒั นาดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม แสดงได้ดงั ตารางด้านลา่ งนี้ ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ (Digital Economy) (eHealth)1 พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงให้ครอบคลมุ 2 พัฒนาและปรบั ปรงุ สถาปัตยกรรมองค์กรและโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ทัว่ ประเทศ เพื่อสนบั สนนุ การให้บรกิ าร eHealth แกป่ ระชาชน ขับเคลือ่ นและพัฒนานวัตกรรม ระบบบริการและโปรแกรม ประยุกต์ ด้าน eHealth ทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ2 ขบั เคล่ือนเศรษฐกิจดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล 4 (Health care service delivery) และประชาชน รวมทงั้ มีการ ค้มุ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา3 สรา้ งสังคมคณุ ภาพที่ทั่วถึงเท่าเทยี มดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 3 สรา้ งมาตรฐานของระบบขอ้ มลู สขุ ภาพ การบูรณาการข้อมลู4 ปรบั เปลีย่ นภาครฐั สกู่ ารเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั สารสนเทศและการเชอ่ื มโยงแลกเปลย่ี นข้อมูลทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ5 พฒั นากำ� ลังคนให้พร้อมเขา้ สยู่ คุ เศรษฐกจิ และสังคมดิจทิ ัล6 สร้างความเชอื่ มั่นในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล 1 จดั ต้ังองคก์ รกลางความรว่ มมอื การบริหารจัดการ eHealth 6 พฒั นาทนุ มนษุ ย์ด้าน eHealth และเทคโนโลยสี ารสนเทศการ จัดการความร้ดู ้านการแพทยแ์ ละสขุ ภาพสำ� หรบั ประชาชน 5 ผลักดนั การใชก้ ฎหมาย ระเบยี บ วธิ ปี ฏิบัติและมาตรฐานที่ เหมาะสมเพอื่ สนับสนุนการใช้ ICT ในระบบสุขภาพeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

Â·Ø ¸ÈÒʵê ÒµÔ 20 »‚ (¾.È. 2560 - 2579)1 2 ¡ÒÃÊÌҧ 3 ¡ÒþѲ¹Ò 4 ¡ÒÃÊÃÒŒ §âÍ¡ยÒุÊท¤ธÇศÒาÁสตร์เทคโน5โล¡ยÒีสÃาÊรÃสŒÒ§น¡เทÒÃศàสµุขºÔ ภâµาºพ¹กระทร6วงสา¡ธÒาÃร»ณÃºÑ สÊุขÁพ´ÅØ.ศá.Å2Ð560 – 2569 81 ¤ÇÒÁÁ¹Ñè ¤§ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö áÅÐàÊÃÔÁÊÌҧ 㹡ÒÃᢋ§¢¹Ñ ÈÑ¡ÂÀÒ¾¤¹ àÊÁÍÀÒ¤áÅÐà·‹Òà·ÕÂÁ¡¹Ñ ¤Ø³ÀÒ¾ªÇÕ µÔ ·àÕè »š¹ÁԵà ¾²Ñ ¹ÒÃкº¡Òà ·Ò§Êѧ¤Á ¡ºÑ ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ºÃËÔ Òè´Ñ ¡ÒÃÀҤðÑยทุ ธศาสตร์ eHealth จะเปน็ กลไกส�ำคัญในการขบั เคลอื่ นประเทศไทยสปู่ ระเทศไทย 4.0 ดา้ นสาธารณสขุ (Health 4.0) เป็นส่วนสสา�ำธคาัญรใณนะกดา4า้รนพ¡EสัฒÃxÐุขcน·eภlÃาleาÇรnพ§ัฐcÊแeบÒล¸าSÒะลtÃrสa³ดาtิจeÊธgิทØ¢าieัลรsณ(สDุขigขiอtaงlภGาคoÊรv‹§ฐัeàÊrเEÃnพxÔÁmcือ่ÊPe¢Øพe&llÀnePฒั Ònt¾)cนáeาÅกÐเาศรรนษ�ำฐรกะºจิ บÃEแÔ¡บxSลÒcเeÃeะทràlv»สlคeiš¹cังnโeàคcÅนeÔÈมโลขยอีสงปาºรรؤสะEÅเxนÒPทc¡เeeศÃทolàlp»eศln¹šeเcàขÅe้าÔÈมาช่วยºใGEนÃoxËÔ กvcÒeeÃาrlàรnl»eaบ¹šnncàรcÅeิหeÈÔ ารงานบริการ »‡Í§¡¹Ñ âä໚¹àÅÈÔ ´ÇŒ ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅá¼¹ DE : á¼¹¾²Ñ ¹Ò´Ô¨·Ô ÑÅà¾Íè× àÈÃÉ°¡¨Ô áÅÐ椄 ¤Á1 ¾Ñ²¹Òâ¤Ã§ÊÃÒŒ § 2 3 4 5 6 ¾×é¹°Ò¹´¨Ô Ô·ÅÑ ¢ºÑ à¤ÅÍè× ¹ ÊÃŒÒ§Ê§Ñ ¤Á »ÃºÑ à»ÅÕè¹ ¾Ñ²¹Ò¡Òí Å§Ñ ¤¹ ÊÌҧ¤ÇÒÁ ÀÒ¤ÃÑ°ÊÙ¡‹ Òà ãËŒ¾ÃŒÍÁà¢ÒŒ ÊÙ‹ ¤Ø »ÃÐÊÔ·¸ÀÔ Ò¾Ê§Ù ãËŒ àÈÃÉ°¡¨Ô ´ŒÇ ¤³Ø ÀÒ¾·è·Õ ÇèÑ ¶Ö§ ໹š ÃÑ°ºÒÅ àªè×ÍÁ¹èÑ ã¹¡ÒÃ㪌 ¤Ãͺ¤ÅÁØ ·èÇÑ »ÃÐà·È à·¤â¹âÅÂÕ à·Ò‹ à·ÕÂÁ´ÇŒ  ´¨Ô ·Ô ÅÑ àÈÃÉ°¡¨Ô áÅÐÊѧ¤Á à·¤â¹âÅÂÕ´Ô¨·Ô ÑÅ à·¤â¹âÅÂÕ´¨Ô ·Ô ÑÅ ´¨Ô Ô·ÑÅ ´Ô¨·Ô ÅÑ 2 4 3 1 6 5 ¾²Ñ ¹ÒáÅлÃѺ»Ãا ¢ºÑ à¤ÅÍ×è ¹áÅо²Ñ ¹Ò ÊÃÒŒ §Áҵðҹ¢Í§ ¨´Ñ µ§éÑ Í§¤¡Ã ¾Ñ²¹Ò·Ø¹Á¹ÉØ Â ¼ÅÑ¡´¹Ñ ¡ÒÃ㪌ʶһµ˜ ¡ÃÃÁͧ¤¡ à ¹Çѵ¡ÃÃÁ ÃкººÃÔ¡Òà Ãкº¢ÍŒ ÁÙÅ梯 ÀÒ¾ ¡ÅÒ§¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í ´ÒŒ ¹ eHealth Ï ¡¯ËÁÒ ÃÐàºÕºáÅÐâ¤Ã§ÊÃÒŒ §¾×¹é °Ò¹ áÅÐâ»Ãá¡ÃÁ»ÃÐÂ¡Ø µ ¡Òúó٠ҡÒâ͌ ÁÙÅ ¡ÒúÃÔËÒè´Ñ ¡Òà à¾×Íè ʹºÑ ʹع¡Òà ÊÒÃʹà·ÈáÅСÒà ÇÔ¸»Õ ¯ºÔ µÑ ÏÔãËŒºÃ¡Ô Òà eHealth á¡‹ ´ÒŒ ¹ eHealth àªèÍ× â§áÅ¡à»ÅÕè¹ eHealth ¢ŒÍÁÅÙ ·èÁÕ Õ»ÃÐÊ·Ô ¸ÔÀÒ¾ »ÃЪҪ¹ ภาพท่ี 6-3 แสดงความเชือ่ มโยง(รา่ ง)ยุทธศาสตร์ eHealth และ ยุทธศาสตร์ Digital Economyการด�ำเนินงาน eHealth ขับเคลือ่ นสู่ Health 4.0กระทรวงสาธารณสุขด�ำเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ eHealth ในรูปแบบของคณะกรรมการ คณะท�ำงานและคณะปฏิรูปด้านต่าง ๆ โดยบูรณาการความร่วมมือในทุกระดับ ต้ังแต่ผู้บริหาร จนถึงผู้ปฏิบัติท่ีอยู่หน่วยบริการในพ้ืนท่ีทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยโดยมีนโยบายและหลักการท�ำงานที่ชัดเจน ในการประสานความร่วมมือกับภาคส่วนอ่ืน ๆ โดยเฉพาะภาคประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคประชารัฐ ชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน ด้วยการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นเคร่ืองมือในการบริหารและพฒั นางานบรกิ ารสาธารณะของภาครัฐร่วมกัน เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล(Digital Government) ของประเทศไทยก้าวแรกท่ีเป็นกลไกส�ำคญั ในกา้ วสู่รัฐบาลดจิ ิทลั คือการบรู ณาการขอ้ มลู ผา่ นระบบเชอ่ื มโยงแลกเปลี่ยนขอ้ มลู กลางภาครัฐทม่ี ีความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างย่ิง ข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล ซึ่งเป็นข้อมูลท่ีมีความละเอียดอ่อน ซับซ้อน และมีมูลค่าสูงอย่างท่ีมิอาจประเมินราคาได้ จ�ำเป็นต้องมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเคร่งครัดท้ังความเส่ียงของข้อมูล ความเสี่ยงของผู้จัดเก็บข้อมูลและความเสย่ี งของผใู้ ชข้ ้อมลู ควรจะต้องมกี ฎหมาย กฎระเบยี บทชี่ ัดเจนให้ความค้มุ ครองอย่างเปน็ ธรรมการด�ำเนินงาน eHealth ตามยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ (eHealth Strategy) กระทรวงสาธารณสุขในปัจจุบันสรุปพอสงั เขปไดด้ ังน้ีดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ได้แก่• เชอ่ื มโยงเครอื ข่ายภายใน (WAN Intranet) ของสำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ครอบคลมุ ส�ำนักงานสาธารณสุขจงั หวัด ทุกแห่งทีค่ วามเร็วไมน่ ้อยกว่า 10Mbps และเช่ือมโยงโรงพยาบาลศนู ย์/ทวั่ ไปทุกแห่งทัว่ ประเทศทีค่ วามเร็วไม่น้อยกวา่ 5Mbpss• เช่ือมโยงเครือข่าย GIN (เครือข่ายสื่อสารข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ) ครอบคลุมส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ โรงพยาบาลศนู ย์/ท่ัวไปทุกแหง่ ท่ัวประเทศ ทีค่ วามเร็วไมน่ ้อยกว่า 2Mbps1414 MOU DE : บันทึกความรว่ มมือเร่ือง การด�ำเนนิ การเพิม่ คุณภาพการบริการด้านสุขภาพผ่านเทคโนโลยีดิจิทลั ระหวา่ งกระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงสาธารณสุข และ สำ� นักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) เมื่อวนั ท่ี 5 มกราคม 2560 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

82 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 • เช่าใช้บริการเครือข่าย Broadband Internet ความเร็วไม่น้อยกว่า10/30 Mbps ตามความเร็วข้ันต่�ำของทางรัฐบาลให้หน่วย งานส่วนภูมิภาคในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (โรงพยาบาลชุมชน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และสาธารณสุขชุมชน) รวมไม่น้อยกว่า 6,800 แห่ง โดยการจัดหาผู้ให้บริการ (ISP) ในภาพรวม ชว่ ยใหป้ ระหยัดงบประมาณลงไดม้ ากถงึ 30 ล้านบาทต่อปี • เชื่อมโยงเครือข่ายภายใน (WAN Intranet) ระหว่างหน่วยงานระดับกรมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (MOPH Campus) ท่ีความเรว็ ไม่นอ้ ยกวา่ 10Gbps • ให้บริการ Internet ความเร็วสูง ด้วยรูปแบบ BGP Multihoming Techniques เพื่อให้ Internet ท้ัง 3 เส้นทางจาก 3 ผู้ให้บริการ (ISP) สามารถให้บริการทดแทนกันได้ ช่วยให้ผู้ใช้งานไม่ได้รับผลกระทบหากเกิดความขัดข้องกับเส้นทางใด เสน้ ทางหนึง่ ดา้ นขบั เคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทลั ได้แก่ • ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ จดั การประกวดนวตั กรรมซอฟทแ์ วรด์ า้ นสขุ ภาพ เพอื่ สนบั สนนุ Start Up ทางเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ดา้ นสารสนเทศสขุ ภาพ พรอ้ มกบั การจดั ประชมุ วชิ าการดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ด้านสขุ ภาพของกระทรวงสาธารณสขุ เปน็ ประจ�ำทกุ ปี • ใหบ้ รกิ ารระบบประมวลผลฐานขอ้ มูลด้านการแพทยแ์ ละสุขภาพขนาดใหญข่ องกระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center : HDC) ดว้ ยเทคโนโลยี Big Data ทม่ี เี ครอ่ื งมอื ชว่ ยในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทหี่ ลากหลายใหไ้ ดผ้ ลลพั ธอ์ ยา่ งรวดเรว็ (Axis Project) ชว่ ยให้พยากรณ์สถานการณโ์ รคและความเจบ็ ป่วยได้อย่างถูกต้อง แมน่ ย�ำ สามารถสั่งการและเตรยี มรับมือกบั สถานการณ์ได้ อย่างรวดเรว็ • กรมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้มีการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานและเพ่ือให้บริการแก่ประชาชน อาทิ ระบบโลจิสติกส์ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระบบข้อมูล Medical Hub ของกรม สนับสนุนบริการสขุ ภาพ ระบบคลงั ขอ้ มลู ด้านโรคและภยั สุขภาพของกรมควบคุมโรค • การสนับสนนุ บคุ ลากรของกระทรวงสาธารณสขุ ทป่ี ฏบิ ัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจ�ำนวนกว่า 400 คน ไดม้ ีโอกาสเข้ารว่ ม ประชมุ เชงิ วชิ าการในเวทรี ะดบั นานาชาติ ซง่ึ ถอื เปน็ การเพมิ่ พนู ความรแู้ ละไดแ้ ลกเปลย่ี นประสบการณท์ กี่ วา้ งและเปน็ สากล เชน่ การประชุมและนิทรรศการ HIMSS เอเชียแปซิฟิก 16 ที่ประเทศไทย ในปี 2559 (HIMSS AsiaPac16 Conference and Exhibition) ระหว่างวันท่ี 23 – 26 สงิ หาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาตสิ ริ ิกิติ์ 15 ด้านสร้างโอกาสในการเขา้ ถึง เท่าเทยี มดว้ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั • ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดท�ำระบบ National Refer data xChange (nRefer) เพ่ือใช้เป็นช่องทางแลกเปล่ียน ข้อมูลระหว่างสถานพยาบาล และใช้ในการติดตามการรักษาระหว่างสถานพยาบาลที่ส่งต่อ และสถานพยาบาลท่ีรับรักษา ซ่ึง เปน็ ระบบทร่ี องรับการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลทมี่ าจาก Platform ท่ีมีความแตกตา่ ง จาก Provider ท่มี คี วามหลากหลาย ปัจจบุ ันมี โรงพยาบาลทั้งในสังกัดส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สังกัดกรมตา่ ง ๆ และโรงพยาบาลมหาวทิ ยาลัย เชน่ โรงพยาบาล รามาธบิ ดี โรงพยาบาลศริ ิราช ร่วมใช้งาน • ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สำ� นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ได้เร่ิมตน้ โครงการพัฒนาระบบ MOPHID ซ่ึง เป็นระบบชุดหมายเลขท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์ (Unique) และมีตรรกะท่ีเหมาะสมส�ำหรับการบริการจัดการด้านเสถียรภาพ ของข้อมูล เพ่ือใช้เป็นตัวแทนบุคคล ทดแทนเลขประจ�ำตัวประชาชน (ID) ส�ำหรับผู้รับบริการในโรงพยาบาลสังกัดส�ำนักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ เพือ่ จดั การปัญหาข้อมูลผ้ปู ่วยกลุม่ ทเ่ี ป็นตา่ งดา้ ว และกลมุ่ ท่ไี ม่มบี ัตรประจำ� ตัวประชาชน • เรม่ิ ตน้ โครงการพฒั นาระบบ National Queue รว่ มกบั โรงพยาบาลในสงั กดั สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ และโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุน Smart City ลดปัญหาความแออัดในโรงพยาบาล เพิ่มระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการด้าน สุขภาพ • พฒั นาระบบศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ (EOC) เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางขอ้ มลู ผปู้ ว่ ย ผบู้ าดเจบ็ ผเู้ สยี ชวี ติ ตลอดจนข้อมูลการปฏิบัติงานของทีมแพทย์ ยาและเวชภัณฑ์ท่ีใช้ ทีมอาสาสมัครต่าง ๆ ที่สามารถรายงานเป็นสารสนเทศที่ พรอ้ มใช้งาน ตอบสนองต่อการสัง่ การไดท้ ันที 15 MOU HIMSS : บนั ทกึ ความเข้าใจเรือ่ ง การจดั ประชมุ และนทิ รรศการ HIMSS เอเชยี แปซิฟกิ 16 ท่ีประเทศไทย ในปี 2559 (HIMSS AsiaPac16 Conference and Exhibi- tion) ระหวา่ ง นพ.สรุ ยิ ะ วงศค์ งคาเทพ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผูบ้ ริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสงู (CIO) ประจำ� กระทรวง และนายเจเรอมี บอนฟนี ี (Mr. Jeremy Bonfini) รองประธานบริหารองคก์ ร Healthcare Information Management System Society (HIMSS) เม่อื วนั ท่ี 23 กนั ยายน 2558 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 83• ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ มีระบบประชุมทางไกล (Video Conference) ท่เี ชอื่ มโยงส�ำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ทุก แหง่ ท่ัวประเทศ ช่วยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการส่ือสารภายในองคก์ ร (Internal Relationship) เปน็ เครือ่ งมอื ทช่ี ว่ ยให้มีความพรอ้ ม รบั ในการรับมือกับสถานการณ์ฉกุ เฉินได้• หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ มกี ารพฒั นา Mobile Application เพอื่ ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนและเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ทั้งบริการข้อมูลข่าวสารความรู้สุขภาพ บริการธุรกรรมแบบออนไลน์ บริการตรวจเช็คสภาวะสุขภาพเบ้ืองต้น บริการเรียกใช้ บรกิ ารฉุกเฉนิ ทางการแพทย์ เชน่ GIS Health ค้นหาโรงพยาบาล, EMS 1669 ระบบแจง้ เหตฉุ ุกเฉิน, Khun Look คุณลูก, กดดรู ้โู รค, Oryor Smart Application, สมนุ ไพรไทย Thai Herbs เป็นตน้ ซ่งึ รวบรวม Link ไวท้ เี่ ว็บไซตก์ ระทรวงสาธารณสุข https://www.moph. go.th/index.php/home/app_mophhการปรับเปลย่ี นภาครัฐสู่รฐั บาลดจิ ิทัล• ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สำ� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ พฒั นาระบบสารสนเทศโรงพยาบาลชอ่ื JHOS สำ� หรบั โรงพยาบาลทมี่ ีระบบผปู้ ่วยใน และ JHCIS ส�ำหรบั โรงพยาบาลท่ีไมม่ ีระบบผู้ปว่ ยใน และเริม่ พฒั นา Platform บรกิ าร พื้นฐานภาครัฐ เพ่ือเชื่อมโยงเลขประชาชน (ID 13) กับฐานข้อมูลผู้ป่วยตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้มผ่านคลังข้อมูล สุขภาพและการแพทย์ (Health Data Center : HDC) โดยเริม่ ใช้ในระบบบริหารทะเบียนสขุ ภาพ (คลงั เวชระเบียนกลาง)• ด�ำเนินการโครงการเพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ ระบบบริหารจัดการคลังยาและเวชภัณฑ์ ระบบศูนย์ข้อมูลยา และเวชภัณฑ์ พัฒนาระบบคลังยาอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการโซ่อุปทานสุขภาพ (LogHealth) มหาวิทยาลยั มหดิ ล 16• พฒั นาระบบสารสนเทศสนับสนุนการบรหิ ารงานตา่ ง ๆ อาทิ ระบบ HROPS เพือ่ การบริหารจัดการบคุ ลากรสาธารณสุข ระบบ การเงินการคลังอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของสถานบรกิ าร ระบบจัดการเร่ืองราวร้องทุกข์ ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และ ระบบศนู ย์ ขอ้ มูลกลางของกระทรวงสาธารณสุข (Call Center)ด้านสร้างความเช่ือมั่นในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล• ระบบ DR-Site ตดิ ต้ังอยูท่ ี่ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในรปู แบบ Hot Site ส�ำหรบั ระบบ Domain Name Server (DNS) และระบบรายงานสารสนเทศสขุ ภาพจากฐานขอ้ มลู ผปู้ ่วย 43 แฟ้ม (hdcservice) และในรปู แบบ Warm Site สำ� หรบั ระบบ เวบ็ ไซตห์ ลักและฐานข้อมลู สนับสนนุ การบรหิ ารงานสว่ นกลางของสำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ• จัดตั้ง Data Center ของกระทรวงสาธารณสุข ตามมาตรฐาน Uptime Teir II และมาตรฐาน ISO 27001 ภายในบริเวณ กระทรวงสาธารณสขุ จังหวัดนนทบรุ ี เพอ่ื ให้บริการ MOPH Private Cloud ในรปู แบบ Infrastructure As A Service (IaaS) คือให้บริการในสว่ นของ Storage, Hardware, Servers และ Network แก่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ• การใช้ข้อมูลประชาชนจากเลขประชาชน 13 หลัก หรือผ่านบัตรประชาชนแบบ Smart Card น้ัน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ได้ท�ำการเชอ่ื มข้อมูลตรงกับสำ� นักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ผ่าน Broker Server เพ่ือเขา้ ถึงฐานข้อมูลประชาชนกบั สำ� นกั ทะเบยี นกลาง (Population Information Linkage Center) บนเครือขา่ ย GIN 17• มมี าตรฐานการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ระหวา่ งระบบงานดา้ นสาธารณสขุ เปน็ แนวทางในการจดั ทำ� แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั ทำ� ระเบยี น สุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Records : PHRs) แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลในระบบระเบียน สุขภาพอเิ ล็กทรอนิกส์ โดยทำ� งานแบบบรู ณาการร่วมกนั ผ่านคณะกรรมการที่มผี ู้แทนจากหลายองค์กรท้ังในและนอกกระทรวง16 MOU Loghealth : บันทึกข้อตกลง เรื่อง การพัฒนาระบบโลจิสตกิ ส์โครงสรา้ งพนื้ ฐานและระบบบูรณาการข้อมลู สารสนเทศด้านสาธารณสุขส�ำหรับเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ประเทศไทยระหวา่ ง มหาวิทยาลยั มหดิ ล กระทรวงสาธารณสขุ ส�ำนักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ และสมาคมเภสัชกรรมในโรงพยาบาล (ประเทศไทย) เมือ่ วนั ท่ี 29 พฤศจิกายน 2559ณ โรงแรมมารวย การเ์ ดน้17 MOU DOPA : บนั ทกึ ความรว่ มมอื 19 หนว่ ยงานรฐั ในการนำ� รอ่ งการดำ� เนนิ การตามแนวทางบูรณาการฐานข้อมลู และบริการของรัฐ เม่อื วนั ท่ี 22 กันยายน 2559 ณ ศาลาวา่ การกระทรวงมหาดไทย eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

84 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569แผนการด�ำเนนิ งาน eHealth ระยะ 5 ปี ทสี่ อดคล้องกบั Digital Economy Digital Economy เป้าหมาย eHealth ระยะ 5 ปียุทธศาสตร์ 1 และ 3ยุทธศาสตร์ 2 และ 6 • ทกุ หน่วยบรกิ ารในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ สามารถเชอ่ื มโยงกนั ด้วย เครอื ขา่ ยภายใน (MoPH Intranet) ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และไดม้ าตรฐานสากลยทุ ธศาสตร์ 3, 4 และ 5 • ขยายบริการ Internet ความเร็วสูง แบบพเิ ศษ ให้กบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุข ภาพตำ� บลทกุ แห่งทว่ั ประเทศ • เชื่อมโยงเครอื ขา่ ยสารสนภาครัฐ (GIN) ให้ครอบคลมุ โรงพยาบาลชมุ ชน ทกุ แห่งท่วั ประเทศ • มรี ะบบส�ำรองขอ้ มูลของโรงพยาบาลศูนย/์ ทั่วไปทกุ แหง่ ทวั่ ประเทศ • มตี ้นแบบระบบบรกิ ารดา้ นสุขภาพอจั ฉรยิ ะ (Smart Service : PHRs, EMR, Registration) รวมถึงผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพในหน่วยบริการท่มี ีความพร้อม • เพิม่ มลู คา่ ทางเศรษฐกิจ ดว้ ยการพัฒนาให้ความรใู้ นการดูแลสุขภาพตนเอง ด้วยระเบียนสขุ ภาพอิเลก็ ทรอนิกสส์ ว่ นบคุ คล (PHRs) • มีกฎหมายในระบบสขุ ภาพท่ที ันสมยั เชอื่ มโยงกบั การด�ำเนนิ งานของแผนพฒั นา ดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม • มี Health Digital Literacy ขนาดใหญ่เป็นแหล่งรวบรวมความรูส้ ุขภาพท่ี เหมาะสมกับประเทศไทย ประชาชนเข้าถึงและใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว ชว่ ยตอบปัญหา คลายความสงสยั ป้องกันการเขา้ ใจผดิ ที่อาจก่อให้ เกิดความเสี่ยงด้านสขุ ภาพ ยับยัง้ การแพร่กระจายข้อมลู ทีบ่ ดิ เบือนในโลก โซเซียลได้ทันต่อสถานการณ์2 • มีระบบ Tele-medicine ท่ีมคี ุณภาพสนับสนุนการให้บรกิ ารตรวจวนิ จิ ฉัยและ ให้ค�ำปรึกษาระหว่างแพทยผ์ เู้ ชีย่ วชาญกบั แพทย์ในโรงพยาบาลท่หี า่ งไกล โดยเฉพาะโรงพยาบาลชายขอบจังหวัด2 • บุคลากรในระบบสุขภาพมีศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลมาปรับ กระบวนการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพดียิ่งขน้ึ • บูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกยี่ วข้องกบั ระบบสุขภาพร่วมกนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน ในกระทรวงสาธารณสุขeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 85สรุปการด�ำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในระบบสุขภาพและการสาธารณสุข (Health IT) หรือ eHealth ตามยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (2560 – 2569) หรือ eHealth Strategy, Ministry ofPublic Health (2017 – 2026) ในระยะแรก นบั เปน็ กา้ วแรกของการเปลย่ี นแปลงสงิ่ ทม่ี ี สง่ิ ทเ่ี ปน็ และทำ� อยแู่ บบเดมิ ตง้ั แตอ่ ดตี มา จนถงึ ปจั จบุ นั เพอื่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรคก์ ารบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพและสาธารณสขุ ในรปู แบบใหม่ เกดิ นวตั กรรมใหมท่ จ่ี ะชว่ ยเพมิ่ คณุ ภาพการบรกิ ารสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั บำ� บดั รกั ษาและฟน้ื ฟู และนบั เปน็ ความโชคดขี องการสาธาณสขุ ไทย ทม่ี นี โยบายรฐั บาล พลเอกประยทุ ธจันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในการเดินหน้าประเทศไทยสู่ยุคประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ซ่ึงก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนในการ ขบั เคลอ่ื นประเทศดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และการมแี ผนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม (Digital Economy) ทใ่ี หค้ วามสำ� คญัด้านสาธารณสุขเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่ความท้าทายท่ีจะขับเคล่ือนการสาธารณสุขของประเทศไทยให้เป็นeHealth ได้อย่างสมบูรณ์น้ัน คือการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลหรือการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทั้งด้านการแพทย์และด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Health IT) ภายในระยะเวลา ทจ่ี ำ� กัด และการส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีความร้คู วามเข้าใจในความหมายของ eHealth ความเกย่ี วข้องและประโยชนท์ ี่ตนเองจะได้รบั รวมถงึ การใหป้ ระชาชนสามารถใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู สารสนเทศสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งปลอดภยั เพอื่ ดแู ลรกั ษาสุขภาพของตนเองและครอบครัวกระทรวงสาธารณสขุ ตอ้ งขอขอบคณุ ทกุ ทา่ น ทกุ หนว่ ยงานทใี่ หค้ วามรว่ มมอื ในการจดั ทำ� ยทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพกระทรวงสาธารณสขุ (2560 – 2569) และสนับสนนุ การด�ำเนนิ งาน eHealth ของกระทรวงสาธารณสขุ ด้วยดีตลอดมา และหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่า จะไดร้ บั ความรว่ มมือในการท�ำงานรว่ มกนั แบบบูรณาการทกุ ภาคสว่ นทั้งภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน ตอ่ ไปอยา่ งต่อเนือ่ งและยงั่ ยืน เพ่อื ขบั เคลื่อนการสาธารณสขุ ไทยให้กา้ วสูย่ ุค Health 4.0 และบรรลวุ ิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมี eHealthที่เข้มแข็ง มีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ธรรม เพอื่ ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดีในปี 2020” eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

86 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 87ภาคผนวก eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

88 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ขอ้ เสนอแนะ (RECOMMENDATIONS)ข้อเสนอ eHealth ของนายกสมาคมเวชสารสนเทศไทย นายแพทยช์ ุษณะ มะกรสาร eHealth Proposal Area Leadership/Policy/Investment HR1. IT as health care service enable HW SW Data Law Interoperability Lifelong EHR (PHR) Coding Standard • ICD • Snomed • HL 7 • LOINC Architecture (SOP)2. Quality • Security/Confidentiality • Data quality • IT Service/Process ISO, COBIT ITIL, TOGAF TMI3. Meaningful use of Information • Clinical Outcome • Efficiency Optimize cost • Optimize work process4. IT HR Development5. IT as healthcare Service Enable • NCD • Age groups • Service Plan • District health แผนภาพท่ี ผ-1 eHealth ProposaleHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

í·าäÁ ้µÍง ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 89ประชาพิจารณ์ (PUBLIC HEARING)จากการจดั ท�ำประชาพจิ ารณ์ออนไลน์ (ฉบบั ร่าง) ยุทธศาสตรเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ(2559 - 2563) ได้รบั ความเห็นตอบกลับมา จ�ำแนกตามบท ไดด้ ังตอ่ ไปนี้ eHealth? eHealth ¤Í× à·¤â¹âÅÂ´Õ Ô¨·Ô ÅÑ áÅкÃÔ¡Òà ICT ·èàÕ ªÍ×è Áâ§ÃÐËÇ‹Ò§¼Ù㌠ˌºÃÔ¡ÒôŒÒ¹ÊØ¢ÀÒ¾áÅÐ »ÃЪҪ¹ à¾×èÍãËŒÊÒÁÒöࢌҶ§Ö ºÃ¡Ô ÒÃ梯 ÀҾ䴌ÍÂÒ‹ §Á»Õ ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ·ÇèÑ ¶Ö§ ໚¹¸ÃÃÁáÅлÅÍ´ÀÑ ÁÒËÇÁ໹š ÊÇ‹ ¹Ë¹Öè§ã¹¡Òþ²Ñ ¹ÒºÃÔ¡ÒôŒÒ¹Ê¢Ø ÀÒ¾ãËŒÁÕ»ÃÐÊ·Ô ¸ÔÀÒ¾ à¾èÍ× ÊØ¢ÀÒ¾·Õè´äÕ »´ÇŒ ¡ѹ ÈÙ¹Âà ·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒÃÊÒí ¹Ñ¡§Ò¹»ÅÑ´¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢ http://ehealth.moph.go.th eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

90 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 บทท่ี 1 บทน�ำ 1.1 ความเป็นมา 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการพฒั นายุทธศาสตร์เทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ 1.3 วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ ค่านยิ มทเ่ี กี่ยวข้องกับการพฒั นาสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 1.4 ยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ ปีงบประมาณ พ.ศ 2558 มีความเห็นดังนี้ ควรเพม่ิ มมุ มองเชิง Holistic ในด้านเศรษฐกจิ ดว้ ยการน�ำรายได้เขา้ ประเทศ เพ่ือใหป้ ระเทศหลดุ พ้นภาวะยากจน ก้าวสู่ ประเทศ High Income โดยปรับเพ่ิมในประเดน็ 1. การก�ำหนดปขี องยุทธศาสตร์ นา่ จะเรม่ิ จาก ปี 2560 หรือไม่ ยุทธศาสตร์ยอ้ นหลัง ไม่น่าจะใชค่ ำ� ตอบ 2. การน�ำวัตกรรมด้านสาธารณสุขมาปรบั ใช้ในการพัฒนาระบบงาน ในการประเมินผลไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวมไปถงึ ระบบ ความม่นั คงปลอดภยั ของข้อมูล เช่น Blockchain 3. นโยบายระดบั กระทรวง ยงั ไม่มีในประเดน็ การน�ำรายไดเ้ ข้าประเทศตามนโยบาย Medical Hub ซ่ึงควรมีบรบิ ทน้ีเพิ่มเตมิ เนือ่ งจากตามแผน Digital Economy มภี ารกจิ ของกรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ ในการนำ� รายไดเ้ ข้าประเทศ และกระจาย รายไดล้ งสูช่ ุมชน (ต้งั แต่ระดับทอ้ งถ่นิ ไปจนถงึ ตา่ งประเทศ) ประเมินไดต้ ามหลัก “เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข” โดยยึดหลกั การทำ� งานเชงิ บรู ณาการ(PPP) ร่วมกับหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งไดอ้ ย่างยง่ั ยืน “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และพัฒนา” 3.1 e-Commerce 3.2 Healthcare Logistics บทท่ี 2 แนวคดิ การพฒั นายุทธศาสตร์ eHealth 2.1 สถานการณ์และปัญหาด้านระบบข้อมลู ข่าวสารสขุ ภาพ 2.2 กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพของประเทศ 2.3 สรุปสถานการณแ์ ละระดบั การพฒั นา eHealth ในประเทศไทย 2.5 การวเิ คราะหท์ รัพยากรและสภาพโดยรวมทางโครงสรา้ งพืน้ ฐานกระทรวงสาธารณสขุ มีความเห็นดงั นี้ ควรเลือกกระบวนการท�ำงานเชิงบูรณาการเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประเมินผลได้ โดยค�ำนึงถึง “ประชาชน” เป็นหลัก เพ่ิมเติมข้ันตอน Leadership และ Governance ควรมาเป็นอันดับต้นๆ ในการขับเคลื่อนนโยบาย อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพราะจากแผนภาพอยู่ประเด็นสดุ ทา้ ย eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 91 บeHททeaี่ 3lthกา(Eรวnิเvคirรoาnะหmส์ eภnาtaพlแAวnดaลlyอ้ sมiขsอoงf eTHheeaelHtheใaนltปhรSะเeทcศtไoทrยinตาTมhอaงilคaป์ndระ)กอบของ 3.1 องค์ประกอบของ eHealth (WHO, National eHealth Strategy) • รูปแบบการวเิ คราะห์ SWOT ตามองค์ประกอบของ eHealth • การวิเคราะหต์ าม TOWS Matrixมีความเหน็ ดังนี้ควรเพ่มิ เติมมมุ มอง Digital Economy เนอื่ งจาก งานทุกระดับ สามารถวดั และประเมินผล ตามหลกั เศรษฐศาสตร์สาธารณสขุ แบลทะท(่ีร4่าแงน) ยวคุทิดธศยาุทสธตศรา์สeตHรe์ aelHthealth การวเิ คราะห์เพื่อพฒั นายุทธศาสตร์ eHealth • โปรแกรมการทำ� งานของ eHealth (eHealth Program of Work) • องคป์ ระกอบการบริหารจดั การด้าน eHealth • (รา่ ง) ยทุ ธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสขุ ภาพ (eHealth Strategy (Draft) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 จัดตง้ั องค์กรกลางความร่วมมอื การบริหารจัดการ eHealth ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาและปรับปรุงสถาปตั ยกรรมองคก์ รและโครงสรา้ งพ้ืนฐาน เพ่ือสนับสนุนการใหบ้ รกิ าร eHealth แกป่ ระชาชน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สร้างมาตรฐานของระบบข้อมูลสขุ ภาพ การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและการเชอื่ มโยงแลกเปล่ยี น ขอ้ มลู ทีม่ ีประสิทธภิ าพ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ขับเคลอ่ื นและพัฒนานวัตกรรม ระบบบริการและโปรแกรมประยกุ ต์ด้าน eHealth ท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ ระบบบริการสุขภาพ(health care service delivery)และประชาชน รวมท้งั มีการคมุ้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ผลักดนั การใช้กฎหมาย ระเบยี บ วิธปี ฏิบตั แิ ละมาตรฐานที่เหมาะสมเพ่ือสนับสนุนการใช้ ICT ในระบบสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาทุนมนษุ ยด์ ้าน eHealth และเทคโนโลยสี ารสนเทศการจดั การความรู้ด้านการแพทย์ และสขุ ภาพสำ� หรบั ประชาชนมคี วามเห็นดงั นี้1. ควรมีประเด็นกลยุทธ์การลงทุน จาก (รา่ ง) นโยบายฯ ยังไมม่ ี นโยบายเกยี่ วกบั การลงทนุ ทสี่ อดคลอ้ งกับ Digital Economy เช่น e-Commerce สามารถน�ำมาใช้ได้ทุกข้ันตอนของกระบวนงาน เน่ืองจาก ระบบบริการสุขภาพตาม แนวนโยบาย UC ประสบภาวะขาดทนุ ซ่งึ เปน็ ประเด็นเร่งดว่ น ท่ีภาครฐั ต้องเรง่ แก้ไขอย่างเรง่ ดว่ น “รฐั สวสั ดิการ” ไม่จ�ำเป็นตอ้ งประเมินเฉพาะ ตวั เงินเทา่ นน้ั2. เกี่ยวกับ Infrastructure ควรแสดงถึง แนวทางการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานหลัก ในการพัฒนาระบบงาน เพื่อแสดงถึงการ ใชง้ บประมาณ อย่างค้มุ คา่ คุ้มทนุ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

92 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 บทที่ 5 การนำ� ยทุ ธศาสตร์ไปสู่การปฏบิ ัติ 5.1 eHealth Action Lines 5.2 eHealth Targets มคี วามเห็นดังน้ี 1. การทำ� งานร่วมกบั ภาคเอกชน ยงั แสดงไวไ้ มช่ ัดเจน 2. การจดั สรร/สรรหาตำ� แหนง่ บคุ ลากรด้าน IT ของระดบั กระทรวงฯ ยังไม่แสดงภาพท่ีชดั เจน ซงึ่ เปน็ ปัญหาหลักของการ ขบั เคล่อื นนโยบายใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 3. การประเมนิ ผลในภาพรวมของระดบั กระทรวงตามเปา้ หมายทสี่ ำ� คญั ควรครอบคลมุ ท้ังประเด็น ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คมและเศรษฐกิจไวด้ ว้ ยกนั เพอื่ รองรบั Digital Government ภาคผนวก ข้อเสนอแนะ (RECOMMENDATIONS) มคี วามเหน็ ดงั น้ี การท�ำงานเชิงบรู ณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อขับเคลอื่ นนโยบายได้อย่างประสิทธิภาพและยัง่ ยืน บทที่ 6 การดำ� เนนิ งาน eHealth ที่สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นสาธารณสขุ แผนพัฒนาดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม และยทุ ธศาสตร์ความเป็นเลศิ 4 ดา้ น กระทรวงสาธารณสขุ เป็นบทที่เพ่ิมเตมิ ข้ึนใหม่ ยังไม่ถูกรวมอยู่ในรา่ ง มีความเหน็ ดงั น้ี 1. มมุ มองดา้ น “เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข” เพ่ิอการขับเคลื่อนระบบงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ไม่เฉพาะ ประเมินด้วยตวั เงินเทา่ นน้ั 2. การบูรณาการรว่ มกับภาคเอกชน 3. การท�ำงานทีม่ ุ่งเนน้ “พฒั นา” ตอ่ ยอดจากระบบงานเดิม ในการนำ� รายได้เข้าประเทศ เพอ่ื ให้ประเทศมสี ขุ ภาพดีอยา่ ง ครอบคลุม รวมไปถึงสขุ ภาพทางการเงิน (ยกเว้น ในอนาคตจะไม่ใช่ เงนิ ในการดำ� รงชีวิต) eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 93ขอขอบคณุ ผู้ตอบแบบประชาพิจารณอ์ อนไลนท์ ุกท่าน ดงั น้ีชอื่ ต�ำแหน่ง หนว่ ยงาน emailThanima S. Supervisor of Health กองสุขภาพระหว่างประเทศ [email protected]นางสาวหทยั ภัทร วันทอง Information Centerนายนพ เกตคุ รุฑ เจา้ พนักงานธรุ การ กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร [email protected] จพ.สาธารณสขุ ส�ำนกั งานสาธารณสุข [email protected]อเนก จนิ ดาขัด ช�ำนาญงาน จังหวัดอุตรดิตถ์ [email protected] นกั วิชาการสาธารณสุข สำ� นกั งานสาธารณสุข [email protected]นายศภุ ชัย ธรรมวงศ์ ช�ำนาญการ จังหวดั แพร่ [email protected] นักวิชาการสาธารณสุข ส�ำนกั งานสาธารณสขุ [email protected]ทองใบ พงษ์รอด ชำ� นาญการ จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอนนายมนัสพงษ์ พลภูมี นกั วชิ าการสาธารณสุข โรงพยาบาลพระจอมเกล้านายสมคดิ เวสาบรรพต ชำ� นาญการ จังหวดั เพชรบุรีเกยี รติศกั ด์ิ โชติวงศพ์ ิพฒั น์ นวก.คอมพวิ เตอร์ สสจ.หนองคายกติ ตศักด์ิ คะษาวงค์ พยาบาลวชิ าชีพ ช�ำนาญการ รพ.สต.บึงโขงหลง [email protected]นางพมิ พฉ์ วี เกตุปลง่ั นกั วิชาการสาธารณสุข นักวิชาการสาธารณสุข สำ� นักงานสาธารณสขุ จังหวัด [email protected]มนตรี อนิ แสง ชำ� นาญการ สำ� นักงานสาธารณสุขจังหวัด kasawonk2005@hotmail.ศรศักดิ์ สหี ะวงษ์ นกั วิชาการสาธารณสขุ นครพนม comนายศภุ รงค์ แก้วค�ำหงษ์ ช�ำนาญการพเิ ศษ โรงพยาบาลพระจอมเกล้า pimchavee_g@hotmail.พชิ ัย อาจทอง นกั วชิ าการสาธารณสุข จังหวดั เพชรบรุ ี comอภิชา เอกธีรธรรม ชำ� นาญการ สำ� นกั งานสาธารณสขุ [email protected]ธนาเศรษฐ์ วฒั นพงศ์สถติ นกั วชิ าการสาธารณสขุ จงั หวัดล�ำพูนนายวชิระ พุกเจริญ ชำ� นาญการ สำ� นักงานสาธารณสขุ [email protected]นางจุฑาทิพย์ อาธดิ ากร เจ้าพนกั งานเวชสถติ ิ จังหวัดพิษณโุ ลก supharongnote@gmail. ช�ำนาญงาน com นักวิชาการสาธารณสขุ โรงพยาบาล อ�ำนาจเจริญ [email protected] ชำ� นาญการ [email protected] ส�ำนักงานสาธารณสขุ [email protected] นกั วิชาการสาธารณสุข จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ปฏิบตั ิการ สสจ. สงิ ห์บุรี [email protected] นกั วชิ าการสาธารณสุข ส�ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั [email protected] ช�ำนาญการ ชลบุรี นกั วิชาการเงนิ และบญั ชี โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ตำ� บลบงึ ชำ� ออ้ ม.5 โรงพยาบาล ท่งุ สง eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

94 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 ชื่อ ตำ� แหน่ง หนว่ ยงาน emailสพุ รรณ สว่างแสงมารยาท คล้ายทพิ ย์ พยาบาลวิชาชพี อบุ ัตเิ หตแุ ละฉุกเฉนิ [email protected]ไข่มกุ วงษ์ดี ชำ� นาญการพเิ ศษชัยวฒั น์ เพช็ รรัตน์สุนสิ า พมุ่ ขุน พยาบาลเทคนคิ งานอุบัติเหตุฯ โรงพยาบาล MAMNAKA2500@gmail.สุพรรณ สว่างแสง ชำ� นาญงาน อ่างทอง comกรรญาฉัฐร์ ศริ ิพพิ ฒั น์ พยาบาลเทคนิค งานอุบตั ิเหตฯุ โรงพยาบาล [email protected] ช�ำนาญงาน อา่ งทองภูรติ พมิ พ์ประเสรฐินายไกรวุฒิ บุญเทียน เจา้ พนักงานฉกุ เฉินการ งานอบุ ัติเหตุฯ โรงพยาบาล [email protected]กฤษฎา อนันตะ แพทย์ อา่ งทองชตุ กิ าญจน์ หฤทยับัญชา พร้อมดิษฐ์ พยาบาลวิชาชพี งานอุบตั ิเหตุฯ โรงพยาบาล [email protected]กิตติธชั เย่ยี งศุภพนนทร์ อ่างทองวนั เพ็ญ เวชกามาKanjanaporn Taratai พยาบาลวชิ าชพี หอ้ งฉุกเฉิน โรงพยาบาล [email protected]ว่าท่รี อ้ ยตรเี สน่ห์ แก้วอดุ ร ช�ำนาญการพเิ ศษ อา่ งทองสุรพงษ์ แจ่มจรัสอรสา เข็มปัญญา บรรณารักษ์ชำ� นาญการ หอ้ งสมดุ และศนู ย์ [email protected] เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร เจา้ พนกั งานสาธารณสุข สำ� นกั งานสาธารณสุข [email protected] ช�ำนาญงาน จงั หวดั สมุทรสาคร นกั วิเคราะห์นโยบาย โรงพยาบาลบงึ กาฬ [email protected] และแผน เจา้ พนกั งานเคร่อื ง โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทยั [email protected] คอมพิวเตอร์ นกั วชิ าการพยาบาล สำ� นกั การพยาบาล [email protected] นักวชิ าการสาธารณสุข ส�ำนักงานสาธารณสุข [email protected] จังหวัดจนั ทบรุ ี ทันตแพทยป์ ฏบิ ัตกิ าร สสจ. สงิ หบ์ ุรี [email protected] จพ.เวชสถิติ รพ.พุทธโสธร [email protected] หวั หน้าศนู ยเ์ ทคโนโลยี โรงพยาบาลมหาสารคาม [email protected] สารสนเทศ นักประชาสัมพนั ธป์ ฏิบตั ิการ กลุ่มสารนิเทศ ส�ำนัก freedomfreestyles@gmail. นโยบายและยทุ ธศาสตร์ com บรรณารกั ษ์ รพ.พนมสารคาม [email protected] นกั วชิ าการสาธารณสขุ ส�ำนักบริหารการสาธารณสุข [email protected] ชำ� นาญการeHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 95 ชื่อ ตำ� แหน่ง หน่วยงาน emailนพ.ปณิธาน วศิ าลสวัสด์ิ ผูช้ ว่ ยผู้อ�ำนวยการด้าน รพ.มหาราชนครราชสมี า [email protected] เทคโนโลยสี ารสนเทศนายวิรตั น์ สนี วล ทางการแพทย์ ส�ำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั [email protected]โศภษิ ฐ์ สวุ รรณเกษาวงษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและ สุโขทยันางสาวกุสุมา มะลูลีม แผนปฏบิ ตั กิ ารณัฐวุฒิ เลิศมงคล นกั วชิ าการพยาบาล ส�ำนักการพยาบาล [email protected]นางพัชรี กองประมลู ชำ� นาญการพิเศษนพพร ดลพิทกั ษ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลบ้านโพธ์ิ [email protected] เจ้าพนกั งานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ [email protected] ช�ำนาญงาน ตำ� บลพิมพา [email protected] พยาบาลวชิ าชพี รพ.สต.ทา่ ข้าม [email protected] นกั วิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ ปฏบิ ัตกิ าร ต�ำบลบางสมัคร eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

96 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569ขอขอบคุณ :- รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ผบู้ รหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศระดบั สงู (CIO) กระทรวงสาธารสุขนายแพทย์สุวรรณชัย วฒั นายิ่งเจริญชยั อธิบดกี รมแพทยแ์ ผนไทย ผ้ตู รวจราชการกระทรวงสาธารณสุขนายแพทย์สรุ ยิ ะ วงศ์คงคาเทพ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดบั สูง (CIO)นายแพทย์สุเทพ วัชรปยิ านันทน์ ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารสขุ องคก์ ารอนามยั โลก สำ� นักงานใหญ่ (WHO-HQ) คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาลอาจารย์ทีป่ รึกษา :- โรงพยาบาลศริ ริ าช ปิยมหาราชการณุ ย์ ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดีDR.RAMESH KRISHNAMURTHY ภาควิชาเวชศาสตร์ชมุ ชน คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดีดร.นพ.บดินทร์ ทรพั ย์สมบรู ณ์ ภาควิชาวศิ กรรมไฟฟา้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ศูนย์พฒั นามาตรฐานระบบขอ้ มูลสุขภาพไทยรศ.น.พ.อาทิตย์ องั กานนท์ สมาคมเวชสารสนเทศไทยดร.นพ.นวนรรน ธรี ะอมั พรพันธ์ ุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดร.พรชัย ชันยากร สำ� นกั มาตรฐาน สำ� นกั งานธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน)ดร.นพ.บญุ ชัย กิจสนาโยธนิ ส�ำนักงานบริหารสารสนเทศการประกนันพ.ชษุ ณะ มะกรสาร ส�ำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติรศ.ดร.นพ.วรรษา เปาอนิ ทร์ ส�ำนักยุทธศาสตรส์ ขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติดร.อรุ ชั ฎา เกตุพรหม ภาควิชาวทิ ยาศาสตรเ์ ภสัชกรรมนพ.สินชัย ตอ่ วัฒนกจิ กุล คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำ� นักบรหิ ารการสาธารณสุข ส�ำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุขดร.พญ.เบญจมาส พฤกษก์ านนท์ ผ้อู �ำนวยการศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารดร.นพดล ชลอธรรม ดร.จฑุ าทพิ ย์ พทิ กั ษ ์ผศ.(พเิ ศษ) นพ.พลวรรธน์ วทิ ูรกลชติ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 97คณะผู้จัดท�ำ :-ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สำ� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผศ.(พิเศษ) นพ.พลวรรธน์ วทิ ูรกลชิต ผอู้ ำ� นวยการศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารนางสาวนภาพร มานะเจรญิ สขุนางรุ่งนภิ า อมาตยคงนางสาวจลิ าวลั ย์ มสี งั ข์นางสาวสาวิตรี คุ้มไข่น้�ำนางกนกวรรณ มาปอ้ งนางสาวณัฐกุล ชูสิทธิ์นางสาวพชรวลี ใจหาญนางสาวศริ นิ ทร์ญา อนพุ งค์ดร.มธวุ ีริญจ์ เทพกจิคณะทำ� งานตรวจตน้ ฉบับ :-คำ� สง่ั ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ที่ 8/2558เร่อื ง แต่งต้ังคณะทำ� งานตรวจตน้ ฉบับการวเิ คราะหเ์ พื่อพฒั นายทุ ธศาสตรเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นสุขภาพกระทรวงสาธารณสขุนายแพทย์พลวรรธน์ วทิ ูรกลชิต ผู้อ�ำนวยการศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารนางสาวสุวนั ตน์ า เสมอเนตร หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจัดการนายบญุ ชยั ฉตั รพริ ุฬหพ์ ันธ์ุ หวั หนา้ กลุ่มคอมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ข่ายนางทพิ ย์วรรณ ยงศิริวทิ ย์ หวั หน้ากลมุ่ พัฒนาการบรหิ ารขอ้ มลูนายฐติ ิ ภูเ่ พ็ชร์ นกั วิชาการคอมพิวเตอรช์ �ำนาญการนางสาวนภาพร มานะเจริญสขุ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการนางปทั มา มโนมธั ย์ นักวิชาการคอมพวิ เตอรช์ ำ� นาญการนางรงุ่ นิภา อมาตยคง นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ชำ� นาญการนายชวลติ รัตนโกสยี ์กิจ นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ผู้ให้ความเห็นในการปรบั ปรุงเนื้อหาฉบับน้ี :-นางสาวสุจติ รา คุ้มโภคา นักทรพั ยากรบคุ คลช�ำนาญการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ดร.จฑุ าทพิ ย์ พิทักษ์ ส�ำนกั บริหารการสาธารณสขุ สำ� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

98 ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 เอกสารอ้างอิง กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร. กรอบนโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารระยะ พ.ศ. 2554 – 2563 ของประเทศไทย (ICT 2020). กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร. 2554. แผนพฒั นาดจิ ิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม พิมพ์ครั้งท่ี 1 (พฤษภาคม พ.ศ. 2559) กระทรวงอตุ สาหกรรม. 2559. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาอตุ สาหกรรมไทย 4.0 ระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579). กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารรว่ มกบั บรษิ ัทโบลลิเกอร์ แอนด์ คอมพานี(ประเทศไทย) จ�ำกดั การจดั ทำ� ยทุ ธศาสตร์ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายหลังปพี .ศ. 2558. เอกสารประกอบการประชมุ ระดมสมอง(กล่มุ ภาครฐั และวิสาหกิจ). 20 พฤศจิกายน 2557 คณะกรรมการอำ� นวยการจัดทำ� แผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560 – 2564. (2559). แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กระทรวงสาธารณสขุ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2553) “มตสิ มชั ชาสขุ ภาพเฉพาะประเดน็ วา่ ด้วยแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาระบบขอ้ มลู ขา่ วสารสขุ ภาพแหง่ ชาติปี พ.ศ. 2553 – 2562.” คณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาต.ิ ชูเพญ็ วบิ ลุ สันติ. 2547. การวเิ คราะหจ์ ดุ แข็ง จดุ อ่อน (จดุ ดอ้ ย) โอกาสและอปุ สรรค (ความเสีย่ ง) ขององคก์ ร(SWOT Analysis). กรุงเทพฯ. บญุ ชยั กจิ สนาโยธนิ . สถานการณ์ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศสุขภาพ (eHealth/Health IT) ของประเทศไทยและข้อเสนอ แนะการพฒั นา. 2554. พรชัย ชันยากร และคณะวิจัย. ผลการวิเคราะห์ช่องว่างด้านความต้องการด้านข้อมูลและระบบสารสนเทศของกระทรวง สาธารณสขุ . โครงการจดั จา้ งทปี่ รกึ ษาเพอื่ การศกึ ษาและวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการดา้ นขอ้ มลู และการเชอ่ื มตอ่ ระบบสารสนเทศ ดา้ นการแพทย์และสุขภาพกระทรวงสาธารณสขุ . 2557. พิมพเ์ ขียวและแผนปฏิบัติการขับเคลอ่ื น Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยส่คู วามมั่นคง มงั่ ค่งั และ ยง่ั ยนื 21 ธันวาคม 2559. เศรษฐพงค์ มะลสิ ุวรรณ. (n.d.). เทคโนโลยีเปลย่ี นโลก (Disruptive technologies) เข้าถงึ เมอ่ื July 10, 2017, จาก https://www.it24hrs.com/2016/disruptive-technologies-technology/ รชั ตะ รัชตะนาวนิ . นโยบายดา้ นสขุ ภาพ. 20 ตลุ าคม 2557 ออนไลน.์ เขา้ ถงึ จาก http://bps.moph.go.th/sites/default/files/noybaay_rmw.ksth.-20tkh2557.pdf สำ� นักกรรมาธิการ 3 สำ� นักงานเลขาธิการวุฒิสภา. รายงานการพิจารณาศกึ ษาเร่อื ง ระบบสารสนเทศดา้ นการสาธารณสขุ ไทย. 2556. ส�ำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาต.ิ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2574) 2559 Australian Health Ministers’ Conference, National E-Health Strategy, December 2008. Leemore Dafny. New Marketplace Survey: The Sources of Health Care Innovation.Insights Report • February 16, 2017. Harvard Business School.NEJM Catalyst. eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2569 99The European Parliament, the Council, the European Economic and Social Committee and the Committee of theRegions – eHealth Action Plan 2012-2020 – Innovative healthcare for the 21st century COM (2012) 736 final.WHO. Atlas eHealth Country profile ; South-East Asia Region. 2010.WHO. Atlas of eHealth country profiles 2015: The use of eHealth in support of universal health coverageBased on the findings of the 2015 global survey on eHealth: 392. Publication date: February 2016.WHO. The six building blocks of a health system: aims and desirable attributes Source: 2007.(Online). Available URL: http://www.who.int/healthsystems/strategy/everybodys_business.pdfWHO & ITU. National eHealth Strategy Toolkit. Printed in Geneva. 2012.Disruptive Technology วันของ “ปลาเรว็ ” ลม้ “ปลาใหญ”่ .(n.d.). Retrieved July 10, 2017,from http://positioningmag.com/62128Disruptive Technology กับการลงทนุ . (2016, July 22). Retrieved July 10, 2017, fromhttps://thaipublica.org/2016/07/pipat-48/Health systems. (Online). Retrieved July 3, 2015, from: http://www.who.int/healthsystems/about/programmes/en/ eHealth Strategy, Ministry of Public Health 2017 – 2026

ศนู ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบรุ � 11000โทรศัพท: 02 590 2185 ต‹อ 416โทรสาร: 02 590 1215


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook