Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit2

unit2

Published by vanichb, 2018-05-09 10:35:18

Description: unit2

Search

Read the Text Version

6

7ความหมายของระบบการทาฟาร์ม ระบบการทาาฟารม์ (Farming Systems) เป็นการทากิจกรรมการเกษตรทเ่ี ปน็ ระบบของเกษตรกรประกอบด้วยองค์ประกอบหรือกจิ กรรมต่าง ๆ หลายอย่างและมีความสัมพนั ธซ์ ึ่งกันและกัน โดยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรและปัจจัยการผลิตทม่ี อี ยู่ในครอบครวั ซึง่ มิใช่แคพ่ ืช สตั ว์ ประมง และกจิ กรรมอน่ื ๆเท่าน้ัน แตร่ วมการทากจิ กรรมอ่ืน ๆ ด้วย ไมว่ ่าจะเปน็ ทางตรงหรอื ทางอ้อม และอาจใช้ระยะเวลาสน้ั หรอืระยะเวลานาน ซงึ่ เปน็ ผลมาจากความรู้ความเข้าใจและความสามารถ ตลอดจนพฤตกริ รมของเกษตรกรท่ีมีตอ่วิชา หลกั การจดั การฟาร์ม วนชิ บุญผ่องเสถยี ร

8สภาพแวดลอม้ ทางธรรมชาตทอิ ยูร่ อบตัวตัวเกษตรกร และการทาฟารม์มปี ัจจัยต่าง ๆ มาเกย่ี วขอ้ ง ท้ังดา้ นเทคโนโลยีการผลติ สภาพชีวภาพ เศรษฐกิจและสงั คม และสภาพส่งิ แวดล้อมตามธรรมชาติ ระบบการทาฟารม์ (Farming Systems) หมายถงึ ระบบการเกษตรของเกษตรกรโดยการใชป้ ระโยชน์จากทรพัยากรททม่ี อี ยู่ในครัวเรือน มีองค์ประกอบหรือกิจกรรมหลาย ๆ อยา่ งแตล่ ะกิจกรรมมีความสัมพนั ธ์ซง่ึ กันและกนั และแต่ละกจิ กรรมตา่ งก็มปี จั จยั หลายอย่างมาเกีย่ วขอ้ ง เช่น ปจั จัยทางกายภาพชีวภาพ เศรษฐกจิ สงั คมและสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงกจิ กรรม หนึง่ จะมีผลกระทบไปถึงกจิ กรรมอ่นื ๆ ดว้ ย ระบบการทาฟารม์ มิไดห้ มายถึงเพยี งพืชตา่ ง ๆ มีสตั วต์ ่าง ๆ ที่เลีย้ ง หรอื กจิ กรรมอน่ื ๆในฟารม์ เท่าน้ัน แต่หมายถึงขอบข่ายเชือ่ มโยงอนั สลับซบั ซอ้ นของ ดิน พชื สัตว์ แรงงาน เครื่องมือและ ปจั จัยการผลิตต่างๆ ทเี่ กษตรกรมอยู่รวมทง้ั อทิ ธพิ ลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ และสงั คมซง่ึ เปน็ เงอ่ื นไขของเกษตรกรในการผลิตตลอดจนการปรบั เทคโนโลยกี ารผลิตให้เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มดังกล่าว เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายและความพอใจของ เกษตรกร ตวั อย่างแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ของปจั จัยต่าง ๆ ในระบบการทาฟาร์มเหน็ ไดว้ ่าปัจจัยตา่ ง ๆ มีสว่ นสัมพนั ธ์กัน เช่น ผลผลิตจากพืชไร่เปน็ อาหารสตั ว์ วสั ดรุ องคอกมูลสตั ว์นามาใช้ทาปยุ๋ เปน็ ต้นวิชา หลกั การจัดการฟาร์ม วนชิ บุญผ่องเสถยี ร

9ความหมายของคาทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับระบบการทาฟาร์ม พืชเป็นองคป์ระกอบสาคญั ของระบบการทาฟารม์ ทงั้ นีเ้ พราะพืชเป็นอาหาร ยารักษาโรค ทอ่ี ยู่อาศยั ธาตุอาหารบารงุ ดินซงึ่ เป็นสว่ นสาคญั ของสภาพแวดล้อมตามธรรมชาตมิ นุษย์พยายามที่ จะจัดระบบการปลูกพชื ให้สะดวกและง่ายตอ่ การดูแลรกั ษาและเก็บเก่ยี วผลผลิต จงึ ได้เปลย่ี นระบบ จากการที่ปล่อยให้พชื ทปี่ ลูกขึน้ ปะปนกนั อยา่ งไมเ่ ป็นระเบียบเชน่ ในสภาพธรรมชาติ มาเป็นการปลูก อย่างเป็นแถวเปน็ แนวบา้ งหว่านเป็นผืนเดยี วกันบา้ ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบการปลูกพืชตามวิธกิ ารปลูก ระบบการปลกู พชื (Cropping System) เป็นกิจกรรมเก่ยี วกบั การผลติ พชื ในฟาร์มหนง่ึ ๆ รวมไปถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ทจี่ าเปน็ สาหรับการปลูกพชื และความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับส่งิ แวดล้อม ซ่งึ ปจั จบุ ันมีลักษณะของระบบการปลกู พืชแบบตา่ ง ๆ มากมาย แบ่งระบบการปลูกพืชได้กว้าง ๆ ออกเปน็ 5 ระบบ คือวิชา หลักการจัดการฟารม์ วนชิ บญุ ผอ่ งเสถียร

10 1. ระบบการปลูกพชื ร่วม (Intercropping) หมายถึง ระบบการปลกู พชื ต้ังแต่สอง ชนิดรว่ มกนั ในเวลาเดยี วกันหรอื เวลา ใกลเ้ คยี ง กัน อาจเปน็ รปู แบบใดกไ็ ด้ ใน 2 รปู แบบ ดังนี้ 1.1 การปลูกแบบแซมเป็นแถว (Row Intercropping) หมายถึง ระบบการปลูกพืชรว่ มทีม่ อี ย่างนอ้ ยหน่ึงชนดิ ที่ปลูกเปน็ แถว ที่เหลือนอกจากน้อี าจจะปลกู เป็นแถวสลับกบั พืชแรกหรือปลกู ไม่เป็นแถวอยู่ในระหว่างแถวของพชื แรกกไ็ ด้ 1.2 การปลูกแบบผสม (Mixed Intercropping) หมายถงึ การปลูกพืชรว่ มท่ีไมเ่ ป็นแถวเปน็ แนวโดยปลกู ผสมกันไปตามความเหมาะสมของสภาพที่ตอ้ งการตามธรรมชาตเิ ชน่ เดียวกับสภาพป่าไมใ้ นธรรมชาติ การปลูกพืชร่วมในเวลาเดยี วกัน ใชเ้ ครอื่ งหมาย + แสดงการรว่ มของระบบ เชน่ ขา้ วโพด + ถั่วลิสงหมายถงึ การปลูกขา้ วโพดร่วมกบั ถว่ั ลิสงในเวลาเดียวกนั เปน็ ตน้ 2. ระบบการปลกู แบบรบั ช่วง (Relay Cropping) หมายถึง ระบบการปลูกพชื ท่ีสองขณะทพี่ ชื แรกยัง ไม่เกบ็ เก่ยี วและหลงั จากพืชแรก ออกดอก โดยปลกู ในพนื้ ท่เี ดียวกัน ซ่ึง อาจปลกรู ะหว่างแถว (inter – row) หรือ ปลูกผสม (Mixed) ก็ได้ การปลูกแบบรบั ชว่ งร่วมกัน ใชเ้ ครอื่ งหมาย – แสดงการร่วมในระบบ เชน่ ข้าว – ถวั่ เหลอื ง หมายถงึการปลกู ขา้ วแล้วรับชว่ งโดยการปลูกถ่วั เหลอื งกอ่ นการเก็บเก่ียวขา้ ว เปน็ ต้นวชิ า หลักการจดั การฟารม์ วนิช บุญผอ่ งเสถยี ร

11 3. การปลูกพืชหมุนเวยี น (Crop Rotation) การปลกู พืชสองชนิดหรือมากกว่าลงบน พ้ืนทเี่ ดยี วกัน แตว่ า่ ปลูกไม่พร้อมกัน โดยมี การจดั ลาดบั พชื ที่ปลกู อย่างมรี ะเบียบ (Regular Sequence) ชนิดของพืชและหลกั ปฏิบตั ิในการปลกู พชื หมุนเวียน - เลือกพชื ให้เหมาะสมกับดนิ ภมู ิประเทศและภมู ิอากาศ พืชที่เลือกควรสามารถปรับ ตวั เข้ากบัสภาพแวดล้อมได้ เช่น ไมเ่ ปน็ พืชท่ีตอ้ งมกี ารพรวนดินบอ่ ยครงั้ - ในระบบการปลูกพืชหมุนเวียนตอ้ งมพี ชื ตระกูลถ่วั หรอื ตระกูลหญ้า ซ่ึงมีการเจรญิ เตบิ โตอย่างหนาแน่น เพอื่ เปน็ การรกั ษาหรอื เพิ่มปรมิ าณไนโตรเจนและอนิ ทรียวตั ถใุ นดิน เพราะพชื บางชนิดทปี่ ลกู ในระบบพืชหมนุเวียน จะนาไนโตรเจนจากดินไปใชเ้ ป็นจานวนมากในแต่ละปี เช่น ข้าวโพด มันฝรั่ง ยาสูบ ฝา้ ยเปน็ ต้น ตามปกติ ในระบบการปลกู พืชหมุนเวียนจะมีการปลูกพชื ตระกูลถัว่ ผสมกับหญา้ ตง้ั แต่ 1 ใน 4 ถึง1 ใน 3 ของพน้ื ท่ีปลกู พืชหมุนเวยี นหรอื มากกว่า - การเลอื กลาดบั พชื การจัดลาดับพชื ท่ีปลกู ก่อนหลังจะมีอทิ ธพิ ลตอ่ ผลผลติ พืชที่ปลกู ตามมา เชน่ขา้ วโพดท่ีปลกู ตามหลังพืชตระกูลถวั่ ทมี่ ีรากหยง่ั ลึก ทาใหข้ ้าวโพดไดผ้ ลผลิตสูงกว่าเพราะ รากสามารถชอนไชไปในดนิ ไดม้ ากกว่าและไดร้ บั ไนโตรเจนจากเศษเหลือของพชื ตระกูลถัว่ การจัดลาดบั พชื ในระบบพชื หมนุ เวยี นมคี วามสาคญั ในเขตพน้ื ท่คี อ่ นข้างแห้งแลง้ เพราะจะทาใหม้ ีความชื้นในดินเหลอื อยแู่ ตกต่างกันแล้วแต่ชนดิของพชื ทม่ี ีระบบรากแตกต่างกนั เช่น ขา้ วโพดจะมีรากตน้ื เม่อื เปรียบเทยี บกบั ข้างฟา่ ง พชื ท่ีปลูกหลังขา้ วโพดจงึ มปี ริมาณความชน้ื ที่เป็นประโยชน์ เหลือทจี่ ะใชม้ ากกว่าพืชท่ปี ลูกตามข้าวฟ่าง ทาให้ผลผลิตของพืชทป่ี ลกูตามข้าวโพดสงู กว่าพชื ท่ีปลูก ตามข้าวฟา่ ง เป็นตน้วิชา หลักการจัดการฟาร์ม วนชิ บญุ ผอ่ งเสถียร

12 4. ระบบการปลกูแบบทวกิ สกิ รรมหรอื แบบรวม (Double of Sequential Cropping) หมายถงึระบบการปลกู พืชแรกจนเก็บเกี่ยวแล้วจึงปลกู พชื ทสี่ องตามทนั ทีหรอื เวน้ ช่วงไมน่ านนกั โดยเฉพาะในสภาพของพ้ืนทท่ี ี่ยงั มีความชื้นและนา้ ในดินเหลือจากการปลูกพชื แรกเพียงพอต่อการเจริญเตบิ โตและให้ผลผลิตของพชื ที่สอง 5. ระบบการปลูกแบบตา่ งระดับ (Multi – Storeyed Cropping) หมายถงึ การปลกู พืชทมี่ ีความสงู และความต้องการแสงสว่างแตกต่างกันในพ้ืนทเี่ ดียวกัน เช่น พืชตระกูลถว่ั โกโก้ กาแฟ พริกไทย กานพลูและมะพร้าว ในพ้ืนที่และในเวลาเดียวกนั ซงึ่ แตล่ ่ะชนิดมีความสูงและความต้องการแสงแดดแตกต่างกันและสามารถอยรู่ ว่ มกันได้ 6. ระบบการปลูกแบบราทนู (Ratoon Cropping) หมายถงึ การใช้พืชที่สามารถจะยดื ระยะเวลาใหผ้ ลผลิตไดม้ ากกว่าหนง่ึ ฤดูกาลโดยไมต่ อ้ งมีการปลกู ใหม่ โดยใชว้ ิธกี ารตดั ให้เหลือตอซง่ึ จะแตกก่ิงก้านและใหผ้ ลได้ใหม่ เชน่ ฝา้ ย อ้อย ข้าวฟ่าง สับปะรด ละหุ่ง เปน็ ต้นประเภทของระบบการทาฟาร์ม การทากิจกรรมการเกษตรของเกษตรกรมคี วามแตกต่างกนั ในแตล่ ะครวั เรอื น มีการจดั สรรทรัพยากรที่มอี ยอู่ ย่างมีระบบ ซึ่งเกดิ จากการเรียนรู้และประสบการณ์ การจดั ระบบการทาฟารม์ โดยการปลูกพชื หลายชนดิ ในพ้ืนท่ีเดียวกนั ย่อมแกง่ แย่งปจั จัยสาคัญในการเจริญเติบโตร่วมกัน การใชว้ ธิ ีใดก็ตามท่ีเปน็ การลดการแข่งขนั การเจรญิ เตบิ โตของพืชดังกล่าวใหน้ อ้ ยท่ีสุด และการใหป้ ระโยชน์ซง่ึ กนั และกัน ตลอดจนการให้ประโยชน์แกเ่ กษตรกรมากที่สุด นบั ว่าเปน็ การจัดระบบการทาฟาร์มทดี่ ี ถ้าพิจารณาระบบการทาฟาร์ม(Farming Systems) ตามลกษั ณะของพืชทปี่ ลกู สามารถแบง่ ระบบการทาฟารม์ ได้ 4 ประเภทคอืวชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนิช บญุ ผ่องเสถียร

13 1. ระบบการทาฟารม์ ที่มีข้าวเป็นพชื หลกั (Rice Base Farming System) เปน็ ระบบการทาฟาร์มในสภาพทีร่ าบลุ่มท่มี กี ารปลูกข้าวเป็นพืชหลกั ในฤดูฝนตามดว้ ยพชื อนื่ ๆ (พชื ไร่ พืชผกั กอ่ นหรอื หลังการปลูกขา้ ว) ตัวอยา่ ง การปลกู พืชท่ีมขี า้ วเปน็ พชื หลัก ข้าวนาปี – ขา้ วนาปรัง ข้าวนาปี – พชื ผกั ถ่วั เขียว – ข้าวนาปี – ข้าวโพดฝักอ่อน งา – ข้าวนาปี – ถวั่ เหลือง ข้าวนาปี – ถ่ัวลิสง – ข้าวโพดหวานวชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนชิ บุญผ่องเสถยี ร

14 2. ระบบการทาาฟารม์ ที่มพี ชื ไร่เป็นพืชหลกั (Field Crop Base Farming System) เป็นระบบการทาาฟารม์ ในท่ดี อนซึ่งเกษตรกรปลกู พชื ไร่เป็นพืชหลกั แล้วตามด้วยพืชอ่ืน ๆ ตัวอย่าง การปลูกพืชท่มี พี ชื ไรเ่ ปน็ พชื หลกั ขา้ วโพด – ถัว่ ลิสง ข้าวโพด – ข้างฟา่ ง ข้าวโพดฝกั อ่อน – ถว่ั เหลือง – ข้าวโพด งา – ข้าวโพด – ขา้ วฟ่าง 3. ระบบการทาฟารม์ ที่มีพชื สวนเปน็ พชื หลกั (Perennial Crop Base Farming System) เป็นระบบการทาฟารม์ ทั้งในสภาพท่ดี อนและที่ลมุ่ โดยมีพชื สวนปลูกเป็นพชื หลกั ซง่ึ ในสภาพท่ีลมุ่ จาเป็นต้องปลูกแบบยกรอ่ ง สว่ นในสภาพท่ดี อนไม่จาเปน็ ตอ้ งปลูกแบบยกรอ่ ง ในการจัดระบบการทาฟาร์มท่มี พี ืชสวนเป็นหลกั นั้น นิยมปลกู ไม้ผลเป็นพืชหลักและปลกูไม้ผล พชื ผัก พชื ไร่ เป็นพืชแซม ซึง่ พืชแซมเหล่านี้สว่ นใหญจ่ ะเป็นพชื ทีส่ ามารถทาเงนิ ใหเ้ กษตรกรภายในระยะเวลาอนั ส้นั ไม้ผลที่แนะนาใหป้ ลูกเป็นพชื หลัก ไดแ้ ก่ สม้ โอกระท้อน ขนนุ มะขามหวาน มะม่วง มะปรางหวาน ลองกอง มังคุด ไม้ผลทแ่ี นะนาใหป้ ลูกเปน็ พืชแซม ได้แก่ ไม้ผลที่กล่าวในขา้ งตน้ แตป่ ลูกระยะชิดเพื่อการขยายพันธุ์ และพุทรา น้อยหนา่ ฝรง่ั กล้วย มะละกอ พชื ผักทแ่ี นะนาใหป้ลกูเปน็ พืชแซม ได้แก่ มะเขือ ฟัก แตงกวา มะระ ถว่ั ฝักยาว ข้าวโพดฝักออ่ น แตงไทย พรกิ ตะไคร้ โหระพา สะระแหน่ พชื ไร่ทีแ่ นะนาใหป้ ลกู เปน็ พชื แซม ได้แก่ ถ่ัวเหลืองรบั ประทานฝกั สด ถว่ั ลิสงวชิ า หลกั การจัดการฟารม์ วนชิ บุญผ่องเสถยี ร

15 4. ระบบการทาฟารม์แบบไรน่าสวนผสม และการเกษตรแบบผสมผสาน (MixedFarming and Integrated FarmingSystem) เปน็ ระบบการเกษตรท่ีมี การปลูกพืชหรือเลยี้ งสัตว์ ประมง และกจิ กรรมอน่ื ๆ หลายชนิดในฟาร์ม เพ่ือตอบสนองตอ่การบริโภค เพอ่ื ลดความเส่ียงจากราคาผลผลติที่ไม่แนน่ อน อาจมีการจัดการให้กจิ กรรมการผลติ ผสมผสานเก้อื กลู กัน เพอ่ื ลดต้นทนุ การผลิตและคานงึ ถึงสภาพแวดล้อมเช่น การปลกู ไมย้ ืนต้นในนา การเลยี้ งหมูควบคู่กับ การเลี้ยงปลาในนาขา้ ว เป็นต้นวชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนิช บญุ ผ่องเสถยี ร

16รปู แบบระบบการเกษตรแบบยงั่ ยืนทเ่ี หมาะสม เกษตรกรรมย่ังยนื (Sustainable agriculture) หมายถงึ การทาการเกษตรท่ีตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคและเปน็ มติ รกบั สภาพแวดล้อม และความสมดุลของสภาพธรรมชาติ หมายถึง ระบบการผลติ ทางการเกษตรหรอื ระบบฟาร์มในรูปแบบต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับภูมนิ เิ วศของแต่ละพ้นื ท่ีจดั เปน็ ระบบการผลติ ท่ีเหมาะสม (Appropriate production system) กบั สภาพทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในไร่นาท่ีแตกตา่ งกันออกไป ซึ่งรูปแบบของระบบการผลตทิ างการเกษตรแบบยงั่ ยนื นัน้ จาแนกออกเปน็ ลักษณะต่าง ๆ ตามองค์ประกอบท่ีสาคัญและมหี ลากหลายรปู แบบหรือชอื่ เรยี กทไี่ มเ่ หมือนกนั กไ็ ด้ตามแต่ลกั ษณะการผลิตว่าจะเนน้ หนกั ด้านใด หรือมจี ุดเด่นที่ต่างกันออกไปอย่างไร รปู แบบหลัก ๆ ทชี่ ัดเจนและเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจกันท่วั ไป ไดแ้ ก่ 1. เกษตรผสมผสาน (Integrated farming) เนน้ กิจกรรมการผลิตมากกว่าสองกจิ กรรม ขน้ึ ไปในเวลาเดียวกนั และกิจกรรมเหล่านีเ้ กอื้ กลู ซ่ึงกนั และกนั เป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้มากข้ึนจากการใช้ประโยชน์ทรพั ยากรทด่ี นิ ทม่ี ีจากดั ในไร่นาใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด จุดเด่น คอื เปน็ การจัดการความเสี่ยง (Risk management) และการประหยัดทางขอบข่าย(Economy of scope) 2. เกษตรอนิ ทรยี ์ (Organic farming) เนน้ หนักการผลติ ทไ่ี ม่ใช้สารอนินทรยี เ์ คมีหรอื เคมีสงั เคราะห์แตส่ ามารถใช้อินทรียเ์ คมีได้ เช่น สารสกัดจากสะเดา ตะไคร้หอม หรือสารสกัดชวี ภาพ เพือ่ เพม่ิ ความอุดมสมบรู ณ์แก่ทรพั ยากรดิน จดุ เดน่ คอื เป็นการสรา้ งความปลอดภัยด้านอาหาร (Food safety) ใหแ้ ก่ผูบ้ ริโภควชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนิช บุญผอ่ งเสถยี ร

17วชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม 3. เกษตรธรรมชาติ (Natural farming) เน้นหนัก การทาการเกษตรท่ีไมร่ บกวนธรรมชาติหรือรบกวนให้นอ้ ย ทส่ี ดุ ที่จะทาได้ โดยการไม่ไถพรวน ไมใ่ ช้สารเคมีไม่ใชป้ ุ๋ยเคมี และไม่กาจดั วชั พืช แตส่ ามารถมีการคลมุ ดนิ และใชป้ ยุ๋ พืชสด ได้ จุดเด่น คอื เปน็ การฟืน้ ฟคู วามสมดลุ ของระบบนิเวศ (Rehabilitation of ecological balance) และลดการพง่ึ พา ปัจจัย ภายนอก 4. เกษตรทฤษฎีใหม่(New theory agricultural) เน้นหนกั การจดั การทรพั ยากรนา้ ในไรน่ าใหเ้ พียงพอเพอ่ื ผลติ พืช อาหาร โดยเฉพาะข้าวเอาไวบ้ รโิ ภคในครัวเรือน รวมทงั้ มี การผลิตอื่น ๆ เพอ่ื บรโิ ภคแล่ะจาหนา่ ยสว่ นที่เหลือแกต่ ลาด เพือ่ สร้างรายได้อย่างพอเพียง จดุ เดน่ คอื เปน็ การสร้างความม่ันคงดา้ นอาหาร (Food security) ซ่งึ เปน็ ข้ันพ้นื ฐานของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ครวั เรอื น 5. วนเกษตร (Agroforestry) เน้นหนกั การมีต้นไม้ ใหญ่ และพืชเศรษฐกิจหลายระดับท่เี หมาะสมกับแตล่ ะพน้ื ท่ี เพื่อการใช้ ประโยชนป์ า่ ไม้ของพชื หรอื สัตว์ชนิดต่าง ๆ ท่ีเก้อื กลู กนั ทง้ั ยงั เป็นการเพมิ่ พ้นื ที่ของทรัพยากรป่าไมท้ ี่มีจากัดได้อกี ทางหนึ่ง จดุ เด่น คือ เปน็ การคงอย่รู ว่ มกันของป่าและการ เกษตรทั้งยังเพมิ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) วนิช บุญผอ่ งเสถยี ร

18วชิ า หลักการจดั การฟาร์ม วนิช บญุ ผ่องเสถียร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook