2 ความสาคญั ของการจดั การฟารม์ การจดั การฟารม์ เปน็ วชิ าการแขนงหนงึ่ ที่เก่ยี วขอ้ งกับวิทยาศาสตร์ประยกุ ตเ์ พอ่ื มุ่งเนน้ การหาแนว ทางการแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ภายในฟาร์ม เช่น ทรัพยากรท่ดี ิน ทนุ และแรงงาน เป็นหลักนอกจากนี้ยังมีสว่ น เกยี่ วขอ้ งสมั พันธก์ ับราคาและการตลาด การพัฒนาการทาฟาร์มของ ประเทศไทย ได้มีการพัฒนาและ เปลีย่ นแปลงมาโดยตลอด จากการทา ฟารม์ เพือ่ ยังชพี การทาฟาร์มแบบรวม จนกระทงั่ มาสู่การทาฟาร์มแบบเชงิ การค้า ซึ่งทง้ั หมดสบื เน่ืองมาจากการ เปลยี่ นแปลงด้านทรัพยากร เศรษฐกิจ และสังคมและดว้ ยเหตุผล ทว่ี ่าการทา ฟาร์มหรือการจัดการฟาร์มเป็นการ ดาเนินงานภายใต้สถานการณ์ความเส่ียง และ ความไม่แน่นอน อนั เน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงของ ปจั จัยหลายอย่างที่เกษตรกรไมส่ามารถ ควบคมุ ได้ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพดินฟา้ อากาศ การขน้ึ ลง ของราคาสินค้าเกษตร ตลอดจนความตอ้ งการและการแข่งขนั ในการผลติ สินค้าเกษตร ดงั นนั้
3 ความจาเปน็ ในการจัดการหรอื การตดั สนิ ใจนัน้ จงึ มีความสาคัญหากการจดั การไม่เหมาะสมหรอื ไม่ ถูกต้องอาจจะทาให้ เกดิ การขาดทุนหรือเสียหายได้ แต่ถ้าเกษตรกรมกี ารจัดการท่ดี ี และตัดสนิ ใจที่ถกู ต้อง กจ็ ะ ทาให้ประสบความสาเร็จได้ นั่นหมายความวา่ มีความเสียหายน้อยทสี่ ุด หรือมีความเสี่ยงนอ้ ย แต่ได้ ประโยชน์มากทส่ี ดุ กล่าวคอื ก่อให้เกดิ รายไดแ้ ละกาไรมาก ความสาคญั ของการจดั การฟาร์มเก่ียวขอ้ ง ดงั นี้ 1. บริหารและจัดการทรัพยากรที่มอี ยู่อย่างจากดั และเป็นแนวทางแก้ปัญหากิจกรรม ภายในฟาร์ม 2. การใช้ปัจจยั การผลิตในฟารม์ ให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สุด 3. การคัดเลอื กกจิ กรรมการผลิตให้สอดคลอ้ งกบั ทรพั ยากรท่มี อี ยู่ตลอดจนความรู้ ความสามารถและ ทักษะของเจา้ ของฟารม์ 4. การจดั การด้านแรงงานและเงินทนุ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด เนื่องจากสภาพปจั จุบันแรงงาน ครัวเรือนและแรงงานจา้ งค่อนข้าจากดั ตลอดจนเทคโนโลยีสมยั ใหม่เข้ามา จึงจาเป็นต้องใชเ้ งนิ ทนุ เข้ามา ช่วยสนับสนนุ ดงั น้ัน การจัดการจงึ เนน้ ถงึ การควบคมุ ดแู ลและการกากับการใช้ปัจจยั แรงงาน และเงนิ ทนุ 5. พนื้ ท่ีการเกษตรเร่มิ มขี นาดเล็กลง และทรัพยากรเริม่ จากดั ไมว่ า่ พ้ืนทห่ี รอื แรงงานก็ตาม จึง จาเปน็ ต้องเพิม่ ธุรกจิ ภายในฟาร์มทม่ี ีขนาดเทา่ เดิมให้มากข้นึ โดยอาศัยการจัดการฟารม์ ทถ่ี กู ตอ้ ง และ เหมาะสม 6. การวางแผนและการวิเคราะห์ฟารม์ เพอ่ื กาหนดทศิ ทางการผลิตใหส้ อดคล้องกับทรัพยากร และ ความต้องการของตลาด ส่ิงสาคัญให้เกิดความเสี่ยงน้อยท่ีสดุ 7. เนื่องจากการตลาดนาการผลิต การจัดการฟาร์มจงึ ต้องตระหนกั ถงึ ระบบการตลาด การซื้อ การ ขายผลผลิต ชว่ งระยะเวลา และคุณภาพของผลผลติ เป็นตน้
4 ความหมายของการจัดการฟารม์ “การจดั การ” (Management) หมายถึงการจดั สรรทรัพยากรท่ีมอี ยู่จานวนจากัดในการ ผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร เพอื่ สนองความต้องการของมนุษย์ หรอื เพ่อื ใหไ้ ดต้ ามวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ “การจดั การฟารม์ ” (Farm Management) หมายถึง การจดั สรรทรพั ยากรของหนว่ ย ธรุ กจิ ฟาร์ม ได้แก่ ทดี่ นิ แรงงาน ทุน ท่ีมอี ยู่จานวนจากดั มาใช้ในการผลิตพชื เลย้ี งสัตว์ และประมง เพ่ือให้ไดต้ าม วตั ถปุ ระสงค์ที่กาหนดภายใตก้ ารเสี่ยงและความไมแ่ นน่ อน การจัดการฟาร์มนี้จะรวม ถงึ การวางแผน และ งบประมาณฟารม์ ตอ่ การปลกู พืช เล้ียงสตั ว์ และประมง ในการพัฒนาการผลติ การเกบ็ บนั ทกึ ข้อมูลเพ่อื การ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิผลการทาฟาร์มเอาไว้ด้วย อยา่ งไรก็ตาม การจดั การ ฟาร์มที่ดีนั้น นอกจากจะ ใหไ้ ด้กาไรสูงสดุ และทาให้ได้ตามวัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดแลว้ ยังจะต้องจัดแบง่ เวลาให้เหมาะสมดว้ ย ดังน้นั การจัดการฟาร์มมิไดม้ งุ่ หวังเพยี งกาไรสูงสดุ เทา่ นนั้ แต่ยังมีจดุ มุ่งหมายทก่ี อ่ ให้เกดิ รายได้ อยา่ งตอ่ เน่อื งจากกิจกรรมภายในฟาร์ม โดยเฉพาะการจัดการฟารม์ ในลกั ษณะไรน่ าสวนผสมของเกษตรกร ไทยท่ีจะให้มีรายได้ประจาวนั ประจาสัปดาห์ ประจาเดอื น ประจาสามเดือน หกเดือนและ รายปี ตลอดจนสง่ เสริมให้มีการพฒั นาฟารม์ ลกั ษณะดงั กล่าวเป็นแหล่งอาหารและใช้สอยในครัวเรือน ด้วย นอกจาก การเพิ่มรายไดแ้ ลว้ ยังพิจารณาถึงความกนิ ดอี ยู่ดี ความมีหน้าทใ่ี นสังคม ความรน่ื รมย์ ในชีวิต ความสุขใน ครอบครัวการพกั ผ่อนหย่อนใจ ความมัน่ คงในอาชีพการเกษตร ตลอดจน ความสมดลุ ของ สภาพแวดลอ้ ม ลักษณะการทาฟารม์ ของประเทศไทย ประเทศไทยเป็นแหล่งกาเนิดของอารยะธรรมและการเกษตร ท่ี สาคญั แหล่งหนง่ึ ของโลก ซ่ึงมีแบบแผนการดารงชีพทางการเกษตรของ มนษุ ยใ์ นการปลกู พืชเลี้ยงสัตว์เป็นหลักเพื่อการ ยังชวี ิต อย่างไรก็ตาม การทาการเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์บนพ้ืนที่การเกษตรหรือฟาร์มนั้น ประกอบด้วย ส่ิงมชี ีวิต พืช สตั ว์ ประมงทรัพยากรดินและนา้ แสงสวา่ ง ความชืน้ สิ่งมีชีวิตในดิน เคร่ืองมือ อปุ กรณ์การเกษตร การ จัดการ และ มนุษย์ เป็นผกู้ ระทา ตลอดจนปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผล กระทบต่อฟารม์ เพ่ือตอบสนอง วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของมนุษย์ ชมุ ชนและสังคมเทา่ นนั้ สาหรับลักษณะการทาฟาร์มของประเทศไทยหรือสากลนั้น แยกได้ 3 ลักษณะคอื 1. การทาฟารม์ แบบยังชีพ (Subsistence Farms) เปน็ การทาฟารม์ หรือทาการเกษตรแบบ ยงั ชีพ ไมไ่ ด้ม่งุ หวงั การทาการผลิต เพื่อผลติผลออกมา จาหน่ายหรือค้าขาย เน่ืองจากเจ้าของฟาร์ม ชุมชน
5 และสังคมแต่ละพื้นทีต่ ่างก็มีพ้ืนท่ี ตา่ งก็มีทรัพยากร ภายในฟาร์มทย่ี งั สมบรู ณ์ ระบบการตลาดหรอื ค้าขายยงั ไมม่ กี ารพัฒนา เพยี งแตม่ กี ารแลกเปลีย่ น สินคา้ เกษตรกนั บ้าง ตลอดจนระบบการปกครองและการล่า อาณานิคมยังไมแ่ พรห่ ลาย การคมนาคม และการส่ือสารยงั ไม่สะดวก การทาฟาร์มประเภทนี้ จงึ มุง่ เนน้ ถึง ฟาร์ม คอื แหล่งอาหาร และใช้สอย ในครัวเรือนเท่าน้นั 2. การทาฟารม์ แบบรวม (State and Collective Farms) เป็นการรวบรวมทรัพยากรทดี่ นิ ทุน และแรงงาน เข้าด้วยกันภายใตก้ ารจดั การของคนใด คนหนึง่ หรือกลุ่มคนใดกลุ่มคนหนึ่ง เพ่อื ตอ้ งการผลผลิต ปริมาณมากและทนั ตอ่ เวลา ฟาร์มลกั ษณะ เช่นนี้ เกิดขน้ึ เมือ่ มีการเจรญิ เตบิ โตด้านสงั คม เศรษฐกิจ และอานาจทางการเมืองโดยผู้ท่ีมี อานาจหรอื อิทธพิ ลพยายามที่จะรวบรวม ทรพั ยากรการผลิตทัง้ หมดเอาไวเ้ พื่อเป็น อานาจในการต่อรอง การทาฟารม์ จึงเกิดข้นึ ในลักษณะการผลิตแบบรวมและจัดสรรเป็น หมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการจดั การด้านการ ผลติ 3. การทาฟารม์ แบบค้าขาย (Commercial Farms) การทาฟารม์ เร่มิ ได้รบั การพัฒนาข้นึ เนอ่ื งจากการขยายตวั ทางเศรษฐกิจและสงั คม ระบบนายทุนนิยมและวชิ าการสมัยใหม่ในการ ผลติทาง การเกษตรเกิดขนึ้ เชน่ วิธกี ารเพาะปลูก การเลย้ี งสัตว์ การใชพ้ ันธุ์ การใชป้ ยุ๋ สารเคมี และ เครื่องจักรกลการเกษตรตลอดจนวิทยาการหลังการเก็บเกยี่ ว เป็นตน้ นอกจากน้ี ความจาเป็นอย่างหน่งึ คอื ประชากรเพ่มิ มากข้ึนตอ้ งการ อาหารมากขน้ึ ชมุ ชนแต่ละชุมชนหรอื สังคมมีความสัมพนั ธต์ ดิ ต่อกนั มาก ข้นึ ความจาเป็นดา้ นการตลาด ทางการคมนาคมมมี ากขน้ึ การเปลี่ยนแปลง และขดี จากัดของทรัพยากรท่ีมีอย่เู ร่ิมลดน้อยลง ดังนั้น จงึ เกิดการทาฟารม์ แบบ คา้ ขาย เพอื่ แลกเปลี่ยนเงินตราเข้ามาสู่แตล่ ะชุมชนหรอื แต่ละประเทศ เพอื่ ตอบสนองการลงทนุ ส่วนหน่งึ เพ่ือ จะเอาชนะทรพั ยากรธรรมชาติทีม่ อี ยู่อยา่ งจากัด อกี สว่ นหน่งึ เพอ่ื ตอบสนองด้านเศรษฐกจิ และสงั คมของ ชมุ ชนนน้ั หรือประเทศนน้ั ฟารม์ เปน็ แหล่งทรพั ยากรอันย่ิงใหญ่ของครัวเรือนเกษตรกรในการผลิตทาง การเกษตร หรืออาจจะกลา่ วได้วา่ ฟารม์ เปน็ หน่วยการผลิตหน่วยหน่งึ ดังคาว่า Farm as a Unit เมอ่ื เรามี ความ เข้าใจคาวา่ ฟาร์มและการพัฒนาระบบการทาฟาร์มท่ีผ่านมาแล้ว สิ่งท่จี าเปน็ มากท่ีสดุ ในปัจจบุ นั น้ี คือ การใช้ทรพั ยากรการผลิตอย่างไร จงึ จะคมุ้ คา่ กับด้านเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และสิง่ แวดลอ้ ม ดังน้ัน เกษตรกรเป็นผู้มีสว่ นร่วมในกระบวนการผลตจิ ะต้องเป็นผ้ทู ีม่ ี ความรู้ ความสามารถและทักษะ ที่จะผลติ สนิ ค้าการเกษตร ภายใตเ้ ง่ือนไขทรัพยากรการผลิตท่ีมอี ย่อู ย่างจากัด ซ่ึงไดแ้ ก่ ทด่ี ิน ทุน และแรงงาน การ จดั การดา้ นทรัพยากรดงั กล่าว จะต้องมีแบบแผนทางวิชาการและความเหมาะสมกับ สภาพพนื้ ท่เี ป็นหลัก เพอื่ ใหผ้ ลตอบแทนสงู สุด ตน้ ทนุ การผลิตต่าสุด
6 อยา่ งไรกต็ าม การผลติ ของเกษตรกรไทยสว่ นใหญย่ งั คงไว้ซงึ่ เพือ่ การบรโิ ภคและจาหน่าย แตร่ ูปแบบ วิธกี ารเร่ิมมีการแข่งขนั เชงิ การค้ามากขนึ้ กลา่ วคอื เน้นทั้งปริมาณและคุณภาพของผลผลิต เพ่ือตอบสนอง ความต้องการของตลาด หากจะเปรยี บเทียบการทาฟาร์มในลกั ษณะบรษิ ทั แล้ว ซง่ึ ปจั จุบนั ในประเทศไทยก็ มอี ย่หู ลายบริษัท มีรูปแบบการทาฟารม์ มุง่ เน้นธรุ กจิ เกษตรเปน็ หลัก มกี าร ใช้เทคโนโลยขี น้ั สูง การใช้ปัจจยั การผลติ ค่อนขา้ งสงู มรี ะบบเครอื ข่ายการตลาดท่ีชัดเจน และการจดั การที่มีประสิทธภิ าพสงู
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: