การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพขององคก์ าร
1. ความหมายของการเพม่ิ ประสิทธภิ าพในองคก์ าร 2. พฤตกิ รรมองคก์ าร 3. แนวคดิ พนื้ ฐานเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมองคก์ าร 4. ความหมายของพฤตกิ รรมองคก์ าร 5. ความสาคญั ของพฤตกิ รรมองคก์ าร
การเพิ่มประสิทธภิ าพขององค์การเป็นเสมอื นจดุ มงุ่ หมายหลัก ในการพฒั นาทรพั ยากรขององค์การทุกด้าน โดยเฉพาะ ทรัพยากรบุคคลเป็นอันดับแรกและสิง่ สาคญั ทีส่ ดุ ในการพัฒนา เพอ่ื ให้บรรลุเปา้ หมายของการเพมิ่ ประสิทธิภาพขององคก์ าร
1. ความหมาย ระดับของ ประสทิ ธิภาพการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ วิธีเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ขององคก์ าร นิสยั บุคคล เกณฑ์วดั องคป์ ระกอบ 4. ความสาคญั 2. แนวคดิ พืน้ ฐานพฤตกิ รรมองคก์ าร 3. ความหมายของต่อผู้บริหาร พฤติกรรมองค์การ การศกึ ษา ผลดี
เปน็ กระบวนการวางแผนที่มุ่งจะพัฒนาความสามารถขององคก์ าร เพอื่ ให้สามารถทจี่ ะบรรลแุ ละรักษาไวซ้ ึ่งระดับการปฏิบตั ิงานท่ีพอใจทีส่ ดุ ซงึ่ สามารถวัดไดใ้ นแง่ประสิทธภิ าพประสิทธิผล และความเจรญิ เตบิ โตขององคก์ าร
การเพิ่ม - จานวนทีม่ ากขนึ้ คุณภาพท่ีสงู ข้นึ สวยงามข้ึน รวดเร็วข้ึน ประสิทธภิ าพ - การทางานท่มี กี ารใช้ ท/ก ใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด ประสิทธผิ ล - การทางานใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค/์ เป้าหมายที่วาง ไว้ องคก์ าร - หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏอยู่ในสังคม
มี 2 ระดบั ประสทิ ธภิ าพของบุคคล - บุคคลทตี่ งั้ ใจปฏบิ ัตงิ านอยา่ งเต็ม ความสามารถ ใชว้ ิธกี ารทางานทสี่ ร้างผลงานได้มาก และมีคณุ ภาพ เปน็ ที่นา่ พอใจ โดยสิ้นเปลืองค่าใช้จา่ ย พลังงาน และเวลานอ้ ย ประสทิ ธิภาพขององค์การ - การทอี่ งค์การสามารถดาเนินงานตา่ ง ๆ ตามภารกิจหน้าที่ขององค์การโดยใช้ ท/ก ปัจจัยต่าง ๆ รวมถึง กาลังคน อยา่ งค้มุ คา่ ทสี่ ดุ มีการสูญเปล่านอ้ ยทสี่ ุด มกี าร ดาเนินงานม่งุ ส่ผู ลตามวัตถปุ ระสงคไ์ ด้อย่างดี
มี 3 วิธี 1) การลดตน้ ทนุ 2) การเพม่ิ ผลผลติ อย่างต่อเนอ่ื ง 3) การปรบั ปรงุ คณุ ภาพอย่างต่อเน่อื ง
มี 7 ประการ 1) ความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 2) การทางานเป็นทีม 3) การปรับปรุงต่อเนือ่ ง 4) การมุ่งท่กี ระบวนการ 5) การศึกษาและฝกึ อบรม 6) การประกนั คุณภาพ 7) การส่งเสรมิ ให้พนกั งานมสี ว่ นรว่ มการบริหารเชิงคณุ ภาพ เชน่ PDCA, 5 ส., QCC, TQM, หรอื Re-engineering
มกี ารใช้อยู่ 4 เกณฑ์ 1) เกณฑว์ ดั ผลตามเปา้ หมาย 2) เกณฑก์ ารบรหิ ารประสทิ ธิภาพเชิงระบบ 3) เกณฑ์การบรหิ ารประสทิ ธิภาพโดยอาศยั กลยทุ ธต์ าม สภาพแวดล้อมเฉพาะสว่ น 4) การใชว้ ธิ ีแขง่ ขันคณุ คา่ การสร้างองคก์ ารแหง่ คุณภาพ
องค์ประกอบท่ีสาคัญประกอบด้วย 1) พฤตกิ รรมในองค์การ 2) วฒั นธรรมในองค์การ 3) การจูงใจการทางานสภาพแวดล้อมเฉพาะส่วน 4) การติดตอ่ ส่อื สารในองค์การ 5) การฝกึ อบรม 6) การวเิ คราะห์งาน
การศกึ ษาพฤตกิ รรมองค์การ ตอ้ งเข้าใจความหมายของคาว่า พฤตกิ รรมมนษุ ยใ์ นองคก์ าร (Human Behavior in Organization) และ พฤติกรรมองคก์ าร (Organization Behavior) กอ่ น พฤตกิ รรมมนษุ ยใ์ นองคก์ าร เปน็ การมองระดบั ปจั เจกบคุ คล (Individual) พฤตกิ รรมองคก์ าร เป็นการมองในแง่ของกลุ่ม (Group)
การศึกษาพฤติกรรมองค์การของมนษุ ยใ์ นองคก์ ารอยา่ งเปน็ ระบบ ท้ังพฤตกิ รรมระดับบุคคล กล่มุ และองค์การ โดยใช้ ความร้ทู างพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่งความรทู้ ไี่ ดส้ ามาถนาไปใช้ใน การเพ่ิมผลผลิตและความพึงพอใจของบุคลากร อนั นาไปสู่การ เพิ่มประสทิ ธผิ ลขององค์การในภาพรวม
1. ความสาคญั ตอ่ ผบู้ รหิ าร 1.1 ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจและสามารถทานายและควบคุมพฤติกรรมของตนเอง 1.2 ทาให้เกดิ ความเข้าใจและสามารถทานายและควบคุมพฤติกรรมของผใู้ ต้บังคบั บัญชา 1.3 ทาให้เกดิ ความเข้าใจและสามารถทานายและควบคมุพฤตกิ รรมของเพอื่ นรว่ มงาน 1.4 ทาให้เกดิ ความเขา้ ใจและสามารถทานายพฤติกรรมของผูบ้ ริหาร บคุ คลอ่ืน และสภาวะตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งในการกาหนดนโยบายขององคก์ าร
2. ความสาคัญต่อผลการดาเนินงาน - การศกึ ษาเกย่ี วกบั เรอ่ื งของบุคคล กลมุ่ และโครงสร้าง (Structure) ทม่ี ีผลตอ่ กระทบต่อการการปรบั ปรุงประสทิ ธิผลในการดาเนินงานขององค์การให้ดียง่ิ ขึ้น ซงึ่ แยกศกึ ษาได้ 3 ระดบั คือ 2.1 ระดบั บุคคล ศกึ ษาอายุ เพศ สถานภาพทัศนคติ คา่ นิยม และระดับความสามารถ เปน็ ตน้ 2.2 ระดบั กลุ่ม กลไกของพฤติกรรมกลุ่ม การตดิ ต่อส่อื สาร การตัดสินใจของกล่มุ ความเป็นผู้นา อานาจและการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างกลุม่ ระดับความขัดแยง้ เป็นต้น 2.3 ระดบั องค์การ มคี วามซับซอ้ นทส่ี ุดเนอื่ งจากเป็นการรวมพฤตกิ รรมระดบั บคุ คลและกลมุ่ เข้าดว้ ยกนั โดยจะวเิ คราะหเ์ กย่ี วกับ การออกแบบองค์การท่ีเปน็ ทางการ เทคโนโลยี กระบวนการทางาน นโยบาย ท/ก ขององค์การ การปฏบิ ตั ิวัฒนธรรมภายใน ตลอดจนระดับความเครยี ดในงาน
3. ผลดีของการศึกษาพฤตกิ รรมองค์การ 3.1 การเพ่มิ ผลผลติ (Productivity) 3.2 ลดการขาดงาน (Absenteeism) 3.3 ลดการออกจากงาน (Turnover) 3.4 การเป็นพลเมอื งดีขององคก์ าร (OrganizationCitizenship Behavior) 3.5 ความพึงพอใจในการทางาน (Job Satisfaction)
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: