Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเลี้ยงลูก

หนังสือเลี้ยงลูก

Published by suticha, 2020-05-16 05:08:07

Description: หนังสือเลี้ยงลูก

Search

Read the Text Version

บทนำ คณุ ผอู า นคะ หากถามวา “ลกู ใครนา รกั ทส่ี ดุ ในโลก...ยกมอื ขน้ึ !” ทกุ ทา นคง ชงิ กนั ยกมอื จา ละหวน่ั ...ลกู ฉนั ...ลกู ฉนั ...ลกู ฉนั นแ่ี หละยอดเยย่ี มกวา ใครๆ ถกู คะ ...ถกู แลว ... คณุ พอ คณุ แมย อ มรจู กั ลกู ของตนเองดกี วา ใครๆ...รวู า ลกู นอ ย นา รกั สกั เพยี งไหน ไมม ใี ครไดส มั ผสั ผวิ นมุ ละมนุ ของเขามากเทา เรา ไมม ใี ครไดย นิ เสยี งออ แอ. ..เออ...ออ... ไมม ใี ครเหน็ ประกายตาสดใส ไมม ใี ครไดก ลน่ิ เสน ผมหอมกรนุ และไมม ใี ครเฝา ตดิ ตามความเฉลยี วฉลาดนา เอน็ ดู ของลกู รกั ไดเ ทา คณุ พอ คณุ แมอ ยา งแนน อน ...คนที่ใกลชิดที่สุดจึงเปนผูที่มีโอกาสดีที่สุดในการชื่นชมยินดี ในความนา รกั ทส่ี ดุ น้ี และเปน คนสำคญั ทส่ี ดุ ในการสนบั สนนุ ใหเ ดก็ นา รกั ทส่ี ดุ นเ้ี ตบิ โตเปน ผทู ม่ี คี วามสขุ ทส่ี ดุ จากความเกง และความดที ่ี พฒั นาเพม่ิ พนู ตามวยั ดว ย หนา ทย่ี ง่ิ ใหญน อ้ี ยใู นมอื คณุ พอ คณุ แมค ะ เราผเู ปน พอ แมช า งโชคดเี หลอื เกนิ ทธ่ี รรมชาตมิ อบหมายใหท ำ หนา ทส่ี ำคญั นบ้ี นพน้ื ฐานแหง ความรกั อยา งเตม็ ใจ

ทส่ี ำคญั หนา ทน่ี ย้ี งั จงู ใจใหเ ราอยากปรบั ปรงุ ตนเองใหเ ปน ทง้ั สง่ิ แวดลอ มและตน แบบทง่ี ดงามของลกู รกั อกี ดว ย เพราะมงุ ใหล กู ฉลาด เราจงึ ขยนั อา นขยนั เลา เพราะหมายใหล กู สดใส เราจงึ เรยี นรกู ารปลอ ยวางความโกรธ รจู กั ยดื หยนุ ใหอ ภยั เพราะคาดหวังใหลูกเปนคนดี เราจึงมีสติรูเทาทัน และระวัง ไมใ หค วามผดิ บาปมวั หมองกลำ้ กรายเขา มาใกลค รอบครวั หากมิใชเพราะความรักตอลูกนอย พอแมหลายคูคงไมมี โอกาสพฒั นาตนเองมากมายเพยี งน้ี อยา ลมื ชน่ื ใจในความตง้ั ใจดขี องตนเอง อยา ลมื ขอบใจหนนู อ ย แสนรักของคุณ และเราจะพบกันที่เสนทางสูความสำเร็จในการ เลย้ี ง “ใจลกู ” ดว ยความรกั ...นะคะ

มาเปด “ประตใู จ” ของลกู คนเดียววัย 3 ขวบ ใหสัมผัสความรกั จากคนรอบขา งไดก ันเถดิ (หัดฝ)ก แลบูกง ปคนนคเดวยี าวมรกั นกเปน ลกู คนเดยี วของคณุ พอ คณุ แม จงึ ไมใ ชเ รอ่ื งแปลก ที่ทั้งคูจะทุมเทความรักความใสใจใหนกมากมาย แมฐานะของ ครอบครัวจะไมถึงกับร่ำรวยมหาศาล แตพอแมก็ใหความสำคัญกับ นกเปนอันดับแรกเสมอ พอแมรูวาเงินทองเปนของนอกกาย แต ความสขุ ของนกเปน เรอ่ื งใหญท เ่ี งนิ ทองจะซอ้ื หาหรอื ทดแทนไมไ ด

14 เล้ียง “ใจลกู ” ใหถกู ทาง เมอ่ื นกปรารถนาจะไปทอ งเทย่ี วเรยี นรสู ง่ิ แปลกใหมท ไ่ี หน พอ แมก็ไมรั้งรอที่จะลางานหรือจัดการทุกอยางใหลงตัวเพื่อที่จะพานก ไปสมั ผสั ประสบการณด ๆี รว มกนั ทง้ั ครอบครวั และเมอ่ื นกอยากได อะไร พอแมก็ไมเสียดาย หากวาสิ่งที่อยากไดนั้นจะเปนประโยชน ในการสง เสรมิ พฒั นาการของนก รูปถายวันเกิดในแตละปของนกสะทอนภาพชีวิตที่พรั่งพรอม ของแมห นนู อ ยคนนไ้ี ดเ ปน อยา งดี รูปถายวันเกิดปแรก นกหัวเราะราอยูทามกลางกองตุกตา ของเลน เสรมิ พฒั นาการ และกลอ งของขวญั มากมาย รูปถายวันเกิดครบรอบสองขวบยังคงมีของขวัญรายรอบตัว หนูนอย แตสีหนาและแววตาของนกเปลี่ยนไป รอยยิ้มจางหายไป สายตาของแมห นดู เู ครง เครยี ดหงดุ หงดิ ... อาจจะดว ยความเจา อารมณ ตามประสาวยั เตาะแตะกไ็ ด. .. รูปถายปลาสุดเพิ่งถายไวเมื่อไมกี่สัปดาหที่ผานมาในวันที่นก อายุครบสามขวบ และเหตุการณในวันนั้นเองที่ทำใหนกตองมาพบ จติ แพทย สหี นา ของนกในวนั เกดิ ครบรอบสามขวบชา งเตม็ ไปดว ยความ ขุนเคือง สายตาคูนั้นขาดความเชื่อมั่น โดยที่ตุกตาและของขวัญ รอบตวั ไมอ าจชว ยใหส ถานการณด ขี น้ึ ไดเ ลยแมเ พยี งนอ ยนดิ คุณพอบอกวารูปถายนี้เปนภาพที่ดีที่สุดแลวของปนี้ เพราะ รูปอื่นๆ ลวนแตสะทอนความหมนหมองของนกยิ่งกวานี้อีกหลาย เทา คุณแมเลาวา สองสามวันกอนวันเกิด นกหงุดหงิดงอแง ปฏเิ สธการไปโรงเรยี น จนกระทง่ั ในวนั เกดิ ทน่ี กควรจะสนกุ กบั ปารต ้ี เล็กๆ กับเพื่อนๆ ที่โรงเรียนพรอมดวยขนมเคกชิ้นโตที่คุณแมจัด

พญ. อัมพร เบญจพลพิทกั ษ 15 เตรียมไวให แตรูปการณกลับกลายเปนวานกยิ่งปฏิเสธการไป โรงเรยี นอยา งรนุ แรง ระหวางการกรีดรองโหยหวนของนก สลับดวยการพร่ำ ปลอบโยนของคณุ พอ คณุ แม ความจรงิ จากหนนู อ ยวยั สามขวบเตม็ กพ็ รง่ั พรอู อกมา นกตอี กชกหวั พรอ มกบั เลา วา “ทโ่ี รงเรยี นไมม ใี ครรกั หนเู ลย... ไมม ใี ครสนใจหน.ู ..” การถา ยทอดอยา งกระทอ นกระแทน ทง้ั นำ้ ตาทำใหพ อ แมส รปุ ไดว า คณุ ครไู มส นใจนกเทา ทค่ี วร บางครั้งคุณครูสั่งใหเด็กๆ เตรียมตัวออกมารองเพลงหนาชั้น นกกพ็ ยายามฝก ซอ มมาอยา งดี แตค ณุ ครกู ลบั ปฏเิ สธไมใ หร อ ง บางครั้งนกยกมือตอบคำถามแตคุณครูก็ไมสนใจ ปลอยให เพอ่ื นแยง ตอบแลว ชมเพอ่ื น บอ ยครง้ั ทน่ี กทำอะไรดๆี แตค ณุ ครกู ลบั เพกิ เฉย ไมป รบมอื ให ไมช มเชย ไมใ หร างวลั ... คณุ ครไู มส นใจนก... คณุ ครไู มร กั นก เหตกุ ารณเ ชน นเ้ี ปน มาเนน่ิ นานแลว ในความรสู กึ ของนก เมื่อถึงวันเกิดที่จะเปนการฉลองครั้งแรกกับเพื่อนเตรียม อนบุ าลทน่ี กเพง่ิ จะรจู กั ไดเ พยี งสองเดอื น ขนมเคก ชน้ิ สวยนน้ั กท็ ำให นกกงั วลเหลอื เกนิ วา หากคณุ ครไู มส นใจ เพอ่ื นๆ ไมอ ยากกนิ นกจะ ทำอยา งไร วนั เกดิ ปน น้ี กจงึ ปฏเิ สธการไปโรงเรยี นอยา งรนุ แรง ไมข อเสย่ี ง ทจ่ี ะเปน เจา ของงานปารต เ้ี ลก็ ๆ นน้ั ดวยหัวอกของพอแมที่รักลูกดังแกวตาดวงใจ ทั้งคูจึงไมอาจ นิ่งเฉยอยูได การไตถามขอมูลเพิ่มเติมจากคุณครูไมไดชวยใหคุณพอ

16 เลย้ี ง “ใจลกู ” ใหถูกทาง คุณแมคูนี้ผอนคลายไดแมแตนิด มิหนำซ้ำขอมูลสวนใหญยังยิ่ง ทำใหว ติ กกงั วลมากขน้ึ คุณครูมีความเห็นวานกเปนเด็กไมอดทน เรียกรองความ สนใจ ออนไหวตอการถูกปฏิเสธ แตคุณครูก็ตกใจเมื่อทราบวานก เปราะบางกวา ทค่ี ณุ ครคู าดไว คณุ ครนู กึ ไมถ งึ วา นกจะปรบั ตวั กบั สถานการณน ไ้ี มไ ด คุณครูทราบดีวามีเด็กอีกมากมายที่ตองเผชิญกับความรูสึก เชน เดยี วกบั นก จะวา ไปแลว ยง่ิ คณุ ครทู ำงานนานขน้ึ กย็ ง่ิ พบวา เดก็ ยคุ ใหมม อี าการแบบเดยี วกนั นม้ี ากขน้ึ ทกุ ที ลูกคนเดียวยุคใหมจะเปนจุดสนใจและศูนยรวมความรักของ ครอบครวั จนไมอ าจยอมรบั ผใู หญท ส่ี นใจเดก็ อน่ื มากกวา ตนได คณุ ครดู ใี จทค่ี ณุ พอ คณุ แมต ดั สนิ ใจมาพบจติ แพทย และกไ็ ม รง้ั รอทจ่ี ะขอมารว มแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กบั คณุ หมอดว ย ทาทีใหเกียรติคุณครูของพอแมทำใหนกเริ่มเรียนรูที่จะมอง โลกและบคุ คลตา งๆ ในแงด ี และเรม่ิ มน่ั ใจในตวั คณุ ครมู ากขน้ึ ความกระตือรือรนและยินดีชวยเหลือของคุณครูชวยใหนก เขา ใจและปรบั ตวั กบั ปญ หาของตนเองไดอ ยา งรวดเรว็ นกเหน็ คณุ ครพู ดู คยุ กบั พอ แมอ ยา งใสใ จหลายครง้ั หลายหน นกเริ่มเปดใจยอมรับวาคุณครูนาจะเปนอีกคนหนึ่งที่รักนก ได. ..เหมอื นทพ่ี อ แมร กั แตความรักของคุณครูไมไดจำกัดอยูที่นกคนเดียวเหมือนพอ กบั แม หลังจากพอแมชี้แนะไปทีละนอยอยางใจเย็น นกก็เริ่มเขาใจ ในความรกั ของคณุ ครทู แ่ี ผก วา งขยายไปยงั เพอ่ื นๆ โดยทค่ี วามรกั ทม่ี ี ตอ นกกไ็ มไ ดล ดลง

พญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ 17 คณุ ครสู นใจนกนอ ยกวา เพอ่ื นคนอน่ื ๆ เพราะเวลาและโอกาส ทจ่ี ำกดั แตน น่ั ไมไ ดแ ปลวา ในหวั ใจของคณุ ครจู ะไมม คี วามรกั ใหน ก คณุ ครชู ว ยเสรมิ ยำ้ ความรสู กึ ดๆี นใ้ี หแ กน กดว ยการเลา นทิ าน ทม่ี เี นอ้ื หาเนน ความรกั ความสามคั คใี นกลมุ เพอ่ื นและพน่ี อ งใหน กฟง นาชื่นชมในความหนักแนนและความพยายามในการแกไข ปญหาบนพื้นฐานของการมองโลกในแงดีของพอแม ที่สำคัญตอง ขอบคุณในความมีสวนรวมของคุณครู ผูพรอมจะพัฒนาเสริมแตง หนูนอยตอจากพอแม ลูกคนเดียวอยางนกจึงมีโอกาสเรียนรูที่จะ แบง ปน ความรกั ใหแ กเ พอ่ื นรอบตวั และไดพ บวา การแบง ปน นน้ั ยอ ม จะไดความรักและการยอมรับที่อบอุนยิ่งกวาเปนรางวัลตอบแทน กลบั คนื มา

พอแมจะรับมือกับเจาตัวเล็กวัย 7 ขวบท่ีชางพูด ชา งบนไมห ยุดได กด็ วยความคิดเชงิ บวก และความหนักแนนน่นั เอง ลูกคนน้ีขีบ้ น จงั “เบอ่ื จบ๊ิ มากเลยแม ชอบพดู อวดตลอดเลย เบอื่ ๆๆ ไม อยากฟง ! เอมก่ี เ็ หมอื นกนั พอจบ๊ิ อวดเอมก่ี อ็ วดบา ง อวดกนั ไปอวด กนั มาอยนู น่ั แหละ เบอ่ื ๆๆ ไมอ ยากฟง !” หนาตาบึ้งตึงกับทวงทาตั้งอกตั้งใจจีบปากจีบคอบอกเลามัก ทำใหคุณพอคุณแมตองชะงัก วางภารกิจในมือมาหยุดฟงอยาง

พญ. อมั พร เบญจพลพิทกั ษ 19 ใสใ จ เพราะดเู หมอื นวา การบน ครง้ั นจ้ี ะไมจ บลงงา ยๆ “...ทำไมโรงเรยี นถงึ มแี ตค นชอบพดู อวดดอี ยา งนน้ี ะ โรงเรยี น อะไรก็ไมรูไมเห็นนาอยูเลย... คุณครูก็ปลอยใหเด็กอวดอยูได ไมรู หรือไงวาเด็กบางคนเขาก็ไมอยากฟง ใครจะไปอยากฟงละ มีแต เรอ่ื งอวดกนั อยา งน.้ี ..” คำบนที่วกวนและยืดยาวเชนนี้อาจสรางความรูสึกที่แตกตาง กนั เมอ่ื คณุ พอ คณุ แมอ ยใู นแตล ะชว งอารมณ คุณพอคุณแมอาจขบขันกับทาทางและคำพดู ในครั้งแรกๆ ที่ ลูกมาบนใหฟง เมื่อฟงไปก็อาจเริ่มคลอยตาม เห็นใจ และรูสึก สงสารลกู ... ‘ใครนะชา งรา ยกาจกบั ลกู เราจรงิ ...’ แตถาเสียงบนนั้นยังคงดำเนินตอไปไมรูจบ ก็อาจกลายเปน สิ่งปลุกเราความรำคาญได โดยเฉพาะในยามที่พอแมเองก็มีพื้น อารมณห งดุ หงดิ มาบา งแลว เมอ่ื มาเจอประโยคซำ้ ซากและทา ทที กุ ข ใจของหนนู อ ยกอ็ าจทำใหพ อ แมส บั สนไมร วู า จะทำอยา งไรดี ทำไมลกู รกั ของคณุ พอ คณุ แมจ งึ ไดข บ้ี น ถงึ เพยี งน!้ี ? การบน เปน ปรากฏการณใ หมท พ่ี บไดบ อ ยมากเมอ่ื เจา หนนู อ ย ของเราเรม่ิ เตบิ โตเขา สวู ยั ประถม หนูนอยวัย 7-8 ขวบจะใหความสนใจกับสิ่งแวดลอมรอบตัว มากขึ้นทุกขณะ ทุมเทความคาดหวังไปกับกลุมเพื่อนเมื่ออยูที่ โรงเรียน และกลับมาตักตวงกำลังใจจากคนที่บานในยามโรงเรียน เลกิ ความชา งคดิ และจรงิ จงั กบั เรอ่ื งราวตา งๆ ผนวกกบั อารมณท ่ี ละเอียดลึกซึ้ง เปนองคประกอบเบื้องหลังที่นำไปสูการบรรยาย ถายทอดความรูสึกผานถอยคำตางๆ การหยอกลอเลนหัวของหนู นอยวัยอนุบาลจะเริ่มแปรเปลี่ยนเปนบทสนทนาและการถายทอด

20 เลี้ยง “ใจลกู ” ใหถ ูกทาง เรอ่ื งราวมากขน้ึ การบน จงึ เปน เรอ่ื งธรรมดามากสำหรบั วยั น้ี อยา งไร ก็ตาม ถาเจาหนูอาการหนักหนาถึงขั้นเปนเจาคนขี้บน ก็อาจเปน เครื่องเตือนใจใหคุณพอคุณแมกมลงสำรวจและปรับปรุงความเปน พอ พมิ พแ มพ มิ พต น แบบแหง การบน กไ็ ด การบน ของลกู อาจสะทอ นใหเ หน็ วา หนๆู ตกอยใู นสง่ิ แวดลอ ม ทเ่ี รา ใหม องโลกและคนรอบตวั ในแงร า ยมากเกนิ ไป และทส่ี ำคญั การ บน อาจแสดงถงึ ปญ หาในการปรบั ตวั ของลกู สดุ ทร่ี กั กไ็ ด มองดูแลวที่มาของการบนๆๆ ชางนาวิตกเสียจริง! แตอยา ปลอ ยใหค วามวติ กรบกวนเราจนเสยี กระบวนทา คะ เรามาพลิกวิกฤติใหเปนโอกาสกันเถอะ เริ่มจากการใสใจกับ พฤตกิ รรมของลกู และจงอยา หนกั ใจจนเกนิ ไป พยายามตอบสนองการบนของลูกอยางผอนคลาย สราง บรรยากาศสบายๆ ในการรบั ฟง แสดงความเหน็ ใจดว ยสายตาและ คำพูด ซึ่งไมใชคำพูดเขาขางหรือยุสงใหเกลียดเพื่อน เกลียดครู เกลยี ดโรงเรยี นหนกั ขน้ึ อกี เชน แทนทจ่ี ะพดู วา “หนกู อ็ ยา ไปอยใู กลเ ดก็ ขอ้ี วดพวกนน้ั สิ เดก็ นสิ ยั ไมด ี โธเ อย ! คดิ วา ตวั เองรำ่ รวย” กอ็ าจลดความรอ นแรงของอารมณล กู ดว ยประโยคเบาๆ วา “ตองฟงเพื่อนอวดซ้ำๆ ลูกคงเบื่อแยเลยเนอะ เพื่อนคงตื่น เตนกับของใหมมากๆ เลยอยากเลาใหหนูฟงตลอดเวลา... แลวเขา อวดอะไรบา งละ คะ” นอกจากนี้ ยังอาจเติมเต็มความมั่นใจใหลกู พรอมกับแทรก แนวคดิ ใหล กู เรยี นรกู ารมองโลกในแงด แี ละฝก ปรบั ตวั กบั สง่ิ แวดลอ ม ดว ยคำพดู เชน “นอ งจบ๊ิ ยงั เหมอื นเดก็ เลก็ ๆ เลยนะ เวลาเดก็ ๆ มอี ะไรใหมก ็

พญ. อัมพร เบญจพลพิทกั ษ 21 อยากจะเลา ใหค นอน่ื ตน่ื เตน ดว ย แตล กู พอ เหมอื นผใู หญแ ลว คยุ แต เรื่องที่คนอื่นชอบฟงดวย แถมยังอดทนฟงเพื่อนไดอีก เยี่ยมมาก เลย” อีกทางเลือกหนึ่งก็คือใหลูกฝกการแกปญหาและตัดสินใจ ดวยการถามถึงทางออกที่ลูกเตรียมไวเมื่อตองเจอะเจอสถานการณ นั้นอีก หากคำตอบนั้นเหมาะสมดีก็แสดงความชื่นชม แตถาฟงดู แปลกๆ คุณพอคุณแมก็ควรจะเสนอแนวทางใหลกู ลองเลือกปฏิบัติ แลวเชิญชวนใหลูกนำผลจากการปฏิบัติตามแนวทางที่ลูกเลือกใช มาพดู คยุ กนั อกี ในวนั ตอ ๆ ไป แคนี้ เสียงบนก็จะกลายเปนเสียงบอกเลาถึงอีกประสบ- การณอ นั ภาคภมู ใิ นการแกป ญ หาของหนนู อ ยไดเ ปน อยา งดี

แมจ ะเจอกับคำถามนบั รอ ยนบั พนั ไมร ูจบ ของลกู วัยซน เคลด็ ลบั ที่พอแมพ งึ ระลกึ กค็ อื “การสนองตอบ” สำคัญกวา “คำตอบ” ตตออบบ--ทอำะไไรม เผลอแผล็บเดียวเจาหนูตัวนอยนิดก็โตวันโตคืน จาก ทารกที่รอคอยน้ำนมและการปกปองของพอแม กลายเปนเด็กนอย วยั เตาะแตะทซ่ี กุ ซนชา งคน หา จากหนูนอยตัวแดงๆ ที่หลับอุตุวันละหลายเวลา กลายเปน จอมซนทพ่ี ลงั งานเหลอื เฟอ

พญ. อมั พร เบญจพลพทิ กั ษ 23 จากเจา ตวั เลก็ ทส่ี ง เสยี งออ แอแ สดงความกระหายใครร ู กลาย เปน เดก็ ขส้ี งสยั คอยปอ นคำถามชดุ ใหญแ บบไมย ง้ั เรื่องความชางสงสัยอยากรูอยากเรียนนี่ละที่นาสนใจนัก เพราะหากสังเกตใหดี คำถามเหลานั้นก็มีวิวัฒนาการตามวัยที่ เปลย่ี นไปดว ย! หลังจากอายุครบหนึ่งขวบ เจาตัวเล็กจะเริ่มพูดคำที่มีความ หมายได เรม่ิ เรยี กพอ เรยี กแม และบอกความตอ งการงา ยๆ ได คุณพอคุณแมคงจำคำถามนารักๆ จากลูกนอยวัยเตาะแตะ ทต่ี อ งการเรยี นรคู ำศพั ทม ากมายไดเ ปน อยา งดี คำถามทว่ี า “น.่ี ..อา...ยา...ย...ย...” ซง่ึ พฒั นาตอ เนอ่ื งไปเปน “นน่ั ...อา...ราย...” และตกผลกึ เปน คำถามทช่ี ดั เจนวา “โนน ...อะไร” ชางเปนคำถามงายๆ ที่ดึงดูดใจ ชวนใหพอแมตอบเหลือเกิน แตเ มอ่ื หนๆู เตบิ โตขน้ึ พรอ มกบั สะสมคำศพั ทไ วใ นคลงั สมอง แนน เปรย๊ี ะ เซลลส มองทท่ี ำงานประสานกนั เปน ชดุ จะเรา ใหห นนู อ ย เรม่ิ เรยี นรกู ารคดิ เชงิ เหตผุ ล คำถามของคนตวั เลก็ ๆ วยั 3-4 ขวบจงึ เรม่ิ เปลย่ี น จากคำวา “อะไร...” เปน ขอ สงสยั วา “ทำไม...” คุณพอคุณแมอาจยามใจเมื่อหนูนอยเริ่มถามคำถามงายๆ ใกลต วั แสนนา รกั “ทำไมคณุ พอ มหี นวด...” ใครๆ กต็ อบได. .. กค็ ณุ พอ เปน ผชู าย “ทำไมคณุ ตาผมสขี าว...” แนนอน... ก็คุณตาอายุเยอะแลว ผมขาวนี้เคาเรียกวาผม

24 เล้ียง “ใจลูก” ใหถกู ทาง หงอกจะ ลกู จนกระทั่งคำถามเหลานั้นพัฒนาไปเปนเรื่องที่ไกลตัวขึ้น ซับ ซอ นขน้ึ หรอื บางครง้ั กซ็ ำ้ ซากขน้ึ เมอ่ื ลกู ยงั ไมไ ดร บั คำตอบทโ่ี ดนใจ “ทำไมพระอาทติ ยถ งึ เปน วงกลม...” “ทำไมพระจนั ทรแ หวง ได. ..” “แลว ทดี าวทำไมไมแ หวง ละ ...” “แลว ทำไม... ทำไม... ทำไม...” บอ ยครง้ั ทค่ี ำถามไกลตวั อนั ซบั ซอ นและซำ้ ซากเหลา นเ้ี ปลย่ี น อารมณช น่ื บานของคณุ พอ คณุ แมใ หง นุ งงงนุ งา นได หลายครั้งคำถามจากเซลลสมองซึ่งกำลังพัฒนาของหนูนอย ก็จูโจมจนผูใหญหลายทานรูสึกวาเซลลสมองของตนเองกำลังถูก ทำลายอยา งรนุ แรงรวดเรว็ ความยากในการใหค ำตอบอาจทำใหพ อ แมห ลายคตู อ งเปด ศกึ ทะเลาะกนั เลก็ ๆ ซง่ึ อาจลกุ ลามตอ ไปเปน สงครามใหญโ ต “โอย! ไปถามคุณพอเถอะไป เร็ว...คุณพอ ชวยตอบลูก หนอ ย” “แมน น่ั แหละ รเู ยอะไมใ ชเ หรอ ถามแมน ะ ดแี ลว ” ที่เกไปกวานั้นก็คือคุณพอคุณแมที่นอกจากจะไมพยายาม ตอบคำถามลกู เองแลวยังคอยตำหนิวิจารณอีกฝายหนึ่งที่ตอบไมได ดงั ใจตน “วา ย! คณุ พอ บอกลกู ไปไดย งั ไงวา ฝนตกเพราะเทวดาฉ่ี จะ หลอกใหล กู งมงายแกมทะลง่ึ หรอื ไง... ลกู อยา ไปฟง พอ นะ แลว กไ็ ม ตอ งมาถามแมด ว ย” ...เพราะแมก ไ็ มม คี ำตอบทด่ี ใี หเ ชน กนั การกระทำแบบนี้เขาขายการดิสเครดิตฝายตรงขาม ซึ่งเปน กระบวนการทฮ่ี ติ มากในแวดวงการเมอื งเมอ่ื ระยะหนง่ึ ทผ่ี า นมา และ

พญ. อัมพร เบญจพลพทิ กั ษ 25 เขา ใจวา อาจระบาดจากระดบั การเมอื งมาสรู ะดบั การบา นเจา คะ ... แนน อนวา ผลลพั ธจ ากการดสิ เครดติ กนั ในบา นกจ็ ะคลา ยคลงึ กบั การดสิ เครดติ ทางการเมอื ง เดก็ ขส้ี งสยั วยั เรยี นรจู ะเรม่ิ สบั สนไมร ู วา ตนควรเชอ่ื ใคร ศรทั ธาใคร และควรยดึ ถอื ใครเปน ตน แบบในการ เตบิ โต หากบรรยากาศของการถามไถทำใหพอแมขุนมัวอารมณเสีย หนนู อ ยอาจเรม่ิ รบั รแู บบผดิ ๆ วา ความอยากรอู ยากเหน็ อยากพดู คยุ ของตนนั้นสรางปญหาและไมนารัก จึงไมใชเรื่องแปลกที่พอหนู แมห นใู นสถานะเชน นจ้ี ะคอ ยๆ หบุ ปากลง แลว หา งเหนิ จากการรบั รู ความเปน ไปผา นพอ แมอ อกไปทกุ ที วันหนึ่งขางหนาคุณพอคุณแมอาจพาหนูนอยมาปรึกษา จิตแพทยวาทำไมลูกรักจึงปราศจากความคิดสรางสรรค ไรจินตนา- การ และไมเชื่อมั่นในตนเองเพียงพอที่จะคิดสงสัยใหแตกตางจาก ผูอื่น หรืออาจวิ่งมาปรึกษาเพราะกังขาวาเหตุใดลกู ที่คุณพอคุณแม ทุมเทใหมากมายจึงไมยอมบอกเลาเรื่องราวตางๆ ในชีวิตใหพอแม ฟง เลย ตัวอยางเล็กๆ เหลานี้หยิบยกขึ้นมาเพื่อสะทอนใหคุณพอ คุณแมตระหนักวารายละเอียดปลีกยอยในการตอบสนองตอคำพูด คำจาและคำถามของหนนู อ ยชา งจำนรรจานน้ั มคี วามหมายยง่ิ คุณพอคุณแมคะ อยาไดกังวลกับความยากของการใหคำ ตอบเลยคะ สิ่งสำคัญที่สุดมิไดอยูที่ความจำเปนในการตอบคำถามอยาง ถูกตองตามหลักการหรือเหตุผลทางวิทยาศาสตร ภูมิศาสตร ประวตั ศิ าสตร คณติ ศาสตร และอกี สารพดั ศาสตร แตค วามสำคญั ทั้งหมดทั้งปวงขึ้นอยูกับบรรยากาศและทาทีในการตอบสนองตอ

26 เลี้ยง “ใจลูก” ใหถ ูกทาง คำถามยากๆ ของคณุ พอ คณุ แมต า งหาก การตอบสนองดวยรอยยิ้มสดใสจะเชื้อเชิญใหเด็กสนทนา แลกเปลย่ี นกบั ผใู หญต อ ไปไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง “แมว า พระอาทติ ยก ลมเพราะอยไู กลจากเรามากๆ มง้ั เวลา เห็นอะไรที่อยูไกลๆ เราอาจจะเห็นเปนกลมๆ ก็ไดนะ... แลวหนูคิด วา ยงั ไงละ คะ” ในบางครั้ง แมคำตอบจะคลุมเครือ แตดวงตาที่มีประกาย แหงความรักก็อาจดึงดูดใหลูกนอยอยากบอกเลาที่มาของคำถาม หรอื เรม่ิ มแี นวคดิ ในการสงั เกตเปรยี บเทยี บเพม่ิ เตมิ ได “นั่นนะซิ เมื่อวานเรายังเห็นพระจันทรกลมๆ อยูเลย ทำไม วนั นม้ี นั แหวง ไดน ะ... เอ...หนเู คยเหน็ มนั แหวง มากอ นมย้ั เนย่ี ” นอกจากน้ี การเสนอแนะทางออกบางประการในบรรยากาศ เปย มสขุ อาจมคี า กวา การตอบคำถามมากมายนกั “คณุ พอ เคยอา นเรอ่ื งรปู รา งของดวงดาวดว ยละ นา สนกุ มาก จำไดว า ทเ่ี ราเหน็ ดาวแวบ ๆ นเ่ี ปน เพราะแสงทส่ี ะทอ นออกมา พรงุ น้ี เราไปดูหนังสือที่รานกันมั้ยละ ไปลองหาเรื่องที่ลูกสงสัยกัน แลว คุณพอก็มีเพื่อนที่เปนนักดูดาวดวย ลุงออดไง วันหลังพาลูกไปคุย เรอ่ื งดาวกบั ลงุ ออ ดดกี วา นะ” ดวยความยากของคำถาม บวกกับขอจำกัดในการรับรูของ เด็ก ทำใหบางครั้งคุณพอคุณแมตองทำใจวาลูกรักไมจำเปนตอง เรยี นรใู นสง่ิ ทถ่ี ามจนครบถว นเสรจ็ สมบรู ณใ นวนั เดยี ว แมย งั ไมไ ดใ หค ำตอบทส่ี มบรู ณร อ ยเปอรเ ซน็ ตด งั ทใ่ี จปรารถนา แตเราก็ไดจุดประกายความคิด เปดโลกทัศน และสรางความไว วางใจตอ การพดู คยุ แลกเปลย่ี นกบั ลกู ไวอ ยา งเตม็ ทแ่ี ลว แนน อนคะ การตอบสนองลกู นอ ยดว ยทา ทสี ดใส มคี วามสขุ มคี ณุ คา เหนอื กวา การตอบคำถามใดๆ ทง้ั สน้ิ

ลกู ขโมยเพราะ “ขาดความรกั ” ฉะน้ันพอแมตอ งใช “ความรัก” เยยี วยารักษาใจ (โรค) ขโมย สมยั ปา หมอยงั เดก็ จำไดว า มหี นงั ไทยเรอ่ื งหนงึ่ ใชช อ่ื วา ขโมยทร่ี กั คดิ ยงั ไงนะ ไปรกั ขโมย เมื่อปาหมอเติบโตขึ้นจนเปนนักเรียนแพทย ก็เริ่มรูจักโรค แปลกๆ หลายชนิด รวมถึงโรคที่นาจะเปนพลอตสำคัญของหนัง

28 เลย้ี ง “ใจลกู ” ใหถ ูกทาง เรอ่ื งนน้ั “โรคขโมย” คะ ! โรคขโมยเปนปญหาทางจิตใจของผูปวยที่จิตแพทยอยางปา หมอมโี อกาสดแู ลรกั ษาอยา งใกลช ดิ หลายราย ทง้ั ทผ่ี ขู โมยไมไ ดข าดแคลนเงนิ ทองขา วของ ทง้ั ทร่ี วู า การขโมยเปน ความผดิ แตผ ปู ว ยทางจติ ใจเหลา นก้ี ไ็ มอ าจยง้ั ตวั เองจากการขโมยได ประสบการณหลายอยางในชีวิตทำใหผูปวยเหลานั้นบังคับ ควบคมุ “ความอยาก” ของตนไมไ ด ประสบการณที่บอยครั้งคุณพอคุณแมผูเลี้ยงดูมีสวนในการ ผลกั ดนั ใหเ กดิ ขน้ึ แนน อนคะ พอ แมไ มไ ดต อ งการเชน นน้ั เลย สัญชาตญาณความอยากไดอยากมีเปนเรื่องปกติของมนุษย ทุกคน โดยเฉพาะมนุษยในวัยเด็กที่กำลังเรียนรูการเปนเจาเขา เจาของ แตองคประกอบหลายอยางในเสนทางการเติบโตจะกลอม เกลาใหเด็กรูจักควบคุมสัญชาตญาณเหลานั้นจนมีคานิยมความ ประพฤติที่เหมาะสมได นับตั้งแตการที่เด็กรับรูวาตนเองมีคุณคา เปน ทร่ี กั ของคนรอบขา ง เรยี นรคู วามสขุ ของการรบั ความรกั ในฐานะ ที่เปนคนดี การอยูในขอบเขตของวินัยที่มั่นคงและสม่ำเสมอภายใต การดแู ลอยา งใกลช ดิ พรอ มกบั ซมึ ซาบคณุ ธรรมความดจี ากตน แบบ ที่เด็กรักและชื่นชม รวมถึงการเรียนรูที่จะรูสึกเห็นใจผูที่สูญเสียของ รกั ของหวงไปเพราะถกู แยง ชงิ หรอื ขโมย ถา การเรียนรคู านิยมความดีเปนไปอยางราบร่นื เชน น้ี เดก็ จะ เติบโตพรอมความมั่นคงในคุณธรรม เลือกแสวงหาวัตถุตางๆ ดวย วิธีการสุจริต ไมคิดขโมยใคร และยับยั้งพฤติกรรมที่อาจเกิดเพราะ

พญ. อมั พร เบญจพลพทิ ักษ 29 ความอยากทไ่ี มเ หมาะสมได แตเ สน ทางการเรยี นรนู น้ั อาจไมร าบรน่ื เสมอไปคะ พอ แมบ างรายกลบั ไมอ าจสรา งสภาพแวดลอ มทจ่ี ะชว ยขดั เกลา สัญชาตญาณอยากไดอยากมีของลูกไดตรงทิศทางกับธรรมชาติ ของเดก็ หลายครอบครัวทะนุถนอมตามใจเด็ก เกรงใจลูกจนไมกลา ขัดขวางความปรารถนาทุกชนิด ลูกอยากไดอะไรยอมหมด ขนาด ลกู หยบิ ฉวยขา วของจากผอู น่ื โดยไมไ ดร บั อนญุ าตจากเจา ของพอ แม กย็ งั ตามไปชดใช ขอโทษขอโพย โตเ ถยี ง หรอื แมแ ตค กุ คามเจา ทรพั ย เพื่อปกปองและกลบเกลื่อนความผิดให ปลอยใหลูกสุดที่รักเคยชิน กบั การ “ได” ในสง่ิ ทต่ี อ งการเสมอ เด็กจะเรียนรูความถูกผิดอยางกะพรองกะแพรง เพราะไมมี โอกาสฝกปรือการรับผิดชอบตอปญหาที่ตนเองสราง และกลับถูก สงเสริมใหความอยากไดอยากมีเติบโตอยางไรขอบเขตจนควบคุม ตนเองไมเปน ทั้งที่พอแมก็รูแกใจวาไมอาจตามไปคุมครองเด็กได ชว่ั ชวี ติ กเ็ พราะรกั ...จงึ หา มใจจากการปกปอ งทะนถุ นอมเชน นน้ั มไิ ด ในทางตรงขาม แมพอแมบางครอบครัวจะกำหนดกรอบ คานิยมความดีใหแกลูกไวอยางชัดเจน แตก็ยังมีหลุมพรางอารมณ ใหเ กดิ ขอ ผดิ พลาดทางเทคนคิ อกี จนได เดก็ บางคนเรม่ิ ตน ปญ หาจากความอยากไดธ รรมดาในขณะท่ี ยงั ไมร ขู อบเขตความเหมาะควร จงึ หยบิ ฉวยโดยไมย ง้ั คดิ แตห ยบิ ที ไรก็ถกู ดุวาทุกครั้งโดยไมมีใครใสใจความตองการหรือความรสู ึกของ เขา หนนู อ ยตอ งดน้ิ รนดแู ลตวั เองใหไ ดส ง่ิ ของตามทอ่ี ยากได และยงั ตอ งคอยหลบหลกี ใหพ น จากพษิ ภยั ของคำดวุ า อนั เกรย้ี วกราดรนุ แรง

30 เลี้ยง “ใจลูก” ใหถ ูกทาง ยง่ิ ฝก ปรอื กย็ ง่ิ หยบิ ฉวยไดอ ยา งวอ งไวและมดิ ชดิ ขน้ึ ... นน่ั หมายความวา วทิ ยายทุ ธใ นการขโมยนน้ั พฒั นาแนบเนยี น ขึ้นตามวัย และในบางครั้งเด็กอาจเก็บเกี่ยวความภาคภูมิใจเล็กๆ ไดจ ากการหลบพน สายตาพอ แมอ กี ตา งหาก เด็กที่มีปมในจิตใจจากความไมมั่นคงตอความรักของพอแม อยูกอน ไมวาจะเปนเพราะการมีพี่นองใหเปรียบเทียบอิจฉา หรือ เพราะสถานการณในชีวิตทำใหพอแมขาดโอกาสที่จะสื่อความรัก ถงึ ลกู อยา งเพยี งพอ จะมแี นวโนม เปน โรค “ขาดความรกั ” อยแู ลว เมอ่ื ไมเ ชอ่ื มน่ั วา ตนมคี วามหมายสำหรบั พอ แม จงึ ไมก ลา หรอื ไมอาจบอกเลาความตองการของตน รวมทั้งสื่อความรูสึกดานลบ ตา งๆ ทม่ี อี ยอู อกมาไมไ ด เมื่ออยากไดก็ตองคิดเองเออเองหรือเรียนรูจากประสบ- การณเ ดมิ วา ความตอ งการของตนนน้ั จะลงเอยดว ยการถกู ดวุ า อยา กระนน้ั เลย หยบิ มนั เฉยๆ นแ่ี หละ ตาดีก็ได ตารายก็โดน... แตปกติก็คุนชินกับการโดนอยูแลว นน่ี า โดนอกี หนอ ยจะเปน ไรไปเลา แตพอถูกดุเขาจริงๆ ก็ไมใชวาจะไมรูสึกอะไรนะคะ เด็กที่มี ปมเหลานี้พรอมจะรูสึกโกรธ เศรา หรือนอยใจกับทาทีของพอแมที่ ตามตอกยำ้ ปมของตนใหช ดั เจนยง่ิ ขน้ึ พอ แมด หุ น.ู .. พอ แมไ มร กั หน.ู .. ไมม ใี ครรกั หน.ู .. ความรูสึกในใจเชนนี้เองที่นากลัวที่สุดวาจะผูกเปนเงื่อนที่ ซับซอนยิ่งขึ้นจนกลายเปนความผิดปกติทางจิตใจ ที่มาของ “โรค ขโมย” ซง่ึ รกั ษาไดย าก การหยิบฉวยแตละครั้งจะเปนการกระทำเพื่อทดแทนความ โหยหาอยากได

พญ. อัมพร เบญจพลพทิ กั ษ 31 ไมใชความอยากไดวัตถุ แตเปนความอยาก ความกระหาย ในความรกั เด็กจะหยิบฉวยขาวของราวกับพยายามไขวควาหยิบฉวย ความรัก พรอมกับความรูสึกสะใจเหมือนไดปลดปลอยความโกรธ เกลียดกาวราวที่ซอนเรนในใจดวยการแยงชิงสิ่งของใหเจาของรูสึก เจบ็ ปวดจากการสญู เสยี บา ง ไมม ใี ครอยากใหเ กดิ เงอ่ื นปมอนั เลวรา ยเชน นข้ี น้ึ ในใจลกู รกั เราจะปอ งกนั อยา งไร คำตอบเริ่มตนที่สติของคุณพอคุณแมในการจัดการปญหา ตง้ั แตค รง้ั แรกๆ ดว ยคำพดู และทา ทที เ่ี หมาะสม เราสอนใหเด็กเล็กเขาใจคานิยมที่ดีงามไดโดยไมจำเปนตอง ทำใหเ ขารสู กึ เสยี หนา หรอื ไมเ ปน ทร่ี กั จงระวังและหลีกเลี่ยงการดุวาเทศนายืดยาว ไมใชทาที ฉนุ เฉยี วกา วรา วเกนิ กวา เหตุ แตค วรบอกกบั เดก็ อยา งใจเยน็ ชดั เจน และหนกั แนน วา “ของเลน นไ้ี มใ ชข องหนู หนตู อ งเอาไปคนื เจา ของคะ ” “ลกู หยบิ สตางคไ ปจากกระเปา แม แมอ ยากไดค นื คะ ” หากเด็กทำตามที่เราบอกโดยดี เราควรแสดงความใสใจดวย การสอนวา “ถา หนอู ยากไดเ งนิ ใหม าบอกแมน ะคะ เราจะไดค ยุ กนั ” แตวาชีวิตไมงายเชนนั้น ลูกรักของเราอาจปฏิเสธหรือตอลอ ตอเถียงซึ่งไมมีประโยชนที่เราจะตองไปสืบพยานใหยุงยาก ย้ำให ชดั เจนวา เราตอ งการของหรอื เงนิ นน้ั คนื หากลกู ทำสง่ิ ของทห่ี ยบิ ฉวย มาเสยี หายหรอื ใชเ งนิ ทแ่ี อบหยบิ ไปแลว คณุ พอ คณุ แมต อ งคยุ กบั ลกู ถึงวิธีการชดใชเงินคืน เชน หักคาขนม หรือใหทำอะไรบางอยาง

32 เล้ียง “ใจลูก” ใหถ กู ทาง เปน การชดใช พรอมกันนั้นก็อยาลืมสำรวจสภาพจิตใจของเด็กดวยวามี ปญ หาใดซอ นเรน อยหู รอื ไม สิ่งสำคัญอีกประการ คือ การไมตราหนาหรือตั้งสมญาเด็ก ดวยคำพูดรุนแรงเจ็บปวด เชน เจาหัวขโมย เด็กโกหก หรือแมแต การสอนไปสาปแชง ใหล กู เปน โจรขโมยไป อยาลืมคะ ทั้งที่รักแสนรัก แตความพลั้งเผลอขาดสติในการ ใชคำพูดของพอแมอาจทำใหวาจากลายเปนอาวุธเชือดเฉือน สราง แผลใจจนความรักเขาไมถึงหัวใจดวงนอยๆ นั้น และสุดทายลูกรัก ก็จะไขวควาหาความรักดวยวิธีการของตนเองจนเติบโตเปนขโมย ขน้ึ มาจรงิ ๆ

แกไ ขเรื่อง “ความม่ันคงทางอารมณ” ของลูกได กแ็ กไขอาการ “ใจนอ ย” ของลกู ไดเ ชน กนั ลูกขใ้ี จนอ ย “คนหวั ลานใจนอยนะ” คำพูดนี้เปนประโยคที่หลายคนคุนเคย คุณๆ อาจแอบอมยิ้ม ทุกครั้งที่เห็นอาการฟดฟดนอยใจของคนผมบาง และมองวาเปน ธรรมชาติของเขาไปเสีย... แตถาหากอาการใจนอยนั้นมาเกิดกับเจาตัวเล็กที่บานซึ่งผม

34 เลย้ี ง “ใจลูก” ใหถ กู ทาง ยังดกดำเต็มศีรษะ พอแมอยางเราๆ ทานๆ คงหาคำอธิบายใดมา ประคับประคองอารมณใหทำใจหรือเขาใจไดยาก ยิ่งถาความใจนอยนั้นแสดงออกเปนทาทีปนปง เย็นชา หรือ กระฟดกระเฟยดแสนงอนอยูบอยๆ โอย! นาจับมาเขกกบาลนักแล... ตัวแคนี้ยังงอนไดขนาดนี้ ถาแกกระหมอมบางจะใจนอย ขนาดไหน แลวจะตองเผชิญกับปญหาอะไร จะมีใครยอมรับ จะ ปรับตัวไดไหม แคคิดก็หนักใจกับความสัมพันธระหวางหนูนอยกับ ผูคนในชีวิตในอนาคตแลว การที่เด็กใจนอย แสนงอน ออนไหว และปรับตัวไมไดกับ การตำหนิวิจารณนั้นเกิดจากอะไรไดบางนะ สิ่งแรกที่เห็นไดชัดเจนที่สุดนาจะเปนปญหาในการสื่อสารคะ อาการงอนนั้นฟองถึงขอจำกัดในการบอกความรูสึก ความ ตองการ หรือความคิดของเจาตัวใหตรงทิศตรงทาง สวนหนึ่งอาจ เปนเพราะที่ผานมาพอแมไมคอยใสใจทาทีที่เปนผลมาจากอารมณ ดานลบของเด็กหรือตอบสนองดวยทาทีคุกคาม แทนที่จะชวยสอน ใหลูกตระหนักรูถึงอารมณแลวพูดคุยกันอยางสรางสรรคใหเปนเมื่อ เด็กมีความรูสึกไมดี เชน โกรธ เสียใจ หรือเปนทุกข ในที่สุดเด็กก็จะดิ้นรนเรียนรูอยางผิดๆ และเลือกใชทาทีเมิน เฉย แยกตัวเองออกมาแทนการสื่อสารดวยคำพดู หรือเมื่ออยากได อะไรก็จะตั้งทารอใหผูอื่นทายใจแทนการรองขออยางตรงไปตรงมา ตรงนี้มีจุดนาสนใจซอนอยูคะ... การตั้งแงใหคนอื่นทายใจทายความตองการนี้เองที่บงบอก วาเจาหนูนอยมีปญหาที่สองซอนอยูภายใตปญหาดานการสื่อสาร นั่นก็คือ เขาพยายามจะทดสอบวาคนอื่นรูสึกอยางไรกับ

พญ. อัมพร เบญจพลพทิ ักษ 35 ตนเอง เธอรับรูถึงความคิดของฉันไหม... เธอจะตอบสนองไดอยางที่ฉันตองการไหม... ฉันสำคัญมากพอไหมที่เธอจะเขาใจอารมณและความ ปรารถนา... ความสงสัยเหลานี้มาจากรากลึกๆ ในใจของเด็กที่ขาดความ เชอ่ื มน่ั วา ตนเองมคี ณุ คา มากพอสำหรบั พอ แมห รอื คนรอบขา ง ปมแหงการขาดความเชื่อมั่นในคุณคาของตนเองหรือขาด ความภาคภูมิใจนี้อาจทำใหคุณพอคุณแมบางทานถึงกับงงไดคะ ก็ทั้งรักทั้งเอาอกเอาใจปานนี้แลว ไฉนลูกจึงมีความคิด แปลกๆ ไมเขาทาเชนนี้ได!? เรื่องของจิตใจมันไมตรงไปตรงมาเหมือนคณิตศาสตรนะคะ พอแมเจาขา ความไมเชื่อมั่นในตนเองมักมีที่มาคดเคี้ยวแปลก ประหลาดไดห ลายแบบ เดก็ หลายคนเรม่ิ เพาะบม ความคลอนแคลน ทางอารมณเพราะมีคูแขงความรักในบาน ซึ่งอาจหมายถึงพี่ชาย นองสาวรวมสายเลือดนั่นแหละ ทาทีบางทาทีของพอแม เชน การใสใจปกปองดูแล หรือการ ลำเอียงเปรียบเทียบเด็กกับคูแขงแบบไมเทาเทียมกัน จะบั่นทอน ความเชื่อมั่นในคุณคาของตนเองในตัวหนูนอยไปเรื่อยๆ ซึ่งพอแม สวนใหญมักเผลอทำลงไปโดยไมทันรูตัว...แตคนอื่นดูออกกันหมด คะ! นอกจากน้ี อกี สาเหตหุ นง่ึ ทพ่ี บบอ ยวา เปน ตวั รา ยคอยทำลาย ความเชื่อมั่นในตัวเองของเด็กๆ ทั้งที่ไมมีคูแขงเลยก็คือ ทาทีที่ไม สม่ำเสมอของคุณพอคุณแม แตสวนหนึ่งก็ตองยอมรับวาพฤติกรรมขึ้นลงของพอแมอาจ

36 เลีย้ ง “ใจลกู ” ใหถ ูกทาง เปนผลกระทบมาจากการควบคุมความดื้อดึงเหลวไหลของลูกไมอยู จนปลอยใหความโกรธครอบงำ กลายเปนวัฏจักรอารมณสะทอน กลับไปมาระหวางพอแมลูก ที่สุดแลว การแกวงไกวขึ้นลงของอารมณและพฤติกรรมของ ทั้งตัวเด็กและพอแมก็จะทำใหความมั่นคงทางอารมณของลูกถูก ทำลายไปเรื่อยๆ เวลาหนูอารมณดี พอแมอารมณดี หนกู ็รูสึกคลายจะมีคา... แตพอหนูเกรี้ยวกราด พอแมก็มีทาทีรายกาจยิ่งกวา... คง หามไมไดที่หนูจะเชื่อวาตนเองไมดีพอสำหรับความรักของพอแม หนูรูวาหนูผิด แตหนูก็ควบคุมตัวเองไมได...เหมือนที่พอแมก็ คุมตัวเองไมอยู หนเู ริ่มไมแนใจวาหนรู ายขนาดนี้ พอแมจะยังรักหนูไหม... หนูจึงตองเริ่มทดสอบพอแมและสิ่งแวดลอม...ดวยการงอน และนอยใจ จนกลายเปนนิสัยหรือพฤติกรรมที่เคยชิน ยังไมหมดคะ ยังไมหมด สถานการณที่เกี่ยวพันกับปญหาการสื่อสารและปญหา ความไมมั่นใจในคุณคาแหงตนอาจมีเหตุปจจัยที่สามเขามาซ้ำเติม ปญหาใหหนักหนวงขึ้นอีกได เหตุปจจัยที่วานั้นก็คือ บุคลิกทาทีของคุณพอคุณแมที่เปน ตัวอยางคนใจนอยแสนงอนเสียเอง หากตนแบบที่หนูนอยรักและผูกพันแสดงทาทีกระฟด กระเฟยดหรือเฉยเมยเย็นชาเวลาโกรธหรือเสียใจ แทนการรูจัก ละวางอารมณแลวบอกกลาวกันดวยทวงทาถอยทีถอยอาศัยหรือ พยายามปรับความเขาใจกัน เมื่อไมมีตัวอยางที่ดีงามใหแกเด็กๆ เพราะผูใหญมัวแตยึดมั่นถือมั่นกับคานิยมของการไมยอมลงใหใคร

พญ. อัมพร เบญจพลพทิ กั ษ 37 พอหนูแมหนกู ็อาจซึมซาบเรียนรูถึงการเผชิญปญหาแบบผิดๆ ตาม ไปดวย หันไปทางพอ ก็เจอพอใจนอย หันไปทางแม ก็เจอแมแสนงอน แลวหนจู ะหนีพนความชางนอยใจไปไดอยางไรเลา สุดทายก็ตองมาเปนคนไขของปาหมอกันทั้งครอบครัว ไมเอานา...ปาหมอมีคนไขแยะแลว ชวยกันลดจำนวน ครอบครัวคนใจนอยในหองตรวจจิตเวชกันดีกวา นะคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook