หลักสตู รการเข้าใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) โครงสร้างหวั เร่อื งหลัก / หวั เรอื่ งหลัก ห และ ยจ ็ ห o ย ช่ ข ถ ขบ ถไ Chat ไ ข ล ุขภ ไี ่ถ ไ ่ บถ ไ ่ ห ะ บ ถ ณ ณ์ข o ย ย โ ด ย จ ธี ี ี แช ์ ไล ์ โดยข ด ข ใจ 46 ี ยถ ย แล หล ย ณี o โด หล ข ย ขุ ภ ีไ ่ ี ฐ ด ฎห ย ณุ จ o ไ ่ ถ บ ุ แ บ ได ห ช ด o ุ ไ หล ย ดยี ๆ ไ ่ได ะ บด ย o ุ ไ หล ย ห ะ บแ ล่ ะบุ ลไ ่ ห ไ ใ่ ช่ ได ุ
หลกั สตู รการเข้าใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 47
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) โ ฟฟิ ซ โด (Office Syndrome) o ฤ ี ให ด o บฤ ลด ล ะ บ o ล ยด บ ห หล ย ์ (Ergonomics) ห แบบ ี ห ะ ี ะ ์ (Ergonomic Design) o ่ ีถ o ุ ณ์ ี แบบ หล ย ์ ช่ Keyboard Microsoft o แ ่ ภ แ ดล ี ห ะ บ ดลุ ยห่ จ (Balancing Screen Time) หล ย ใ ล ดยี (Controlling Multi-Tasking) และ ล ียข ุขภ ห ลุ่ ี ดจ ใช ์ ไ (CSV – Computer Vision Syndrome) o ช่ ย ด แห ้ ไหล ห็ ภ ซ ด หล และไหล่ o โ ุใ ะจ ห โ จ ย่ ่ ด ซ้ ๆ (RSI – RepetitiveStrain Injury ห Repetitive Stress) ช่ ห ์ด่ ๆ ่ ะ ีย์บ ์ด และห จ (Qwerty Tummy) – ุ ณ์ ีแบ ี ียและ ช้ โ ะ ย่ และ ห ไ ด ย ใช ุ ณ์ไ ด ย ลุ่ โ ด บ ะ บ ณข (Carpal Tunnel Syndrome) ช่ o โ ้ ล็ โ แ บบ ณข โ ะ ถ ด บบ ณข โ ข โ ้ ะดดุ – จ ด ถ ไ ลุ่ บ ่ ๆ o ล ้ บ (Myofascial Pain Syndrome) o ห ะด ล้ / ล ด บ ะ (HNP – Herniated Nucleus Pulposus) o ะด หล ยด ด (Lumbar Dysfunction) o ็ข ด บ (Tennis Elbow) o ็ ข ด ใ บ (Golfer Elbow) โ ภ ะ ซ์โ โ (Couch Potato) 48
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) ยจ ยี บหฟั o ย ถ ไ ่ – ช่ ข ถ ข ถไฟ ( ีข่ ย) o โ ห โ หดบ จ ียบหฟั ียด ย่ใ ี ธ ณะย ิดให ีย ด ่ ด ะ ะ ั ะ บ– ล่ ์ ็ จ ล ข ห ้ โ ยี ด ไ ห่ ลบ ด โลห ห ยใจไ ่ โ ยี ดจ ์ (CSS – Computer Stress Syndrome) o ุ ณ์ ขดข ะบบ ด ล ด o ี ซบซ ไ ข ใจล บ o ไ ่ ถแ ไขได ใชโ แ ไ ่ ็ o ล บ ะบบให ่ โ แ ให ่ o ด ัญห แล แ ไขไ ่ได โ จ จ ดจ ล (Digital Dementia) ฒ ช ็บ ธ ้ ลุ่ ล ย (Autistic Spectrum Disorder) ขด ะ ช่ จ ดยี ยจ แ ่ ีข ุ ณ์ ล็ ์ ช่ ถ โ ด ด จ ล (Digital Addiction), โ โ โฟ บี ย (Nomophobia – No Mobile Phone Phobia) และ โ ธ ้ ใ ี (ADT – Attention Deficit Traits) o ห่ ถ ไ์ ่ได o แ บ ล่ ์ ็ ใ ี และ ล ข o ถใช ล บ ไล ์ไดหล ยช โ โดยไ ่ บ o ไ ่ ี ล จ ย่ ะใช ล ่ ใหญ่ ไล ์ o ข ด ยใ ดจะ ะไ ็ ล ย ็ ล่ ์ ็แ o ยี ด ็ห ี ข ่โล ไล ์ โล ไล ์ ็ ี จ ใจ o แ ย่ บ ห ข ห ้ ็ ดโ ์ o จ ห ุดห ด ะ ะ ยใจ ล ไ ่ ี ญญ Wi-Fi 3G ห แบ ห ด ญ ยี บ ดช บใ ญ ีย บ ดช บใ บ แ ฏบ ่ ็ โ ดดจ ล ห โ ธ ้ ใ ี ญ ยี ยบย้ ช ใจใ โล ไล ์ (Online Disinhibition Effect) o ไี ่ ิด ย ใหบุ ล ไล ์แย จ จ (Dissociative Anonymity) 49
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) o ไ ่ ห็ ห (Invisibility) o ไ่ ็ไ ะห ่ จ บ ใ ไล ์ (Asynchronicity) o แี ดและ ยใ ลุ่ ไ ดีย และยด ็ ย์ ล (Solipsistic Introjection) o จี บยี ไ จ จ (dissociative imagination) และ o ( ด ่ ) ล ดจ จ ห ีและ ฎ ณฑ์ ่ ๆ (Minimization of Authority) ภ ะซ จ ฟซบุ๊ (Facebook Depression Syndrome) o โ ซลฟ่ี – ะไ ซลฟี่ ่ o ็ จ ยี (Artificial Reality) – โ ์แ ่ ดีๆ ภ o ย ได บ ย บจ ย ไดย ด ดไล ์ o ยี ด ล ะ ยใจ ยี ห ไ ่ ี ไล ์ (Like)ข o ี โ ์ ่ ่ ห ไ ่ดีจะ ียด o ยี บ ียบชี ข บ ไ ่ ยี ด จฉ ไ ่ o หล หล ภ ห ุ่ บ หล ล o ข ใจ ด ีย บ ็ จ ข ี หล ข้ ่ ็ จ o ็ หย ณ์ข จ ชี ะจ ข o ย ย ด ถ ะโ ์ ด ดด ภ หล ล ่ ่ จ๋ ี ุข ะ ด ถ ณ์ ็ ละ แซ (Sleep-Texting) o หลบๆ ๆ ล ่ จะ ีข ห ห ุ ณ์ให ่ใ ไล ์ o หลบไ แล ขี ่ จ็ ะ ลุ ่ ย บ ไ โดย โ โ ดด ่ ดจ ล (Digital Drama Addiction) ภ ะ ียดจ ด o ช่ ด ่ ะ ใ Pantip.com o ี ณ์ ่ ้ ไี ่ บ ่ ้ ็ จ ห ไ ่ ห บุ ล ้ ็ ใ o ภ ะ ียดจ (Political Stress Syndrome) o ียดจ โด ด่ โด ่ ใ ะ ใ โ ์ ใ โล ไล ์ ฉล ด ณ์ (EQ) ลดล ี ใช ์็ ล ะ บด ธ์ ่ บ และ o ย ล ่ ี ใจ ่ ะไ ใ LINE, Facebook บ o ข ด ธใ ฏบ ะ ธภ ใ ลดล ล แย่ o ล ่ ี ใจแ บไ ุย บใ ไี ห บ o ด แห ่ ่ จ ะบบ GPS ล ด ล 50
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) o ย ย ถ ณะ ณ์ให ่ บ ช่ ล ะชุ ะไ บ ย่ไห แล o ียด ล ห ดุ ห ด ะ ยใจ ี ใจไ ่ ่ LINE ห ไ ่ บ LINE o ไ ่ ใจ ด ียด ะ ล ะ ี ฝ่ ย ไ ่ย ใหแ ด ธ์ แ ด ให ห็ ่ ไล ์ ช่ Facebook Instagram ลยี แบบ ฤ ไ ่ ห ะ ไี ่ ห ะ ช่ ี ุ แ ไ ่ ห ะ บ ย ด ์ ไล ์ จ ์ ไล ์โดย o ล่ แข่ บ หยุด ล่ จะโด ห o ล่ บ ใหไ ่ ถหยุดได จะหยุด ( ะ ช่ ย ล่ ่ ) o ใช จ ห ล ใชซ้ Item ใ ์ ให ขี ได ียบ ดแล ย ์ช ใ ยุ ดจ ล o ่ แ ่โย ถ ใหล ไ ่ ใจ – ให ดจ ล ็ ี ล้ยี ห ่ แ ่ ด็ ยุ ่ 2 ข บไ ่ ี แี ละดจ ล o ่ แ ่ ด ถ จ ล ะ บ บุ ห ุ จ ยี ชี o ่ แ ่ ไ ่ ใจ จ บล o ่ แ ่ ็ ย่ ไี ่ดี ห ่ ย ี ด ่ ด ญั ห ุขภ จ จ ไล ์ แ ธ ะ ใชแ ญั ห ชี ใ ยุ ดจ ล แ ขบ ดจ ล(Digital Detox, Digital Diet) ุแ ดแล ขุ ภ ยุ ดจ ล ุแ แ ะ และช่ ย หล ใ ล ี 51
หลกั สตู รการเข้าใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) ดิจทิ ัลคอมเมิร์ ดจิ ิทลั คอมเมิร์ซ ดิจทิ ัลคอมเมิรซ์ จ ็ ข ใจ ธุ จ ไล ์ ห ี ์ซ ะ ภ ่ ๆ ถ ย ภย และ ีย จ ธุ ้ ้ ธี ลด ีย และ บ บ ย ภย และ ยี หล่ ้ โดย ข้ ฏบ ็ หย หล ล หล่ ี้ คาถามสาคัญ ล็ ์ให ล ดภยได ย่ ไ ? จะ ธุ จดุ ประสงค์หลกั โด โ ข ใจธุ จและ ี ซ์ ะ ภ ่ ๆ ข ใจภย ยจ ซ้ ข ไล ์ ข ใจ ลห่ ์ หลีย ข ข ย ไี ่ ะ ์ดี และข้ สมรรถนะ ถแย แยะ ะ ภ ข ธุ จ ไล ์ห ี ์ซได ถะ ่ ช ถ และ ล ดภยข บ็ ไซ ์ จี ะ ธุ ด ยได ์ ถ จ ถ หล ล ได ถ ฏบ ได ห ะ โด หล ล จ ธุ ล็ 52
หลกั สตู รการเข้าใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) โครงสรา้ งหัวเร่อื งหลัก 4.0 Trustmark mCommerce sCommerce หัวเรือ่ งหลัก แบบจ ล ธุ จ 4 ะ ภ o B2C – ธุ จ บ บ โภ (Business to Customer) ช่ ข ย ลี , ถ บ o B2B – ธุ จ บธุ จ (Business to Business) ช่ ข ย ่ , Supply Chain o C2C – บ โภ บ บ โภ Customer to Customer) ช่ ข ยข 2 ิด ยข ยข o C2B – บ โภ บธุ จ(Customer to Business) ช่ ห บแบบ จห บซ้ ข ่ แบบจ ล ธุ จ บภ ฐ 5 ะ ภ o G2C ช่ ใหข ล ใหบ ฎ ะ บยี บ o G2B ช่ ใหข ล ใหบ บดแล o G2G ช่ ่ 53
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) o C2G ช่ ภ บี ุ ลธ ด และ o B2G ช่ จดซ้ ดุ ฐ จดจ ล (Digital Economy) o ยุ ธ ์ ้ 6 ะ ไ ย 4.0 o ะ ไ ย 1.0 ถ 4.0 ี ์ซ (e-Commerce) ไ ถ ซ้ ไล ์ o ถ ข ถ ได และ ่ ย ่ o ถซ้ ข จ ล โดย ได ใหโ ี ห ดจ ย่ o ข ห ย ห ไดจ ไล ์ o ซ้ จ ไี ห ็ไดแล ไ ่ ีบ o ล ีใหข ดี ดุ o ข ไ ข ย ไ็ ด o ถ ่ ซ้ จ ่ บ ห จด ถ ่ จด ่ ็บไซ ์ ี ล ข ใช ี ข ห ข ลห ไ ่ ? ห ยแ ด ่ ช ถ (Trustmark) o DBD Registered โดย ฒ ธุ จ ะ ณชย์ o Smile Mark โดย ฒ ธุ ล็ ์ o Reliability Seal Program o buySAFE Seal ช ะ ไล ์ (Online Payment) ะ ๋ ดจ ล (Digital Wallet) ล ด ล็ ์ (e-Marketplace) o แหล่ ข ยหล ย จ o ี ด บ้ จ จ ข ล ด ล็ ์ mCommerce (Mobile Commerce) o ุ ีุ ล o บ ธ บ ถ (Mobile Banking) o ช ะ บ ถ (Mobile Payment) o ซ้ ๋ ่ ถ o ซ้ ดจ ล ข ล ช่ ล ห ่ ถ 54
หลกั สตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) sCommerce (Social Commerce) ช่ o ข ย ่ Facebook (ห บ ี ีย fCommerce), Twitter, YouTube o ข ยโดย ลุ่ ซ้ ช่ Groupon o ล ณะ ็ ช่ ย หล ็ ชุ ช ห แฟ ลบ ี จ ์จ ใ ้ ี ด ุย บ ข ย ห ล ่ ซ้ ล่ห์ หลยี ไล ์ o ข ย ถ ด และใหโ ไ ่ o ล จะ ข ใหแ ่ ด ห ุ ข ใหโ ใหบ ่ ่ ข ะ ซ้ ข ไล ์ o จ บ URL ใหแ ใ่ จ ่ ข ถ บ็ ไซ ์ ไ ไ่ ด ข ็บไซ ์ ล o ณี ช ่ ่ ไ ไฟ จ บใหแ ่ใจ ่ ช ่ ได ี ข ห WPA2 o ย่ ดซ้ จ ล์ ะ ่ จะ ็ ล์ ล หล ข ย o ย่ ล จ ะบบ ี ซ้ o จให ใจ ่ ุ ณ์ ใี ช ี ะบบ ไ o จ บ ่ ช ข ็บไซ ์ ช่ ดจ Trustmark ( ดไ หล ฐ ด ย ไ ่ ้ ญล ณ์ ล ได) o ไขใ ซ้ ่ ด ใจซ้ o จบ ล ด ่ – ถ /แ ด ให ยไ ่ o ซ้ ข แ ด ไ จ จ่ ย ล ดภย ่ o จ ย ย ซ้ ห ด ่ ช่ บ ะช ช ( ย่ ล ขดี ่ ) o ด บ ข ถห จ ย่ o ย่ ไ ใจ ด ห็ ี และ โซ ซียล ็ ์ ะโดย ข ย ็ ข้ o จด ะ ข ย ช่ ช ไ ห ใ Google ่ o ดล ด ่ บถ ด ุย บ ข ย ่ ด ใจซ้ o ช ะ ด ยบ ด จ ี ัญห จะ ถ ด ่ ธ ข ย ล ซ้ ไดถ โ จะไ ่ ถ ได o ช ะ ่ บช ะ ซ ็ บุ ล ี 3 ี ่ ช ถ ข ลบ ด ไ ล ล บใช ช่ PayPal, PaySBuy o ซ้ บ ี หี ์ ็ถ ่ 55
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) o ซ้ บ ี ็ ี จ ห ดิ ยบ่ ล ี ช ถ ได ย่ โฆ ณ หี ล ล ด ุณ o ช่ ห ้ หล ย ข ฏบ ี ล ล บใชบ ด o ด ่ ธ จ ข บ ะ บ จ่ ย และ ย บ บ ให ่ o ด ขีย ข ข้ ธี ห ด ข ฏบ โด หล ใหโ o ใจ ่ จะไ ไ่ ด o แจ จ หล ฐ ดข บ ข ย ห o ด ่ ข ย ห ข ยุ o ถ ไ ่ ็จ ณีจ่ ย ่ บ ด ห ่ ใหบ บช ะ ให ด ่ ข จ ์ บ และ ใหบ บช ะ ณีจ่ ย ด ห โ ถ ็ ็บไซ ์ ี ็ ี จ ด ่ แจ หล ฐ ถ ไ ่ ี บ็ ไซ ์ ห ็ ็บไซ ์ ถ ให ใจ ห ่ ย ี บแจ ี ญั ห o ยด่ 1212 ย์ บ ีย ไล ์ ฒ ธุ ล็ o ยด่ 1213 ย์ ุ ใชบ ธ แห่ ะ ไ ย o ยด่ 1166 ณะ ุ บ โภ 56
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) ก หมาย ดจิ ิทัล กฎหมายดิจทิ ลั กฎหมายดิจทิ ลั จ็ ี ข ใจ ธและข จ ด ี บ ุ ใช ดจ ลใ แบบ ่ ๆ ซ ไดถ ห ดโดยภ ฐ ีจะได ถ ฏบ และด ชี ได ย่ถ ฎ ะ บียบ ซ จะ ็ ธข ี ด ย คาถามสาคัญ ์ ็ และ ดจ ล ย่ ไ ใหไ ่ ด ฎห ย? จะใช จดุ ประสงคห์ ลัก ข ใจ ฎห ย ี ีย ข บดจ ล และ ธี ฏบ ฎห ย ถ จ บบ ใช ฎห ย ไี ่ ็ ธ ข จ ห ี ข ใจ ย์ ญั ญ และ แ ่ ข ย์ ัญญ ะ ภ ่ ๆ ข ใจ ลข ธ์ และ แ ่ ข ข ล ญุ ใช ธแบบ ่ ๆ ข ใจข้ ใช ล ข ล ภ และ ่ ๆ ี ีลข ธ์ สมรรถนะ ถด ชี ฏบ ่ ใช ุ ณ์ดจ ล ่ ๆ ได ย่ ถ ฎห ย และไ ่ละ ด ลข ธ์ ถ ข ล/ ล ใ ์ ็ ใชใหถ ธี ้ ่ ่ (Share) ไ ใชใ ไ Remix โดยไ ่ ี ละ ดลข ธ์ และ ด ฎห ย ถ ฏบ ไดถ ี ละ ดลข ธ์ / ไ ละ ดลข ธ์ข / ข ุญ ใช ธข ล ี ถ ธ 57
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) โครงสรา้ งหัวเรือ่ งหลกั ฎห ยดจ ล ย์ ญั ญ ขล ลข ธ์ ญุ ใช ธ ฎห ยไ ย ะ ด ธุ ล็ ์ ข ล ่ บุ ล ดห ห ะ ย ยุ ยุย ลุ ะด หวั เรื่องหลกั ย์ ญั ญ (Intellectual Property) o แ ่ข ® Registered Trademark © Copyright TM Trademark SM Service Mark Patent Pending o หย o https://www.youtube.com/watch?v=ASB8SxN4qyo ลข ธ์ (Copyright) o ละ ดลข ธ์ (Copyright Violation) ใช , ข ย, ด ้ , ยแ ่ ี ด ฎห ย ข ล ญุ ใช ธ (License Agreements) o Creative Commons license CC ้ 6 แบบ 58
หลกั สตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) o Copy left o ญญ ญุ ซ ฟ แ์ ์ (Software License Agreements) ะ ภ ่ ช่ ุญ ใหใช ญุ ให ุญ ใหแ ไข ุญ ให ยแ ่/ ะจ ย ญุ ให ญญ ย่ ยได Open-Source, Freeware, Shareware, Freemium, BSD, GPL, MIT, Apache ข้ ฏบ ีย บลข ธ์ o ใช ล ี ลี ข ธข์ o ี ละ ดลข ธ์ข o ไ ละ ดลข ธ์ข ฎห ยลข ธ์ o บ. ลข ธ์ (ฉบบ ี 2, 3) . . 2558 o บ. ลข ธ์ . . 2537 o แหล่ ห ภ ถ่ ยถ ลข ธ์ – ภ ี ะ ลข ธ์ ็ แบบ Creative Commons (CC ี ญุ ใหใช และไ ่ ุญ ) ช่ https://www.pexels.com https://www.flickr.com/creativecommons/ https://search.creativecommons.org/ http://budgetstockphoto.com/creative_commons_images.html ห ใหถ ลข ธบ์ Google (ถ ใ บ้ จ บ บ บ็ ี ้ ) o ๆ > ธใ์ ใช > ด ย บ ่ ถใชซ้ … – ( ธบ ย ธ CC) ฎห ย ะ ด ยี บ ์ ด o ะ ชบญญ ่ ด ย ะ ์ . . 2550 o ่ ะ ชบญญ ่ ด ย ะ ด ์ . . 2558 o บ ดใ แ ่ ( ะ ล ฎห ยแ ่ และ ณชย์) ห บ ะ ด ์ ( 420 – 421) 59
หลกั สตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) o บ ดใ ญ ( ะ ล ฎห ย ญ ) ห บ ะ ด ์ ( 73 – 76) ฎห ยธุ ล็ ์ o ะ ชบญญ ่ ด ยธุ ล็ ์ . . 2544 o ะ ชบญญ ่ ด ยธุ ล็ ์ (ฉบบ ี 2) . . 2551 o ะ ช ฤ ฎี ห ด ะ ภ ธุ ใ แ ่ และ ณชย์ ีย ให ฎห ย ่ ด ยธุ ล็ ์ ใชบ บ . . 2549 o ะ ณะ ธุ ล็ ์ บ ์ . . 2555 o ะ ณะ ธุ ล็ ์ ห ่ ย บ ์ . . 2555 o ะ ณะ ธุ ล็ ์ หล ณฑ์และ ธี ใ จด ห แ ล และข ให ย่ใ ข ข ล ล็ ์ . . 2553 ฎห ย ุ ข ล ่ บุ ล o ฐธ ญแห่ ช ณ จ ไ ย . . 2550 ( 4, 35) o ่ ะ ชบญญ ุ ข ล ่ บุ ล . . 2558 o ะ ชบญญ ข ลข่ ช . . 2540 o ะ ณะ ธุ ล็ ์ แ โยบ ยและแ ฏบ ใ ุ ข ล ่ บุ ลข ห ่ ย ข ฐ . .2553 o ฏญญ ล ่ ด ย ธ ุ ยช ฎห ย ดห และห ะ o ห ะ ( ะ ล ฎห ย ญ 326) o ห ะ โดย โฆ ณ ( ะ ล ฎห ย ญ 328) oห ะ ่ ( ะ ล ฎห ยแ ่ และ ณชย์ 423) o ดห ซ ห ( ะ ล ฎห ย ญ 393) o ห ะบ ดช ภุ ( ะ ล ฎห ย ญ 112) o ห ะ บุ ล ญข ฐ ่ ช ( ะ ล ฎห ย ญ 113 – 114) ฎห ย ด็ o ะ ชบญญ ุ ด็ . . 2546 ฎห ย ย ยุ ยยุ ลุ ะด o ย ยใุ ห ด ั่ ่ ห ะ ขด ฐธ ญ ( ะ ล ฎห ย ญ 116) o ยุย ใหหยุด ิด ให ด ลีย แ ล ฎห ย ( ะ ล ฎห ย ญ 117) 60
หลกั สตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) o ข่ ข ใจ จ โดย ข่ ขญ็ ่ จะใช ล ( ะ ล ฎห ย ญ 118) ฎห ย ช o ICCPR: International Covenant on Civil and Political Rights ห ่ ย ี บ ีย ห ให ช่ ย หล 61
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) ภาคผนวก ข. เนอ้ื หาหลกั ตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร 62
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 1. กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวิชาสทิ ธิและความรบั ผิดชอบ 1. ผสู้ อนช้ีให้เห็นว่า เมอ่ื ตวั เองโดนปฏิบัติทไ่ี มเ่ หมาะสม ตัวเราเองก็จะไม่ชอบ ดังน้ันไมค่ วรปฏิบัติกบั คน อน่ื โดยการเรียนผเู้ รยี นมาสัมภาษณว์ ่าถา้ โดนปฏบิ ัตไิ ม่เหมาะสมจะรู้สกึ อยา่ งไร 2. ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์แสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามต่อไปนี้ 1) เราจะใชส้ ิทธิ เสรีภาพ อยา่ งไรใหถ้ กู ต้อง และ มีความรบั ผิดชอบ? 2) อะไรคือความเปน็ ส่วนตัว (Privacy) อะไรคือพืน้ ท่สี าธารณะ(Public) อะไรคือพน้ื ท่สี ว่ นตัว (Private)? 3) การกระทาอย่างไรเข้าข่ายละเมิดสทิ ธผิ ูอ้ ่ืน หมิน่ ประมาท หรือ ผดิ กฎหมาย? 4) ความรบั ผิดชอบเมื่อกระทาในพืน้ ที่สาธารณะยคุ ดจิ ทิ ลั มีอะไรบ้าง? 3. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 4. ผสู้ อนเสนอแนะใหผ้ เู้ รียนสืบค้นข้อมลู เพม่ิ เตมิ ดังน้ี 1) เราจะใช้สทิ ธิ เสรภี าพ อย่างไรให้ถูกต้อง และ มีความรบั ผิดชอบ? 2) อะไรคือความเป็นส่วนตัว (Privacy) อะไรคือพน้ื ทีส่ าธารณะ(Public) อะไรคือพืน้ ทส่ี ่วนตัว (Private)? 3) การกระทาอย่างไรเข้าข่ายละเมดิ สิทธิผ้อู ่ืน หม่ินประมาท หรือ ผิดกฎหมาย? 4) ความรบั ผิดชอบเม่ือกระทาในพน้ื ท่ีสาธารณะยุคดิจิทัลมีอะไรบา้ ง? 5. ผเู้ รียนแต่ละคนดาเนินการสืบคน้ ขอ้ มลู ภายนอกที่ได้แนะนานอกเวลาเรยี น 2. กิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาการเข้าถงึ ส่อื ดิจิทลั 1. ผเู้ รียนร่วมกันวเิ คราะห์แสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามต่อไปนี้ 1) สามารถเขา้ ถงึ อินเทอรเ์ นต็ ได้ดว้ ยวิธีไหนบา้ ง และ แต่ละวธิ เี หมาะสมในกรณีไหน? 2) ส่อื ดิจทิ ัลมีอะไรบา้ ง? 3) จะค้นหาข้อมลู ที่ตอ้ งการอย่างมปี ระสิทธภิ าพได้อย่างไร? 2. ผู้เรียนทาแบบทดสอบ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 3. ผู้สอนเสนอแนะให้ผู้เรยี นสืบค้นขอ้ มลู เพม่ิ เติมดงั นี้ 1) สามารถเข้าถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ได้ด้วยวิธีไหนบ้าง และ แตล่ ะวธิ เี หมาะสมในกรณีไหน? 2) สอ่ื ดจิ ทิ ัลมีอะไรบา้ ง? 3) จะค้นหาข้อมูลทต่ี อ้ งการอยา่ งมีประสิทธภิ าพได้อย่างไร? 4. ผเู้ รยี นแตล่ ะคนดาเนนิ การสบื คน้ ข้อมูลภายนอกท่ีได้แนะนานอกเวลาเรียน 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวิชาการสื่อสาร (และความสมั พันธ์) ยคุ ดจิ ทิ ลั 1. ผู้สอนยกตัวอย่าง ข้อความ/บทความ ท่ีประกอบด้วยข้อเท็จจริง และ ข้อคิดเห็น และแยกแยะให้ ผู้เรียนเห็นถึงความแตกต่าง พร้อมทั้งสร้างความตระหนักให้เห็นว่า การเข้าใจว่าขอ้ คิดเห็น คือ ความ เปน็ จริง จะทาให้เกิดผลเสยี อยา่ งไรบา้ ง 63
หลักสตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 2. ผูเ้ รียนรว่ มกนั วิเคราะหแ์ สดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1) ตอ้ งมีความร้อู ย่างไรบา้ งถงึ จะสามารถนาข้อมูลในยุคดจิ ิทลั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนไ์ ด้? 2) การนาเสนอขอ้ มลู ทเี่ หมาะสมกับยุคดจิ ทิ ัลต้องทาอยา่ งไร? 3. ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 4. ผสู้ อนเสนอแนะใหผ้ ้เู รยี นสบื ค้นข้อมูล เพิ่มเตมิ ดงั น้ี 1) ต้องมีความรอู้ ย่างไรบา้ งถึงจะสามารถนาข้อมูลในยุคดจิ ิทลั ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนไ์ ด้? 2) การนาเสนอขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสมกบั ยุคดจิ ทิ ัลต้องทาอย่างไร? 5. ผเู้ รยี นแตล่ ะคนดาเนนิ การสืบคน้ ขอ้ มลู ภายนอกท่ีได้แนะนานอกเวลาเรยี น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ รายวชิ าความปลอดภยั ยคุ ดจิ ทิ ัล 1. ผู้สอนยกตวั อยา่ ง โดยให้ผู้เรยี นลองคน้ หาช่ือของเพื่อนใน Google 2. ผู้เรียนรว่ มกนั วเิ คราะห์แสดงความคิดเหน็ และตอบคาถามต่อไปนี้ 1) เราจะใช้อุปกรณด์ จิ ิทัลต่าง ๆ อย่างปลอดภัย ไดอ้ ยา่ งไร? 3. ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 4. ผู้สอนเสนอแนะให้ผเู้ รียนสืบค้นขอ้ มลู เพ่ิมเติมดังน้ี 1) เราจะใช้อุปกรณ์ดจิ ิทลั ต่าง ๆ อยา่ งปลอดภยั ไดอ้ ย่างไร? 5. ผเู้ รยี นแต่ละคนดาเนนิ การสืบคน้ ขอ้ มลู ภายนอกที่ได้แนะนานอกเวลาเรยี น 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวิชาความเขา้ ใจสื่อดิจทิ ัล 1. ผู้สอน ขออาสาสมัครผู้เรียนออกมาด้านหน้า แล้วให้ยกตัวอย่าง ข้อความ/บทความ ที่เคยประสบมา ในชีวิตจริง และให้ผู้เรียนแยกแยะ ข้อเท็จจริง และ ข้อคิดเห็น จากน้ันจึงสอบถามว่าถ้าไม่มีการ แยกแยะระหว่างขอ้ เท็จจริง และ ขอ้ คดิ เห็นจะทาใหเ้ กิดผลประทบอะไรกับตวั เราบ้าง 2. ผเู้ รียนรว่ มกันวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นและตอบคาถามต่อไปน้ี 1) ตอ้ งมีความรอู้ ย่างไรบ้างถึงจะสามารถนาข้อมูลในยุคดจิ ิทัล ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้? 2) การนาเสนอขอ้ มลู ที่เหมาะสมกับยคุ ดิจิทัลต้องทาอยา่ งไร? 3. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 4. ผูส้ อนเสนอแนะให้ผู้เรยี นสืบคน้ ข้อมลู เพม่ิ ติมดงั น้ี 1) ต้องมีความรอู้ ย่างไรบา้ งถึงจะสามารถนาข้อมูลในยุคดจิ ทิ ัล ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้? 2) การนาเสอนขอ้ มูลทเ่ี หมาะสมกบั ยุคดจิ ิทัลต้องทาอยา่ งไร? 5. ผูเ้ รียนแต่ละคนดาเนินการสืบค้นขอ้ มูลภายนอกทไ่ี ดแ้ นะนานอกเวลาเรียน 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวิชาแนวปฏิบตั ิในสงั คมดจิ ทิ ัล 1. ผู้สอนชใี้ ห้เห็นว่า เมอ่ื ตวั เองโดนปฏิบัติทีไ่ มเ่ หมาะสม ตัวเราเองก็จะไม่ชอบ ดังนั้นไม่ควรปฏิบัติกับคน อนื่ โดยการเรียนผู้เรียนมาสัมภาษณว์ ่าถ้าโดนปฏิบัติไมเ่ หมาะสมจะรู้สกึ อยา่ งไร 2. ผู้เรียนรว่ มกันวเิ คราะหแ์ สดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 64
หลักสตู รการเข้าใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 1) มารยาทในการรว่ มอยู่สงั คมออนไลน์มีอะไรบ้าง? 2) พฤติกรรมท่สี ร้างความราคาญ ไมเ่ หมาะสม ในสงั คมออนไลน์มอี ะไรบา้ ง? 3) จะรบั มอื กบั บคุ คลทส่ี รา้ งความราคาญอยา่ งไรใหเ้ หมาะสม? 3. ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 4. ผสู้ อนเสนอแนะให้ผเู้ รียนสบื คน้ ขอ้ มูล เพมิ่ เตมิ ดังน้ี 1) มารยาทในการรว่ มอยู่สังคมออนไลน์มีอะไรบา้ ง? 2) พฤติกรรมท่สี รา้ งความราคาญ ไม่เหมาะสม ในสังคมออนไลน์มอี ะไรบา้ ง? 3) จะรบั มือกับบุคลท่ีสร้างความราคาญอย่างไรให้เหมาะสม? 5. ผู้เรยี นแตล่ ะคนดาเนินการสบื ค้นขอ้ มูลภายนอกทไ่ี ด้แนะนานอกเวลาเรยี น 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ าสขุ ภาพดียคุ ดจิ ิทัล 1. ผู้สอนเน้นใหเ้ ห็นว่าคนรอบตัว ณ ปจั จุบนั กาลังประสบปญั หาจากการตดิ อินเทอร์เนต็ และ พฤติกรรม หลายอยา่ ง ท่เี ราเห็นวา่ ผู้อื่นทาไมเ่ หมาะสมเรากับเป็นคนทาเอง 2. ผู้เรยี นรว่ มกันวเิ คราะหแ์ สดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามต่อไปนี้ 1) การจะมีสุขภาพดีในยุคดจิ ทิ ลั ต้องทาอยา่ งไรบ้าง? 2) การจะมีสุขภาพใจในยคุ ดิจทิ ัลตอ้ งทาอย่างไรบ้าง? 3. ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 4. ผู้สอนเสนอแนะใหผ้ ู้เรยี นสืบค้นข้อมูล เพิ่มเติมดังน้ี 1) การจะมสี ุขภาพดีในยุคดจิ ทิ ัลตอ้ งทาอยา่ งไรบ้าง? 2) การจะมีสุขภาพใจในยคุ ดิจิทัลต้องทาอย่างไรบา้ ง? 5. ผู้เรียนแต่ละคนดาเนินการสบื ค้นขอ้ มูลภายนอกที่ได้แนะนานอกเวลาเรยี น 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวิชาดจิ ิทัลคอมเมริ ์ซ 1. ผสู้ อนนาเสนอขา่ วทีม่ กี ารหลอกลวงขายสนิ คา้ ทางออนไลน์มาเปน็ ตัวอย่าง 2. ผู้เรียนรว่ มกันวเิ คราะหแ์ สดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1) เราจะทาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ หป้ ลอดภยั ได้อยา่ งไร? 3. ผู้เรียนทาแบบทดสอบ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 4. ผู้สอนเสนอแนะให้ผู้เรียนสบื ค้นขอ้ มลู เพิม่ เติมดังน้ี 1) เราจะทาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ให้ปลอดภัยได้อยา่ งไร? 5. ผเู้ รียนแต่ละคนดาเนินการสืบคน้ ข้อมูลภายนอกท่ีไดแ้ นะนานอกเวลาเรียน 9. กิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชากฎหมายดจิ ิทัล 1. ผู้สอนช้ใี หเ้ ห็นว่า กิจกรรมใดในชวี ติ ประจาวันทผ่ี ิดลิขสิทธ์บิ ้าง 65
หลกั สตู รการเข้าใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 2. ผสู้ อนนาเสนอข่าวทีม่ กี ารบุกจบั ของตารวจเป็นตวั อยา่ ง 3. ผู้เรยี นร่วมกนั วเิ คราะห์แสดงความคิดเห็นและตอบคาถามต่อไปน้ี 1) เราจะใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ และส่อื ดจิ ิทัลอยา่ งไรให้ไมผ่ ิดกฎหมาย? 4. ผู้เรียนทาแบบทดสอบ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 5. ผสู้ อนเสนอแนะใหผ้ เู้ รียนสืบคน้ ขอ้ มูล เพิ่มเตมิ ดังนี้ 1) เราจะใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตและส่อื ดิจิทัลอยา่ งไรให้ไม่ผิดกฎหมาย? 6. ผู้เรยี นแต่ละคนดาเนินการสืบค้นข้อมูลภายนอกที่ได้แนะนานอกเวลาเรยี น 66
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) ภาคผนวก ค. เอกสารประกอบการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ (Presentation) (เอกสารแนบ) 67
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) ภาคผนวก ง. เครอื่ งมือประเมนิ และวดั ผลความรู้ความเข้าใจดิจทิ ลั (Testing tools) 68
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 1. แบบทดสอบ รายวิชาสทิ ธิและความรับผดิ ชอบ คาชแ้ี จง ให้เลือกคาตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุดเพยี งข้อเดยี ว 1. เสรภี าพในการแสดงออก ข้อไหนถูกต้อง ? ก. เราสามารถพูดอะไร หรือ ทาอะไรก็ได้ ไม่ว่าท่ไี หน ข. เราสามารถพูดอะไร หรือ ทาอะไรก็ได้ ใน Facebook ของเรา ค. เราสามารถแสดงออกได้ตามท่กี ฎหมายกาหนดสทิ ธิให้ และ ไมร่ บกวนผอู้ ่ืน ง. เราไมส่ ามารถแสดงออกอะไรไดเ้ ลย 2. Facebook เป็นพน้ื ทส่ี ่วนตัวหรอื สาธารณะ? ก. พ้ืนท่สี าธารณะ (Public) ข. พน้ื ทสี่ ่วนตัว (Private) ค. พื้นที่ของบริษทั ง. ข้นึ อยกู่ ับการตัง้ ความเปน็ ส่วนตวั (Privacy) 3. เพ่ือพบเหน็ การค้าเด็ก หรือ ค้าประเวณเี ด็ก เราควรทาอย่างไร? ก. แชรใ์ ห้เพอ่ื นทราบ เพื่อให้คนท่สี นใจทดลองใชบ้ ริการ ข. แจง้ ผูร้ บั ผดิ ชอบ เพ่ือเขา้ จดั การ หรอื ช่วยเหลอื ค. ไม่ต้องสนใจ เพราะไมไ่ ด้เกย่ี วอะไรกับเรา ง. พยายามตดิ ต่อเด็ก หรอื ผู้ทเ่ี ปน็ นายหนา้ เพือ่ อบรม หรือ ปรับทศั นคติ 4. ขอ้ ใดถอื วา่ เป็นการละเมดิ สทิ ธิสว่ นตัว (Privacy) ก. ผอู้ ่ืนนาข้อมูลสว่ นตวั ของเรา เชน่ การนาอาหารที่เรากนิ มาเปดิ เผยบน Facebook ข. ผู้อืน่ เข้ามาแอบอ่าน Facebook ของเรา ค. ผูอ้ ื่นมาแสดงความคดิ เห็นบน Facebook ของเรา ง. ผู้อ่ืนแชรข์ อ้ ความของเราโดยไม่บอกท่ีมา 5. เมอ่ื ต้องการดูภาพยนต์ออนไลนต์ ้องทาอย่างไร? ก. หาเว็บเถ่ือน เพื่อดูออนไลน์ ข. หาเว็บเถือ่ นโหลดฟรี มาดู ค. ซ้ือภาพยนตร์ทต่ี อ้ งการมาอย่างถูกกฎหมาย เชน่ ผา่ น iTune ง. ถามคนทใี่ ช้กระดานสนทนา เชน่ pantip.com ว่าใครมีภาพยนตร์บ้างช่วยเผยแพร่ฟรหี นอ่ ย 69
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 6. อะไรคือข้อมลู สว่ นตวั ของเรา? ก. คาสัมภาษณ์ทีใ่ ห้ไว้กบั หนงั สอื พิมพ์ ข. บทความวิชาการ ค. ทอ่ี ยขู่ องเรา ง. หนงั สอื ท่เี ราเปน็ ผแู้ ต่ง 7. ขอ้ ตกลงการใหบ้ ริการ (Terms of Service) มีประโยชน์อย่างไร ? ก. เพือ่ ให้ผู้ใชก้ ดปุ่ม ยอมรบั ก่อนเรม่ิ ใชบ้ ริการ ข. เพ่ือเขา้ ใจวา่ ผ้ใู ห้บริการ/ผผู้ ลิต จะรบั ผิดชอบแค่ไหน และ เราต้องรบั ผดิ ชอบอะไร ค. ชว่ ยใหเ้ ราเขา้ ใจข้นั ตอนการใช้บรกิ าร หรอื โปรแกรม ง. ชว่ ยใหห้ าผู้ใหบ้ รกิ ารทางออนไลน์ไดง้ า่ ยขนึ้ 8. เม่อื เราต้องการเผยแพร่ข้อมูลทนี่ ่าสนใจบน Facebook เราควรทาอยา่ งไร? ก. กด LIKE ก่อนแชร์ ข. คดั ลอกมาเก็บไว้ก่อน 10 วนั แลว้ จงึ โพสตใ์ หม่เป็นของเรา ค. แสดงขอความขอบคุณก่อนนาไปแชร์ ง. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อน 9. ถา้ พบการการะทาความผิดทางกฎหมายในอินเทอรเ์ นต็ เราควรทาอยา่ งไร? ก. ขอร่วมกระทาด้วย ข. แจง้ ผรู้ บั ผิดชอบเวบ็ ไซตน์ นั้ ให้ดาเนนิ การ ค. ไมต่ ้องสนใจ เนือ่ งจากไม่เกย่ี วอะไรกับเรา ง. เรียกเงนิ จากผู้กระทาผดิ ถ้าไมใ่ หเ้ งนิ ขูว่ ่าจะแจง้ ตารวจ 10.เม่อื เราเขียนใส่รา้ ยบุคคลท่ี 3 ใน Facebook ของเรา จะเข้าข่ายหม่ินประมาทหรือไม่? ก. เข้าขา่ ยหมิน่ ประมาท ข. ไม่เข้าขา่ ยหมน่ิ ประมาท เพราะว่าอยู่ Facebook ของเรา ค. ไม่เข้าขา่ ยหมืน่ ประมาท เพราะว่าเป็นการกล่าวถงึ บคุ คลอ่นื ง. ไมเ่ ข้าขา่ ยหม่ืนประมาท เพราะเรามีเสีรภี าพ จะทาอะไรก็ไดต้ ามท่ีเราต้องการ เฉลย 1. ง 2. ค 3. ข 4. ก 5. ค 6. ค 7. ข 8. ง 9. ข 10. ก 70
หลักสตู รการเข้าใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 2. แบบทดสอบ รายวชิ าการเข้าถึงส่ือดิจทิ ลั คาช้แี จง ใหเ้ ลอื กคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งทส่ี ดุ เพียงข้อเดียว 1. เม่ืออยูท่ ่ีบ้าน และ ต้องการดูวีดโี อ YouTube ใชว้ ธิ กี ารไหนเหมาะสมท่สี ดุ ? ก. 2G EDGE ข. 3G HSPA ค. 4G LTE ง. Wi-Fi จาก อนิ เทอรเ์ น็ตตามสาย 2. เมอ่ื เรานาโทรศพั ทไ์ ปใชง้ านที่ต่างประเทศ เราควรทาอยา่ งไร เพอื่ ป้องกันค่า Roaming? ก. เตรยี มข้อความเพ่อื โพสต์ใน pantip เพ่ือเรยี กรอ้ ง เมื่อมกี ารเกบ็ ค่าบริการจานวนมาก ข. ปิด Data Roaming เพ่อื ป้องกนั การใช้ Data Roaming ค. แจ้งใหเ้ พ่ือนทราบวา่ จะไปต่างประเทศ จะไดม้ ีหลกั ฐานเม่ือมกี ารเก็บคา่ บริการ ง. ลงบันทึกประจาวนั เพอื่ เป็นหลักฐานทางกฎหมาย วา่ เราจะเดินทางไปตา่ งประเทศ 3. ข้อใดจัดเปน็ ประโยชนข์ องอนิ เทอรเ์ น็ตตามสาย หรือ อนิ เทอรเ์ น็ตบา้ น เมื่อเทียบกับ 3G, 4G? ก. ปอ้ งกนั รังสี UV ท่จี ะมผี ลกระทบได้ ข. สามารถใช้ได้เมอื่ มพี ายฝุ น ค. ไมม่ ี FUP ทาให้โหลดขอ้ มลู จานวนมากได้ ง. สามารถเข้าเว็บไดห้ ลากหลายมากกวา่ 4. ทาไม อตุ สาหกรรมยุคที่ 4 จาเปน็ ต้องใช้ IoT ก. เพราะเปน็ เทคโนโลยใี หม่ล่าสุด ข. เป็นวธิ ีการมาตรฐานท่กี าหนดมาโดยหนว่ ยงานระหว่างประเทศ ค. เนื่องจากมผี ้ผู ลิตจานวนมากทาให้ราคาถูก ง. เพราะวา่ อตุ สาหกรรมยุคที่ 4 เป็นเรอื่ งของอุปกรณ์ต่าง ๆ เชน่ เซนเซอร์ ติดตอ่ กนั เพื่อ ทางานอัตโนมัติ 5. ถ้าต้องการฟงั เพลง ควรใช้ไฟล์ชนดิ ไหน ถงึ จะเหมาะสม ก. MP3 ข. JPEG ค. DOCX ง. PDF 71
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 6. การจัดการสทิ ธด์ิ จิ ิทลั เชน่ DRM คืออะไร ก. การกาหนดสิทธิให้กบั ไฟลน์ น้ั วา่ ใครสามารถนาไปใช้ได้ เช่น ใครสามารถนาไฟล์เพลงไปฟังได้ ข. ระบบทีใ่ ชต้ ิดตามว่าใครนาไฟล์ไปใชท้ ่ไี หนบ้าง ค. ระบบทใี่ ชแ้ สดงวา่ ไฟล์นี้ใครเปน็ เจา้ ของตอนท่เี ราใช้งาน ง. ระบบที่ทางการนามาใชเ้ พ่ือใชจ้ ับการละเมิดลิขสิทธ์ิ 7. ถา้ เราตอ้ งการถ่ายทอดสด กจิ กรรมของเราให้ผู้อ่นื ดู ควรใช้อะไร? ก. YouTube Live ข. LINE ค. Gmail ง. Google 8. ถ้าเราต้องการประชมุ ที่ไม่สาคญั เปน็ เวลา 1 ชม. กับคนที่อยู่ตา่ งจงั หวดั ควรใชว้ ธิ ีไหน ถงึ จะเหมาะสม และประหยดั คา่ ใช้จ่าย? ก. ขน้ึ เครอ่ื งบินเพื่อไปประชุม ข. เหมารถตู้ ค. ใช้ Video Conference ง. ข้นึ รถทัวร์ 9. ถา้ ต้องการคน้ หาเวบ็ ทตี่ ้องการ ควรจะเร่มิ คน้ หาจากเว็บไหน ก. Facebook ข. Pantip ค. Google ง. Gmail 10.ถ้าตอ้ งการค้นหาใน Google แต่ไม่ต้องการบาง Keyword เราควรทาอยา่ งไรกบั Keyword น้ัน ก. ตดิ ตอ่ Google ใหเ้ อา Keyword น้นั ออก ข. ติดต่อผใู้ หบ้ ริการอินเทอรเ์ น็ตเพอ่ื แจง้ ปญั หาให้ทราบ ค. พมิ พ์ Keyword นั้นดา้ นหลังตอ่ จากคาท่เี ราคน้ หา ง. เพม่ิ Keyword น้นั ในการคน้ หาโดยใช้ “เครือ่ งหมายลบ” นาหน้า Keyword ท่ีไมต่ ้องการ เฉลย 1. ง 2. ข 3. ค 4. ง 5. ก 6. ก 7. ก 8. ค 9. ค 10. ง 72
หลกั สตู รการเข้าใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 3. แบบทดสอบ รายวิชาการสือ่ สาร (และความสมั พันธ)์ ยุคดจิ ทิ ัล คาชี้แจง ใหเ้ ลอื กคาตอบทีถ่ ูกต้องทสี่ ุดเพียงข้อเดยี ว 1. ถ้าตอ้ งการข้อมลู เร่งดว่ น ควรติดต่อด้วยวิธไี หน? ก. ส่ง Email ไปขอ ข. สง่ LINE ไปขอ ค. โพสต์ Facebook ไปขอ ง. โทรศัพท์ไปขอ 2. เมอื่ เพอ่ื นแชรข์ ้อมูลมา เราควรทาอย่างไร ก. LIKE และแชรต์ ่อ โดยไมต่ ้องอา่ น ข. เชอ่ื ถือ และ ปฏิบตั ิตาม ค. พจิ ารณาความน่าเชอ่ื ถือ และ ถกู ตอ้ งของข้อมลู ง. แสดงความชื่นชมเพ่ือท่ีนาข้อมลู มาแชร์ 3. ถ้าต้องการเกบ็ หลกั ฐานการคุย/ติดต่อ เพื่อใช้ อ้างอิงในอนาคต ไม่ควรใชว้ ิธไี หน? ก. Email ข. LINE ค. Facebook Massager ง. โทรศพั ท์ 4. ถ้าตอ้ งการเปลีย่ น Facebook ให้เปน็ ส่วนตัว เหน็ เฉพาะคนทเี่ ราตอ้ งการเท่านั้น ตอ้ งทาอยา่ งไร? ก. ตั้งคา่ Privacy ใน Facebook ข. ตั้งคา่ Privacy ในอุปกรณโ์ ทรศพั ท์ ค. ติดตอ่ ผใู้ หบ้ รกิ ารอนิ เทอร์เน็ตเพื่อต้ังค่า Privacy ง. แจง้ คารอ้ งไปยัง Facebook เพอื่ ให้แสดงข้อความเฉพาะคนที่เราต้องการเท่านั้น 5. ก่อนจะสง่ ข้อความไปยงั สอ่ื ออนไลนเ์ ราควรทาอยา่ งไรก่อน? ก. จดั ภาพหนา้ จอเพอ่ื เปน็ หลกั ฐานทุกครัง้ ทีส่ ่ง ข. คดิ พิจารณา ในดา้ นต่าง ๆ ก่อนสง่ ค. หาฤกษ์ทเี่ หมาะสมก่อนส่ง ง. ดูวา่ คนทีต่ ้องการรบั ข้อความเรา ใชง้ านอย่หู รอื ไม่ 73
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 6. เมอ่ื ต้องการตดิ ต่อกบั อาจารย์/เจา้ นาย/หวั หน้า ควรส่ือสารอย่างไร? ก. ส่ือสารใหเ้ หมือนกบั การส่อื สารกับเพื่อน เพื่อสร้างความคุ้นเคย ข. สอื่ สารโดยการใชภ้ าษาสมัยใหม่ หรอื ภาษาวยั รนุ่ เพอ่ื แสดงความทันสมยั ให้เห็น ค. สอ่ื สารดว้ ยความเคารพ และ ชดั เจน ง. สื่อสารใหเ้ กดิ ความงุนงงมากทีส่ ดุ เพอ่ื ให้ อาจารย์/เจ้านายติดตอ่ กลบั มาหาเราเอง 7. เราควรแสดงความคิดเหน็ อย่างไร จงึ จะเป็นไปในทางสร้างสรรค์? ก. ปลุกระดม เพอื่ ให้เกดิ การรวมกลุ่มเรียกร้องในสง่ิ ที่ตอ้ งการ ข. ให้ขอ้ เท็จจริงท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ และเกิดประโยชน์ ค. ใช้อารมณ์เพ่ือให้เกิดอารมณ์ร่วมกบั เหตกุ ารณห์ รือข้อความนั้น ง. พยายามโตแ้ ย้ง เพราะใหค้ นอื่นเข้าใจตามท่เี ราต้องการใหเ้ ข้าใจ 8. เม่อื มีคนมาแสดงความคิดเหน็ ตาหนิเราใน Facebook ท่ีเรากาหนดใหเ้ ปน็ สาธารณะ เราควรทา อยา่ งไรเปน็ อันดบั แรก? ก. เขา้ ใจว่า เนอื่ งจากเรากาหนดให้ Facebook ของเราเป็นสาธารณะ ดงั น้นั คนอ่นื สามารถ แสดงความคดิ เห็นได้ ข. โต้ตอบวา่ Facebook เป็นพ้ืนทีส่ ่วนตวั ของเราคนอนื่ ไมม่ สี ิทธมิ าแสดงความคดิ เห็น ค. แจง้ Facebook วา่ มีคนมาแสดงความคดิ เห็นใน Facebook ท่ีเราเปิดเป็นสาธารณะ ง. ไปโพสต์เพ่ือเรยี กร้องใน pantip ว่าโดนคนอ่ืนมาโพสต์ใน Facebook ของเราที่เปิดเป็น สาธารณะ 9. ประทษุ วาจา ทาให้เกดิ ประโยชนใ์ นด้านไหน? ก. ทาให้เกดิ ความสามัคคี ข. ทาให้เราสามารถมีอารมณ์ร่วมกับเหตุการณน์ ั้นได้ ค. ทาให้ผอู้ ื่นรสู้ ึกดีข้นึ ง. ไม่เกิดประโยชน์อะไร 10.เม่ือเกดิ ดรามา่ ทางออนไลนเ์ ราควรทาอยา่ งไร? ก. พยายามติดตามทุก 10 นาที เพื่อไม่พลาดเหตกุ ารณส์ าคัญ ข. พยายามตดิ ตามทุก 6 ชัว่ โมง วา่ มีความคบื หน้าอะไรบา้ ง ค. พยายามชว่ ยหาข้อมลู และ อ่านทกุ ข้อความทีม่ ีการโพสต์ เพอื่ มสี ว่ นร่วมในดราม่า ง. พจิ ารณาว่า มันเกดิ ประโยชน์หรอื ไมเ่ กดิ ประโยชน์ ทเี่ ราจาเป็นตอ้ งรู้หรอื ติดตามเร่ืองนนั้ เฉลย 1. ง 2. ค 3. ง 4. ก 5. ข 6. ค 7. ข 8. ก 9. ง 10. ง 74
หลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 4. แบบทดสอบ รายวิชาความปลอดภยั ยุคดจิ ิทลั คาชแี้ จง ใหเ้ ลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดเปน็ การท้ิงรอยเทา้ ดิจิทัล? ก. โพสต์วา่ ไปกนิ ข้าวกับแฟนท่ีไหน ข. อ่านอเี มล์ ค. เลน่ เกมสอ์ อนไลน์ ง. อา่ นบทความออนไลน์ 2. ข้อใดเป็นอนั ตรายของการท้ิงรอยเท้าดจิ ทิ ัล ก. เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตัว ข. ผปู้ ระสงคร์ ้ายสามารถทราบความเคลือ่ นไหว และ ชีวิตเรา ค. ผอู้ ่ืนสามารถสาเนาขอ้ มูลไปเก็บไว้ เพ่ือสร้างปญั หาใหเ้ ราตอนหลังได้ ง. เปน็ ผลเสยี ทกุ ข้อ 3. WPA2 คืออะไร ก. การตัง้ รหัสผ่านเพื่อไมใ่ ห้คนอ่ืนมาใช้เครอื่ งของเรา ข. วิธกี ารเข้ารหัสขอ้ มูลเม่ือส่งข้อมลู ผา่ นไวไฟ ค. ระบบปอ้ งกนั ไวรัสท่ีจะเข้ามาทาอันตรายเรา ง. ระบบปอ้ งกนั การคดั ลองไฟล์ผิดลขิ สิทธ์ิ 4. ขอ้ ใดไมจ่ ัดเป็นมัลแวร์ ก. ไวรสั ข. โทรจนั ค. สปายแวร์ ง. แชรแ์ วร์ 5. เมื่อเอาโทรศัพท์ไปซอ่ ม เราจะเสี่ยงตอ่ สิ่งใดบา้ ง ก. ภาพลบั ท่เี ราถ่ายไว้ โดนเปดิ เผย ข. ข้อมูลตา่ ง ๆ โดนคดั ลอกไว้โดยชา่ ง ค. แอบตดิ โปรแกรมไมพ่ ึงประสงค์ หรอื มัลแวร์ มาในเครื่องเรา ง. ถูกทุกข้อ 75
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 6. เราจะทราบไดอ้ ย่างไรวา่ เวบ็ ไซต์ ที่เรากาลงั ใชง้ าน มีการเขา้ รหสั ขอ้ มลู เพ่ือความปลอดภยั ก่อนสง่ ? ก. บรษิ ทั เจ้าของเวบ็ ไซต์อยู่ในตลาดห้นุ ข. มกี ารแสดงรูปกญุ แจ ตรงกลางหน้าจอ ค. มกี ารใช้ HTTPS ในการติดต่อ ง. ได้มีการประกาศรับรองจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง 7. คอมพิวเตอร์ของเรา เมื่อไม่ได้มีการใช้ เป็นระยะเวลาหน่งึ เช่น ไปห้องน้า ควรทาอย่างไร? ก. เปิดทง้ิ ไว้ เผ่อื มเี พ่ือนต้องการข้อมูลจะได้มาใช้ได้ ข. Lock User เพ่ือไม่ให้คนอื่นมาใช้ ค. เรยี กเพ่ือน มานัง่ เฝ้าในชว่ งทีเ่ ราไปห้องน้า ง. ปิดคอมพิวเตอร์ ถอดปลกั๊ 8. รหสั ผ่าน (Password) แบบไหนท่ีเราควรตงั้ ก. 12345678 ข. 00000000 ค. AqKjc$_43!O> ง. P@ssword 9. เมอ่ื เวบ็ ไซต์มกี ารขอหมายเลขบตั รเครดติ ของเรา เราต้องทาอยา่ งไร? ก. รบี ให้ขอ้ มลู เน่อื งจากเป็นข้อมลู สาคญั ข. ตรวจสอบความนา่ เชือ่ ถอื ของเว็บไซต์ และ การเข้ารหสั ข้อมูล และจึงใหข้ ้อมูล ค. แจ้งตารวจ เพือ่ ดาเนนิ การจบั กุมโดยทนั ที ง. เลิกใชง้ านเว็บไซตน์ ัน้ 10.เมอ่ื ใช้ไวไฟสาธารณะจะมคี วามเสีย่ งอยา่ งไร? ก. ข้อมูลทส่ี ง่ ผ่านไวไฟไม่ได้มกี ารเขา้ รหัส ข. เชื่อมต่อกบั จดุ กระจายสัญญานปลอม ค. มีการดักข้อมูล ง. ถกู ทุกข้อ เฉลย 1. ก 2. ง 3. ข 4. ง 5. ง 6. ค 7. ข 8. ค 9. ง 10. ง 76
หลักสตู รการเข้าใจดิจทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 5. แบบทดสอบ รายวิชาความเขา้ ใจส่ือดิจทิ ัล คาช้แี จง ใหเ้ ลอื กคาตอบท่ีถูกตอ้ งทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว 1. ขอ้ ใดอนั ตรายของสารสนเทศในยุคดจิ ิทลั ? ก. เปน็ ความเหน็ มากกว่าข้อเท็จจรงิ ข. ขอ้ มลู สรา้ งโดยผู้ใช้ทั่วไป ไมม่ ีการตรวจสอบ/ควบคุม/กากับ ค. ไมม่ แี หล่งทมี่ า ความถกู ต้อง หรอื หลกั ฐาน ง. ถกู ทุกข้อ 2. เมอ่ื ต้องการนาเสนอ เราควรนาเสนอในรปู แบบไหน ก. ใช้ตัวหนงั สอื เยอะ ๆ เพื่อให้สามารถอ่านไดต้ อนนาเสนอ ข. ใช้ตวั หนงั สอื เยอะ ๆ เพ่ือให้ข้อมูลโดยละเอียด ค. ใช้ตวั หนังสอื ให้น้อย รปู ภาพให้เยอะเพือ่ สื่อความหมาย ง. ไม่ควรใช้ Slide นาเสนอควรพดู ปากเปล่า เพื่อใหผ้ ู้ฟังเกิดจิตนาการเอง 3. สารสนเทศ มีความแตกตา่ งจาก ข้อมลู ตามปกตอิ ย่างไร? ก. ไมม่ ีความแตกต่างกัน ข. สารสนเทศ เป็นคาเรียกข้อมูล เมอ่ื ใชก้ บั คอมพวิ เตอร์ ค. สารสนเทศ คอื ข้อมลู ทีม่ ีความหมาย ง. สารสนเทศ คือ คาที่เป็นทางการ ของข้อมลู 4. เม่อื เหน็ บทความ/ขอ้ ความ เราควรวเิ คราะห์อะไร ก. ผทู้ ่เี ขยี นขน้ึ มา เปน็ คนทีเ่ ราชื่นชอบหรอื ไม่ ข. ผู้ทเ่ี ขยี นขนึ้ มา เขยี นมาเพื่อจดุ ประสงค์อะไร ค. ผู้ท่ีเขียนข้ึนมา มีบ้านอยู่ทไ่ี หน ง. ผทู้ ี่เขยี นขนึ้ มา เสียภาษีถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ 5. เทคนคิ การเล่าเร่อื งราวมีประโยชน์ ตอ่ การนาเสนออยา่ งไร ก. ชว่ ยฝึกให้เราสามารถเปน็ นกั แสดงช่ือดงั ได้ ข. ชว่ ยให้การนาเสนอเร่อื งราวมีความน่าสนใจและน่าติดตาม ค. ช่วยใชส้ ามารถยืดระยะเวลาการนาเสนอให้นานขึ้น ง. ชว่ ยใหเ้ ราสามารถวิเคราะห์ข้อเท็จจริงของเรื่องราวนั้นได้ 77
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Curriculum) 6. เมือ่ เห็นการโฆษณาสินคา้ ทางออนไลน์ ส่งิ ใดทีเ่ ราควรจะให้ความสนใจ เพื่อตดั สนิ ใจ? ก. คาอวดอ้าง ข. การอา้ งเหตผุ ล ค. ข้อเท็จจรงิ ง. ความคดิ เหน็ 7. ถา้ เราต้องการนาเสนอข้อมูลเพอ่ื เปรยี บเทยี บปรมิ าณ ควรนาเสนอแบบไหนใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย? ก. กราฟ ข. แผนท่ี ค. รูปภาพ ง. ข้อความ 8. ถา้ ตอ้ งการนาเสนอขัน้ ตอนการทางาน ควรนาเสนอแบบไหนให้เขา้ ใจงา่ ย? ก. กราฟ ข. แผนท่ี ค. Flowchart ง. ตาราง 9. ถา้ ต้องการนาเสนอข้อมลู จานวนมากให้น่าสนใจโดยใช้ระยะเวลาสร้างไมน่ านควรนาเสนอด้วยวิธไี หน? ก. บทความทางวชิ าการ ข. อนิ โฟกราฟิกส์ ค. เขียนหนงั สอื ง. ทา Slide ท่ีประกอบด้วยข้อความรายละเอยี ด 10.อินโพกราฟกิ ส์มีข้อดีอยา่ งไร? ก. สะดดุ ตา นา่ สนใจ ทาให้เข้าใจข้อมูลได้งา่ ย ข. ใหข้ อ้ มูลทม่ี รี ายละเอียดมาก ๆ ค. สนบั สนนุ ผู้พัฒนาโปรแกรมสรา้ งกราฟิก ง. โหลดได้เร็วกวา่ ข้อความ เฉลย 1. ง 2. ค 3. ค 4. ข 5. ข 6. ค 7. ก 8. ค 9. ข 10. ก 78
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 6. แบบทดสอบ รายวชิ าแนวปฏิบัตใิ นสงั คมดิจทิ ัล คาชแ้ี จง ใหเ้ ลือกคาตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงข้อเดียว 1. เมื่อมีการติดต่อกบั ผู้อ่นื ทางออนไลน์ เราควรตงั้ ความคิดไว้อย่างไร? ก. เราทาอะไรก็ได้ เพราะวา่ ไม่มีใครรู้วา่ เราเปน็ ใคร ข. ตระหนกั ว่า ผู้น้ันก็เป็นบุคคลจริง ๆ ทีม่ นั ตวั ตน มีจิตใจเหมือนเรา ค. ปลดปลอ่ ยความคิดไดเ้ ต็มที่ เพราะว่า เราไม่จาเป็นต้องเปดิ เผยตัว ง. สรา้ งตวั แทนเราข้นึ มาหลายตัว (Avatar) เพือ่ ใช้ในกรณีต่าง ๆ และปลอมเปน็ หลายบุคคล 2. การกระทาใดจดั เป็นมารยาทเน็ต ก. เคารพความเป็นส่วนตวั ของผู้อื่น ข. ใหอ้ ภยั ในความผิดพลาดของผูอ้ นื่ ค. อยา่ ลืมวา่ คณุ กาลงั คุยกบั คนท่ีมตี วั ตนจริง ๆ ง. ถกู ทั้งหมด 3. เมอ่ื เกดิ การกลน่ั แกล้งทางไซเบอร์ เราควรทาอย่างไร ก. ตอบโตอ้ ยา่ งตรงไปตรงมา เพ่ือรกั ษาสิทธิของเรา ข. ติดต่อเพือ่ น เพ่อื วางแผนรบั โตก้ ลับ ค. แจ้งผู้ปกครอง/ครอบครัว/ผรู้ ับผิดชอบระบบ ให้ดาเนนิ การจัดการปญั หา ง. ปลกุ ระดม ยุแหย่ เพอื่ ให้มเี กิดอารมณ์ร่วมกบั เหตุการณ์มากข้ึน 4. เมื่อเห็นผู้อ่ืน/เพ่ือน โดนกล่ันแกลท้ างไซเบอร์ เราควรทาอ่างไร ก. ชว่ ยตอบโต้อย่างตรงไปตรงมา เพอื่ รักษาสิทธขิ องเพอ่ื นเรา ข. ติดต่อเพื่อน เพอ่ื วางแผนรับโตก้ ลบั ค. แจง้ ผปู้ กครอง/ครอบครัว/ผูร้ ับผิดชอบระบบ ให้ดาเนนิ การจัดการปญั หา ง. ปลุกระดม ยุแหย่ เพอ่ื ให้มีผู้เกดิ อารมณร์ ว่ มกับเหตกุ ารณม์ ากขน้ึ 5. เมอื่ เราทาผดิ กฎท่ีกาหนด จนทาให้เกดิ ความเสยี หายต่อตัวเองหรอื ผู้อ่นื เราควรทาอย่างไร? ก. ตัง้ กระท้ใู น pantip เพือ่ เรียกรอ้ งความเห็นใจ ข. โพสต์ใน Facebook โดยใหข้ ้อเท็จจริงบางส่วน เพ่ือใหส้ ังคมเขา้ ใจผดิ และเห็นใจ ค. แต่งเรื่องโดยใชเ้ ทคนคิ การนาเสนอ พรอ้ มสรา้ งหลักฐานเท็จ เพ่อื ทาให้คนอน่ื เห็นใจ ง. ไม่ควรทาท้งั หมดทีก่ ล่าวมา 79
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 6. ขอ้ ใดเปน็ การใช้อุปกรณด์ ิจิทัลท่สี าธารณอย่างมีมารยาท ก. ปิดเสยี งโทรศพั ท์ เม่ือต้องเข้าประชมุ โรงหนัง หรือ ห้องสมุด ข. พยายามเปิดเพลงใหเ้ สียงดงั ท่ีสุด เพอ่ื ทผี่ ู้อืน่ จะได้ยินชัดเจน ค. พยายามคยุ ให้เสียงดงั ที่สดุ เพื่อทีค่ นอนื่ จะได้ทราบวา่ เรากาลังตดิ โทรศพั ท์อยู่ ง. พยายามใชโ้ ทรศัพท์ระหว่างข้ามถนน หรอื ลงรถยนต์ เพ่ือทร่ี ถคันท่ีขับตามมาจะได้ระวังเรา 7. การกระทาใด สร้างความราคาญใหผ้ อู้ นื่ ก. ฝากร้านใน IG, Facebook ข. ส่งอเี มล์ ทางานท่บี า้ น รายได้ดี ค. พิมพ์ข้อความจานวนมาก เพ่ือใหค้ นอน่ื ไม่สามารถอา่ นข้อมูลทีต่ ้องการได้ ง. ถกู ทุกข้อ 8. เมือ่ มปี ัญหาครอบครวั เช่น ทะเลาะกบั แฟน สง่ิ ใดไม่ควรทา? ก. ระบายความในใจในสือ่ ออนไลนเ์ ชน่ Facebook ข. ต้งั กระทู้ ถามใน Facebook ว่ามีใครเหมือน หรอื เรยี กร้องความสนใจ ค. นาเขา้ มลู ส่วนตัวของแฟนมาเผยแพร่ เพื่อใหผ้ ู้อื่นทราบถึงปัญหาของเรา ง. ไมค่ วรทาท้งั หมด 9. ไซเบอร์ สต๊อคก้งิ ค์ (Cyber Stalking) ทาใหเ้ กิดประโยชนข์ ้อใดกับเรา ก. ทาให้คนทีโ่ ดนเกาะติด เกิด ความราคาญ/หวาดกลัว ข. ทาให้เรารกู้ ารเคล่ือนไหวของคนอน่ื ค. ทาใหเ้ รามเี ร่ืองไปพูด/เลา่ ให้คนอ่นื ฟังได้ ง. ไมม่ ีประโยชน์อะไรกบั เรา 10.เมื่อมีการถา่ ยทอดสดเหตุการณส์ าคญั ระดบั นานาชาติ ระหว่างชมการถา่ ยทอดสด เราควรทาอยา่ งไร? ก. พยายามพมิ พ์ข้อความให้มากทสี่ ดุ เพอ่ื ใหค้ นอื่นเห็นข้อความเรา ไมเ่ ห็นขอ้ ความของคนอื่น ข. รับชมด้วยการมมี ารยาท ไม่รบกวนผูอ้ ่นื ค. พยายามใช้คาไม่สุภาพ คาหยาบ เพอ่ื ใหผ้ ู้คนจากท่วั โลกให้ความสนใจ ง. พยายามสง่ คาถาม ไปให้มากท่ีสดุ เพ่ือที่จะเปน็ การม่นั ใจวา่ เราจะได้รับคาตอบ เฉลย 1. ข 2. ง 3. ค 4. ค 5. ง 6. ก 7. ง 8. ง 9. ง 10. ข 80
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 7. แบบทดสอบ รายวชิ าสุขภาพดียุคดจิ ิทัล คาชแ้ี จง ให้เลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องที่สดุ เพยี งข้อเดียว 1. ขอ้ มลู การกินเพ่ือรักษาโรคท่มี ีการแชรท์ างอินเทอร์เน็ต เราควรเชอ่ื ถือหรือไม่? ก. ควรเชื่อถือ เพราะเพื่อเปน็ คนแชร์มา ข. ควรเชือ่ ถือ เพราะว่าเปน็ ขอ้ มูลทีอ่ ยบู่ นอินเทอรเ์ น็ต ค. ไมค่ วรเชอื่ ถอื เพราะไม่มีหลักฐาน หรือ ท่ีมา ง. ไมค่ วรเชอื่ ถือ เพราะว่าคนทแี่ ชรไ์ มใ่ ช่เพื่อนของเรา 2. เมื่อนง่ั ทางานผดิ ท่าทางเป็นเวลานาน จะทาให้เกินปัญหาอะไร? ก. โรคออฟฟิศซนิ โดรม หรอื กล้ามเนือ้ อักแสบต่าง ๆ ข. ไม่มีเรื่องให้โพสต์บน Facebook ค. ไม่สามารถเซลฟี่ได้ ง. จิตตก กระวนกระวายใจ หงดุ หงดิ 3. เมอ่ื ทางาน เราควรทาอยา่ งไร? ก. นาโทรศัพท์มาต้ังตรงหน้า เพื่อทจี่ ะเหน็ ไดท้ ันทีเมื่อมีคนสง่ ข้อความมาหาเรา ข. เตรียมพร้อม ตอบข้อความท่ีสง่ มาทาง LINE ค. พยายามตรวจ Facebook, Pantip ทุก 5 นาทเี พื่อให้ไม่พลาดกิจกรรมสาคัญของเพ่อื น ง. เลิกใชส้ ่อื ออนไลนช์ ่วั คราว แล้วต้งั ใจทางาน 4. พฤติกรรมใด จดั วา่ เรามีอาการผิดปกติ ท่ีสมควรจะปรับปรงุ พฤติกรรม? ก. ไม่สนใจ Facebook ข. ไมส่ นใจ LINE ค. ไมส่ นใจ กระทู้ใน pantip ง. ถ้าไม่มคี นมากด LIKE โพสตข์ องเราแลว้ จะเกิดความเครียด กงั วล 5. ถา้ ระหว่างใช้อนิ เทอร์เนต็ แลว้ สญั ญาไวไฟหายไป เราควรทาอย่างไร? ก. ขวา้ งโทรศพั ท์ท้งิ ข. เลิกเลน่ ช่ัวคราว และหนั ไปทาอยา่ งอืน่ ค. จิตตก กระวนกระวายใจ หงุดหงดิ ง. รบี ติดตอ่ ผใู้ หบ้ รกิ าร เพ่ือโวยวาย และ รอ้ งเรียน 81
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 6. สิ่งใดควรกระทาเม่ือเห็นโพสต์ของผู้อ่นื ไปเท่ียวตา่ งประเทศ/ไปกนิ อาหารในห้าง? ก. เปรียบเทียบชีวิตของเรากับคนอ่นื และ พยายามและถา่ ยรูปมาโชวบ์ ้าง ข. พยายามหลอกตัวเอง พยายามสรา้ งภาพ เพ่ือใหเ้ ทา่ เทยี มกับโพสต์ของผู้อื่น ค. จติ ตก กระวนกระวายใจ หงดุ หงิด ง. ไม่ต้องสนใจ เรอ่ื งที่ปราศจากสาระ และไม่ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนก์ ับชีวติ 7. ถา้ เหน็ เพ่ือน/คนในครอบครัว ไม่สามารถอยหู่ า่ งจากโทรศัพท์ทไี่ ดต้ ิดอินเทอรเ์ น็ต เราควรทาอย่างไร? ก. วางแผน เพื่อดาเนินการักษาอาการเสพตดิ อย่างค่อยเปน็ คอ่ ยไป ดว้ ยความเข้าใจ ข. ไม่ต้องสนใจ เพราะไม่เกี่ยวกับเรา ค. สนบั สนุนใหต้ ิดโทรศัพท์ต่อไป เพอื่ จะได้ไม่ไปทาอย่างอน่ื ง. วา่ กลา่ ว และ ดดุ า่ ทุกครงั้ ที่เห็น 8. เราควรจะเลยี้ งดบู ุตรหลานอยา่ งไร ก. เอาโทรศัพท์ หรือ iPad ใหล้ ูกเล่น เพอ่ื จะได้ไม่มากวนเรา ข. ให้ใช้อุปกรณด์ จิ ทิ ัล เมื่อจาเป็น และอยูใ่ นการดูแลของเรา ค. สนับสนุนใหล้ กู ใช้ iPad ตั้งแตเ่ ดก็ จะได้ไมต่ ้องเข้าสงั คมในอนาคต ง. ใหล้ กู ใช้ใหม้ ากทสี่ ุด จะไดล้ ดการพฒั นาการดา้ นอน่ื มาเพ่ิมพฒั นาการด้านการใช้ iPad 9. พฤติกรรมไหนจัดวา่ เป็นโรคซึมเศร้าจากเฟซบุ๊ค? ก. ทาอะไรต้องถ่ายรปู ลงเพซบุ๊คเสมอ ข. ถา้ ไม่มีใครกด LIKE จะเครยี ด กังวล ค. มีคนมาโพสต์ต่อวา่ จะเครียด ง. เปน็ ทัง้ หมด 10.การติดออนไลน์มาก ทาใหเ้ กิดผลดีดา้ นใดกับครอบครวั บ้าง? ก. ทาใหแ้ ตล่ ะคนมเี วลาเป็นสว่ นตวั มากขนึ้ เพราะต่างคนต่างกม้ หนา้ ใชม้ ือถือ ข. ทาให้แฟนสนใจเรามากขนึ้ เนื่องจากต้องคอยเปน็ หว่ งและกังวลว่าเราจะแอบไปคยุ กับใคร ค. ทาใหค้ วามสัมพันธเ์ พิ่มขนึ้ เพราะต้องคอยคดิ ถึงวา่ เม่ือไหร่คนที่เรารกั จะอา่ นข้อความเรา ง. ไมเ่ กิดข้อดใี ดต่อความสัมพนั ธ์ เฉลย 1. ค 2. ก 3. ง 4. ง 5. ข 6. ง 7. ก 8. ข 9. ง 10. ง 82
หลักสตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 8. แบบทดสอบ รายวชิ าดิจทิ ัลคอมเมิร์ซ คาช้แี จง ใหเ้ ลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งท่สี ดุ เพียงข้อเดียว 1. การขายของมอื 2 ระหวา่ งผใู้ ชก้ นั เอง จดั เป็นธรุ กจิ แบบไหน? ก. B2C ข. B2B ค. C2B ง. C2C 2. ถ้าเวบ็ ขายของไมม่ ีการเขา้ รหัสขอ้ มลู จะทาให้เกดิ ความเสยี่ งอย่างไร? ก. ไดส้ ินคา้ ราคาแพง ข. ได้สนิ คา้ ผดิ ลิขสทิ ธิ์ ค. ขอ้ มูลทางการเงนิ โดนเปิดเผย ง. บรษิ ทั นาของปลอมมาหลอกขาย 3. วิธีการชาระเงินทางออนไลนไ์ หน มคี วามปลอดภยั ที่สดุ ในทางทฤษฎี? ก. โอนเงนิ ใหผ้ ู้ขายโดยตรง ข. ชาระเงนิ ผา่ นบตั รเครดิต ผ่านผู้ใชบ้ รกิ ารชาระเงิน บุคคลที่ 3 ทนี่ า่ เชือ่ ถอื ค. แจ้งหมายเลขบตั รเครดติ ใหก้ ับเว็บไซต์ที่เราต้องการซ้ือโดยตรง ง. ใหเ้ พอื่ น/แฟน โอนเงนิ ให้ผู้ขายโดยตรง 4. ขอ้ ใดเป็นประโยชนข์ องการซื้อสินคา้ ออนไลน์ ก. สามารถหาของท่ีต้องการไดจ้ ากหลายแหลง่ ข. สามารถหาซื้อของหายาก หรือ ไม่มีในรา้ นคา้ ปกติได้ ค. มักมรี าคาถูกกวา่ ร้านค้าทว่ั ไป เนอื่ งจากคา่ ดาเนนิ การต่ากว่า ง. ถกู ทุกข้อ 5. ข้อใดเป็นเคร่ืองหมายแสดงวา่ น่าเชือ่ ถือ (Trustmark) ก. DBD Registered ข. Facebook ค. Instagram ง. Google 83
หลกั สตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 6. ตลาดอิเลก็ ทรอนิกส์ คอื ข้อใด ก. เวบ็ ไซตท์ ่ีสามารถสง่ั ซื้อของจากตลาดสดได้ ข. เวบ็ ไซตท์ สี่ ามารถสงั่ ซื้อของจากเกษตรกรได้โดยตรง ค. เว็บไซต์ท่รี วมผู้ขายหลายเจา้ ง. เว็บไซตท์ ร่ี บั แจ้งปัญหาการขายของจากตลาด 7. ถ้าซื้อสินค้าทางออนไลน์ ซ่งึ มีราคาสงู เราควรปฏบิ ัติอย่างไร? ก. รีบโอนเงินไปใหผ้ ู้ขายก่อน เพ่ือป้องกันผู้ขายไปขายใหค้ นอื่นก่อนเรา ข. ขอสาเนาบัตรประชาชนผขู้ าย แล้วจงึ รบี โอนเงินไปให้ ค. นัดเจอในสถานท่สี าธารณะ เพอ่ื รับสนิ ค้า และจ่ายเงินเมื่อตรวจสนิ คา้ แลว้ เรยี บร้อย ง. จับภาพหนา้ จอการติดต่อไวเ้ ป็นหลักฐาน แลว้ รีบโอนเงิน 8. เมือ่ เจอเว็บไซต์ขายโทรศัพท์รุ่นใหมล่ า่ สดุ เชน่ iPhone 7 ลดราคา 90% เราควรทาอย่างไร ก. รีบส่งั ซ้ือมาเก็บไว้เปน็ จานวนมาก เพื่อไวข้ ายเก็งกาไร ข. รวมกลุ่มเพ่ือนให้ได้จานวนมากทสี่ ุด เพื่อต่อรองขอส่วนลดจากรา้ นค้าเพิ่ม ค. แชร์ใหเ้ พือ่ นและคนรู้จักให้มากทส่ี ดุ เผ่อื มีใครสนใจจะซือ้ ง. สนั นฐิ านวา่ อาจจะเป็นการหลอกลวง และแจ้งให้ผรู้ ับผดิ ชอบเวบ็ ไซตน์ น้ั ตรวจสอบ 9. ขอ้ ใดเปน็ บริการชาระเงนิ ออนไลน์ ก. PayPal ข. Google ค. Gmail ง. Alibaba 10.ข้อใดไม่ใช่เวบ็ ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace) ก. Facebook ข. LwnShop ค. WeLoveShopping ง. Tarad.com เฉลย 1. ง 2. ค 3. ข 4. ง 5. ก 6. ค 7. ค 8. ง 9. ก 10. ก 84
หลักสตู รการเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) 9. แบบทดสอบ รายวชิ ากฎหมายดิจทิ ลั คาชแี้ จง ใหเ้ ลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. การคน้ หาภาพ Google และแอบนามาใช้ แตบ่ อกแหล่งท่ีมา ถงึ เปน็ การละเมิดลิขสิทธ์ิ หรอื ไม่? ก. ละเมิดลขิ สิทธิ์ ข. ไมล่ ะเมิดลิขสิทธิ์ เพราะบอกแหลง่ ทีม่ าแลว้ ค. ไม่ละเมิดลขิ สิทธิ์ เพราะหาจาก Google ง. ไม่ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ เพราะไม่ได้เอาภาพไปขายต่อ 2. แอบนาข้อความหรอื ภาพ ทมี่ ีคนโพสต์ใน Facebook มาใชใ้ นโพสต์ของเรา แต่ให้เครดิต ถือเป็นการ ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิหรือไม่ ก. ละเมดิ ลขิ สิทธิ์ ข. ไม่ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ เพราะใหเ้ ครดิตแลว้ ค. ไมล่ ะเมิดลิขสทิ ธ์ิ เพราะนามาจาก Facebook ง. ไมล่ ะเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ เพราะไมไ่ ด้นาไปโฆษณา 3. สง่ ขอ้ ความไปขออนญุ าตใชภ้ าพจากเจ้าของ แต่ยังไมไ่ ด้รบั การตอบจากเจ้าของ แต่ไม่อยากเสียเวลา รอ จึงแอบนาภาพไปใช้ พร้อมทัง้ ให้เครดติ เรียบรอ้ ย ถอื เป็นการละเมิดลิขสิทธิห์ รือไม่? ก. ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ ข. ไม่ละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ เพราะให้เครดิตแล้ว ค. ไม่ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ เพราะไดส้ ง่ ข้อความไปขออนญุ าตแล้ว ง. ไมล่ ะเมิดลิขสทิ ธ์ิ เพราะมีหลักฐานการขออนุญาตใชแ้ ล้ว 4. เจ้าของรา้ นกาแฟเปดิ เพลงจาก YouTube ในรา้ นกาแฟถือเปน็ การละเมิดลิขสิทธห์ิ รือไม่? ก. ละเมิดลิขสิทธิ์ ข. ไมล่ ะเมิดลขิ สิทธิ์ เพราะมีใหด้ ูฟรใี น YouTube ค. ไมล่ ะเมดิ ลิขสิทธ์เิ พราะไม่ได้มีการเรียกเกบ็ เงนิ เพ่อื รบั ฟงั ง. ไม่ละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ เพราะเปน็ ร้านกาแฟไม่ใช่สถานวี ทิ ยุ 5. เจา้ ของร้านขนมเปดิ เพลงจากวิทยุ ใหล้ ูกคา้ ทม่ี าทานขนมฟัง ถือเป็นการละเมดิ ลขิ สิทธิห์ รอื ไม่? ก. ละเมดิ ลิขสิทธ์ิ ข. ไม่ละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ เพราะว่าเป็นการเผยแพร่ทางวิทยุ ค. ไม่ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ เพราะวา่ เป็นสงิ่ ที่ DJ ของสถานีวทิ ยเุ ปดิ ไม่ใช่เราเปิด ง. ไมล่ ะเมดิ ลขิ สิทธ์ิ เพราะว่าแค่เปิดให้ฟังไม่ไดม้ ีการคดั ลอก หรอื สาเนา 6. เปิดฟรีทีวีช่องทม่ี ีการฉายมิวสิควดี ีโอใหล้ ูกค้าที่มาน่ังรอใชบ้ รกิ าร ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธ์หิ รือไม่? ก. ละเมดิ ลิขสิทธิ์ ข. ไม่ละเมิดลิขสทิ ธ์ิ เพราะว่าเป็นการเปดิ ฟรีทีวี ค. ไม่ละเมิดลขิ สิทธิ์ เพราะวา่ เจตนาเปดิ เพื่อใหล้ กู คา้ ท่ีมานั่งรอใช้บริการ ง. ไมล่ ะเมิดลขิ สิทธ์ิ เพราะว่าแค่เปดิ ให้ฟงั ไม่ไดม้ ีการคัดลอก หรือ สาเนา 85
หลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy Curriculum) 7. หาภาพจาก Google ด้วยวธิ ปี กตเิ พื่อนาไปใช้ทาเอกสารงานสัมมนา/งานโชว/์ งาน Event ถอื เป็นการ ละเมดิ ลิขสทิ ธ์หิ รือไม่? ก. ละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ ข. ไม่ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ เพราะวา่ หาฟรีจาก Google ค. ไม่ละเมิดลิขสิทธ์ิ เพราะวา่ เป็นเพยี งงานโชว์ งานสัมมนา ง. ไมล่ ะเมิดลขิ สทิ ธ์ิ เพราะว่าภาพในอนิ เทอร์เน็ตถือเป็นของท่ีใครกส็ ามารถนาไปใชไ้ ด้ตาม ต้องการ 8. รา้ นขายแผน่ เถื่อนตามหา้ งสรรพสนิ ค้า ถือเปน็ การละเมดิ ลิขสทิ ธิ์หรือไม่? ก. ไมล่ ะเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ ทางห้างสรรพสนิ ค้าไดต้ รวจสอบแล้ว ข. ไม่ละเมิดลิขสิทธ์ิ เพราะได้มกี ารจา่ ยเงนิ เพื่อซ้อื แผ่นเถ่ือนมาแล้ว ค. ไม่ละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ เพราะกฎหมายลขิ สิทธ์ิไม่ได้ครอบคลุมถึงการแผน่ เถื่อน ง. ละเมิดลิขสทิ ธิ์ 9. ขอ้ ใดไมเ่ ป็นการกระทาผิดกฎหมาย ก. ส่งอีเมลล์ ูกโซ่ โดยปกปดิ ทมี่ า เกิน 20 คน ข. แอบนา ID และ Password ของเพ่ือนไปใชโ้ ดยไม่ได้อนญุ าต ค. โพสน์ขอ้ ความด่า หรอื จงใจกล่าวหา ใสร่ า้ ยผอู้ น่ื ง. ชนี้ าสังคมใหเ้ กิดค่านิยมในการข่มขืน โดยสรา้ งหนังให้พระเอกข่มขนื นางเอก 10.การโพสต์ วา่ กลา่ ว บคุ คลท่ี 3 เพือ่ ให้เกดิ ความเสียหายหรือเข้าใจผิดใน Facebook ของเราเองถือวา่ เปน็ การผิดกฎหมายหรือไม่? ก. ไมเ่ ป็นความผดิ เพราะว่าเปน็ Facebook ของเราเอง ข. ไม่เป็นความผิด เพราะวา่ เป็นการกล่าวถงึ บุคคลท่ี 3 ค. เป็นความผิด กฎหมายหมน่ิ ประมาท ง. เปน็ ความผดิ กฎหมายละเมิดลิขสิทธ์ิ เฉลย 1. ก 2. ก 3. ก 4. ก 5. ก 6. ก 7. ก 8. ง 9. ง 10. ค 86
กระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม สานกั งาน กศน. กระทรวงศึกษาธกิ าร
Search