Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทฝึกการบังคับม้า Dressage

บทฝึกการบังคับม้า Dressage

Published by peehuabdeemark, 2022-03-25 02:57:08

Description: กีฬาขี่ม้าเป็นกีฬาที่ประกอบด้วยศาสตร์และศิลป์ "ศาสตร์" ในที่นี้หมายถึง ผู้ขี่จะต้องมีองค์ความรู้ในการฝึกบังคับม้า และการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น แส้ บังเหียน เพื่อให้ม้าเชื่อฟังและปฏิบัติตาม
คำสั่งอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ผู้ขี่ต้องมีความมานะ วิริยะอุตสาหะ หมั่นฝึกฝนพากเพียรนับเป็นหลายร้อยชั่วโมงเพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญ รวมทั้งองค์ประกอบที่สำคัญอื่นๆ เช่น ความรัก ความ
เมตตา การสังเกตอากัปกิริยาและอารมณ์ของม้าประกอบการฝึก เพราะ "ม้า" เป็นสิ่งมีชีวิต มีจิตใจมีความรู้สึกเฉกเช่นเดียวกับผู้ขี่ จะนั้น ผู้ขี่จึงต้องมี "ศิลปะ" ในการสื่อสารกับม้า และที่สำคัญ ผู้ขี่ต้อง
เข้าถึงจิตใจของม้า ประหนึ่งเข้าใจความรู้สึกของเพื่อน ผู้ขี่ต้องสามารถสื่อสารกับม้าผ่านมือที่จับบังเหียน ผ่านขาที่แนบไปกับลำตัวของม้า ผ่านเท้าที่กระตุ้นท้องม้า ผู้ขี่ต้องเข้มงวด เมื่อม้าเกิดอาการ
ดื้อรั้น เกเร ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ปลอบโยน เมื่อม้าตื่นตระหนก หวาดกลัว หวาดระแวง หรือรู้สึกไม่ปลอดภัย โดยทำหน้าที่ปลุกปลอบให้ม้าผ่อนคลาย และให้รางวัล เมื่อม้าทำสำเร็จตามเป้าหมาย เหล่า

Keywords: Equestrian,Sport

Search

Read the Text Version

บทฝึกการบงั คับม้า Dressage



ค�ำน�ำ กีฬาข่ีม้าเป็นกีฬาท่ีประกอบด้วยศาสตรแ์ ละศิลป์ “ศาสตร”์ ในท่ีน้ีหมายถึง ผู้ข่จี ะต้องมีองค์ ความรู้ในการฝึกบังคับม้า และการใชอ้ ุปกรณต์ ่างๆ เชน่ แส้ บงั เหียน เพ่ือให้ม้าเช่อื ฟังและปฏิบัติตาม ค�ำส่งั อยา่ งเป็นระบบ นอกจากน้ี ผู้ข่ีต้องมีความมานะ วิรยิ ะอุตสาหะ หม่ันฝึกฝนพากเพยี รนับเป็น หลายรอ้ ยช่ัวโมงเพ่ือพฒั นาความเช่ยี วชาญ รวมท้ังองค์ประกอบท่ีส�ำคัญอ่ืนๆ เชน่ ความรกั ความ เมตตา การสังเกตอากัปกิรยิ าและอารมณ์ของม้าประกอบการฝึก เพราะ “ม้า” เป็นสง่ิ มีชีวิต มีจิตใจ มีความรู้สกึ เฉกเชน่ เดียวกับผู้ข่ี ฉะน้ัน ผู้ข่จี ึงต้องมี “ศิลปะ” ในการส่ือสารกับม้า และท่ีส�ำคัญ ผู้ข่ตี ้อง เข้าถึงจิตใจของม้า ประหน่ึงเข้าใจความรูส้ ึกของเพ่อื น ผู้ข่ตี ้องสามารถส่ือสารกับม้าผา่ นมือท่ีจับ บงั เหียน ผ่านขาท่ีแนบไปกับล�ำตัวของม้า ผ่านเท้าท่ีกระตุ้นท้องม้า ผู้ข่ตี ้องเข้มงวด เม่ือม้าเกิดอาการ ด้ือร้ัน เกเร ไม่ปฏิบัติตามค�ำส่ัง ปลอบโยน เม่ือม้าต่ืนตระหนก หวาดกลัว หวาดระแวง หรอื รู้สึกไม่ ปลอดภัย โดยท�ำหน้าท่ีปลกุ ปลอบให้ม้าผ่อนคลาย และให้รางวัล เม่ือม้าท�ำสำ� เรจ็ ตามเป้าหมาย เหล่า น้ีล้วนเป็นศิลปะท่ีละเอียดอ่อนลึกซ้ึง เพ่ือให้ทุกยา่ งก้าวของม้าและการข่ขี องผู้ข่มี ีความกลมกลืน ดังค�ำกล่าวท่ีว่า “ม้าหน่ึง คนหน่ึง รวมกันเป็นหน่ึง” สถานเอกอัครราชทตู ณ กรุงเบอรล์ ิน จัดท�ำ “บทฝึกการบงั คับม้า Dressage” เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางสำ� หรับผู้สนใจฝึกฝนกีฬาข่ีม้า และเพ่ือสนองพระด�ำรขิ อง สมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟา้ สิรวิ ัณณวรี นารีรตั นราชกัญญา ผู้ทรงอุปถัมภ์กีฬาข่ีม้าของไทย สถานเอกอัครราชทตู ฯมุง่ หวัง ท่ีจะสืบสานพระปณธิ านของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสริ ิวัณณวรี นารรี ตั นราชกัญญา ในอันท่ีจะ เก้ือกลู กีฬาข่มี ้าให้เป็นท่ีนิยมและช่ืนชอบในหมูป่ ระชาชนชาวไทยมากยิ่งข้ึน (นายธรี วัฒน์ ภูมิจิตร) เอกอัครราชทูต

บทฝกึ การบงั คับม้า Dressage ชุดท่ี 1 เป้าหมายหลักของการฝึก • มุง่ ให้ผู้ข่มี ีความสุขในการข่มี ้า มีความรู้สกึ ปลอดภัย สามารถควบคมุ ม้าให้เคล่ือนไหวตามค�ำส่งั ของผู้ข่อี ยา่ งถูกต้องและแม่นย�ำ การฝึกน้ีมุง่ เน้นให้ม้าได้ออกก�ำลังกายอยา่ งเป็นธรรมชาติ เพ่ือให้มีสุขภาพรา่ งกายท่ีแขง็ แรง เคล่ือนไหวอยา่ งสง่างาม ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 1 • บ งั คับม้าให้เดินก้าวยา่ ง • ร ับแส้ 2 • ก ารใช้บังเหียนบงั คับให้ม้าเดินเปล่ียน ทิศทางการก้าว เดินเป็นเส้นทแยงมุม 3 • ฝ ึกให้ม้าวิ่งเรยี บ (trot) เพ่อื ให้ม้าได้ผ่อนคลาย หน้าท่ี 1

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 4 • ก ารบังคับให้ม้าเดินเปล่ียนทิศทาง โดยใชบ้ ังเหียนเป็น เคร่ืองชว่ ยในการก�ำหนดทิศทางให้ม้าก้าวเดินตามค�ำส่งั 5 • ทักษะในการตีวงเป็นการฝึกบงั คับให้ม้าก้าวยา่ งเป็น วงกลม 6 • การใช้บงั เหียนเปล่ียนทิศทางการก้าวเดินของม้า แล้วบังคับให้ม้าเดินเป็นวงกลม 7 • บังคับให้ม้าก้าวเดินเป็นวงกลมท่ีมีขนาดใหญม่ ากข้ึน 8 • บังคับให้ม้ารู้จักเดินเป็นวงกลมขนาดเล็ก จากน้ันให้เดิน ตีวงกว้างเป็นวงกลมขนาดใหญข่ ้ึน หน้าท่ี 2

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 9 • ฝึกให้ม้าวิ่งเรยี บ (trot) จากน้ันบงั คับให้ม้าวิ่งขโยก (canter) เป็นจังหวะสม่�ำเสมอ 10 • ใ ห้ม้าวิ่งขโยกโดยมีชว่ งก้าวท่ียาวมากข้ึน (extended canter) และตีวงเป็นวงกลมขนาดใหญ่ • ฝึกให้ม้าวิ่งขโยกแบบสามจังหวะ (canter) จากน้ัน ดึงบงั เหียนแล้วผ่อนบังเหียนเพ่ือบงั คับให้ม้าเปล่ียนเป็น วิ่งเรยี บ (trot) เป็นการฝึกบังคับในการเปล่ียนท่า (transition) • ท กุ ๆ จังหวะของการเคล่ือนไหวของม้า ต้องกระต้นุ ให้ม้า ต่ืนตัว มีพลัง (active) มีความสุขทุกยา่ งก้าว หากท�ำได้ ม้าจะสนุกสนานไปกับการข่ี โดยไมร่ ูส้ กึ ว่าถกู บงั คับ 11 • ก ารฝึกเปล่ียนท่าวิ่งของม้า ใช้บงั เหียนเป็นเคร่อื งมือใน การบังคับให้ม้าท�ำตามค�ำส่ัง โดยเรมิ่ ด้วยการบังคับให้ม้า วิ่งเรยี บ (trot) จากน้ัน บงั คับให้ม้าวิ่งขโยก (canter) เป็นจังหวะ • จากน้ัน ให้ม้าวิ่งตีวงเป็นวงกลมขนาดใหญ่ เพ่อื ให้ม้า ก้าวยาว (extended canter) ให้เต็มท่ี หน้าท่ี 3

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 12 • เปล่ียนทิศทางการเดินของม้า โดยใช้บงั เหียนชว่ ยในการ สง่ สญั ญาณให้ม้าปฏิบตั ิตามค�ำส่ังให้เดินหมุนเป็นวงกลม จากวงใหญเ่ ป็นวงเล็ก ในชว่ งการข่ใี นวงใหญ่ ฝึกให้ม้า ว่ิงขโยกสลับกับเดิน (canter – walk – canter) จนคล่อง ในชว่ งการข่วี งเล็ก ฝึกให้ม้าขโยกโดยก้าวขาให้ส้ันลง (collected canter) โดยผู้ข่นี ่ังตัวตรง ตามองตรง แขนท้ังสองข้างแนบล�ำตัว ไมเ่ กร็งหัวเขา่ และ ขอ้ เท้า ไมย่ กสน้ เท้า 13 • ฝ ึกให้ม้าเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนไหว (change the rein) โดยในช้นั น้ี ให้ม้าวิ่งเป็นเส้นตรงไปตามความยาว และความกว้างของโรงฝึก และบังคับให้ม้าวิ่งทแยงมุม จากด้านหน่ึงมาอีกด้านหน่ึงของโรงฝึก 14 • ให้ม้าเดินตีวงเป็นวงกลมขนาดใหญ่ โดยการวิ่งขโยก ก้าวไปข้างหน้าอยา่ งเป็นจังหวะ จากน้ันบงั คับให้ม้าฝึก เคล่ือนไหวในการเปล่ียนทิศทางการวิ่ง โดยให้ม้าวิ่ง ขโยกเป็นจังหวะด้วยความเรว็ ท่ีสม่�ำเสมอ 15 • จากน้ัน คลายการดึงร้ังบังเหียน ปล่อยให้ม้าเดินเพ่อื เป็นการผ่อนคลายและสลับขากลางอากาศ อยา่ งไม่ สะดุด (clean flying change) หน้าท่ี 4

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 16 • ให้ม้าก้าวเดินภายในกรอบส่ีเหล่ียม จากน้ัน ให้ม้าท�ำ half pirouette คือการฝึกให้ม้าเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนไหว 180 องศา โดยฝึกให้ม้าเล้ียวโดยการใชข้ าด้านใน (inner leg) 17 • ให้ม้าเดินภายในกรอบส่เี หล่ียม • ก ารฝึกเปล่ียนท่า (transition) เริ่มต้นด้วยการให้ม้าเดิน เป็นวงกลม แล้วบงั คับให้ม้าเดินเฉยี ง (shoulder-in) แล้ว เปล่ียนให้เดินเป็นวงกลม • ให้ม้าเดิน จากน้ัน วิ่งเรียบแบบยกตัว (rising trot) ให้ม้า เดินเป็นวงกลม แล้วจึงเดินเฉยี ง แล้วเดินเป็นวงกลมอีก คร้ัง แล้วจึงท�ำ change the rein ก่อนจบการฝึก • ค วรให้ม้าเดินอยา่ งกระฉับกระเฉงเพ่ือกระตุ้นให้ม้าเกิด ความต่ืนตัว ผ่อนบังเหียน แล้วให้ม้าเปล่ียนทิศทางการ เคล่ือนตัว หน้าท่ี 5

บทฝึกการบงั คับมา้ Dressage ชุดท่ี 2 เป้าหมายหลักของการฝึก • ผู้ข่จี ะต้องน่ังอยูบ่ นอานม้าด้วยท่วงท่าท่ีสง่างาม มีการทรงตัวท่ีดี มีความยืดหยุน่ • ฝึกใชเ้ ชิงกราน ต้นขาด้านในและน่องในการบังคับม้า แทนการใช้บังเหียน • ฝ ึกใช้สายบังเหียนในลักษณะดึงและคลายบงั เหียนสลับกัน • ฝึกใชด้ ้านข้างของเท้าบังคับม้า แทนการใช้สน้ เท้าและเดือย (spur) กระแทกตัวม้า • ฝึกทิ้งน้�ำหนักลงบนศูนย์ถ่วงของม้าในจังหวะท่ีเหมาะสม • ฝึกยกตัวจากอาน (light seat) โดยยังคงรกั ษาหลังให้ตรง เก็บสะโพกและเท้า การท่ีจะท�ำ light seat ได้อยา่ งสมบูรณแ์ บบ ผู้ข่พี งึ ฝึกกล้ามเน้ือขา หลัง และท้องให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ • ฝึกใชค้ �ำพดู น้�ำเสียง และวิธเี ปล่งเสียงในการบังคับม้า โดยหลักท่ัวไปคือ ใชร้ ะดับเสยี งท่ีคงท่ี และสม่�ำเสมอ ในกรณที ่ีบังคับให้ม้าเปล่ียนจากวิ่งขโยกมาเป็นเดินน้ัน ควรส่ังม้าให้เดินโดย การลากเสยี งให้ยาว เชน่ walkkkkk……. เป็นต้น ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 1 • บงั คับให้ม้าก้าวเดิน จากน้ันใช้บงั เหียนในการเปล่ียน ทิศทางให้ม้าเคล่ือนตัว หน้าท่ี 6

ข้ันตอนการฝึก ภาพประกอบ 2 • ใ ห้ม้าวิ่งเรยี บ โดยผู้ข่ียกตัวข้ึนขณะบงั คับให้ม้าวิ่งเรยี บ การยกตัวข้นึ จากอานจะชว่ ยกระตุ้นให้ม้าเคล่ือนตัวไป ขา้ งหน้า มีล�ำตัวตรงในแนวระนาบ 3 • ใช้บังเหียนในการบงั คับม้าให้เปล่ียนทิศทางการเดิน 4 • เปล่ียนเสน้ ทางการเคล่ือนตัวของม้า แล้วบังคับให้ม้า เล้ียวเป็นวงกลม 5 • เปล่ียนบังเหียนในการบงั คับทิศทางอีกคร้ัง แล้วให้ม้าเดิน เป็นวงกลม หน้าท่ี 7

ข้ันตอนการฝึก ภาพประกอบ 6 • บ ังคับให้ม้าเดินเป็นวงกลมแคบในแนวท่ีคดเค้ียวเหมือนอาการเล้ือยของงู ในทิศทางท่ีแตกต่างกัน 7 • คลายบังเหียนให้ยาวมากข้ึน จากน้ันบงั คับให้ม้าวิ่งเรยี บแบบ ยกตัว (rising trot) เป็นวงกลม การผ่อนบังเหียนให้ยาวน้ัน เพ่ือเป็นการสง่ สญั ญาณให้ม้ายืด คอออกไป ให้ม้าทรงตัวอยา่ งสมดุล ผู้ข่ตี ้องเคล่ือนตัวอยา่ งพลิ้วไหว ไม่มี อาการเกรง็ 8 • บ ังคับให้ม้ารูจ้ ักเดินเป็นวงกลมขนาดเล็ก จากน้ันให้เดิน ตีวงกว้างเป็นวงกลมขนาดใหญข่ ้ึน หน้าท่ี 8

ข้ันตอนการฝกึ ภาพประกอบ 9 • ฝ ึก half pass left และ shoulder-in โดยปล่อยสาย บังเหียนให้ยาว พร้อมท้ังใชน้ ้�ำเสยี งในการส่ังม้า โดยลาก เสยี งยาว ส่งั ให้ม้าวิ่งเรียบแบบยกตัว (rising trot) จาก น้ันส่งั ให้ม้าวิ่งขโยก เฉพาะชว่ งบา่ ของม้าจะหันเบ่ียง ออกไป สว่ นล�ำตัวของม้าจะต้องอยูใ่ นแนวตรงระนาบ เดิม ซ่ึงเป็นการฝึก total half pass left 10 • ให้ม้าวิ่งขโยกเป็นวงกลม 11 • ให้ม้าวิ่งเรียบ จากน้ันวิ่งขโยก วิ่งเรียบแล้ววิ่งขโยก แล้ววิ่งเรียบ จากน้ันส่งั ให้ม้าเดิน แล้วท�ำ half pirouette ท้ังทางด้านขวาและซ้าย 12 • ให้ม้าเดิน จากน้ันให้ม้าท�ำ collected canter คือฝึกให้ม้า มีการทรงตัว โดยให้การทรงตัวน้ันขยับน้�ำหนักไปท่ีด้าน หลังของขาหลัง และมีจังหวะก้าวเดินท่ีส้ันลง หน้าท่ี 9

บทฝกึ การบงั คับมา้ Dressage ชุดท่ี 3 เป้าหมายหลักของการฝกึ • ฝึกการใชบ้ งั เหียนเพิ่มเติม เพ่ือให้ม้ายืดล�ำคอไปขา้ งหน้า และหัวของม้าอยูใ่ นระดับท่ีพอ เหมาะพอดี (Nose line is in front of the vertical line going from the forehead) การดึงบงั เหียนตึงเกินไปจะท�ำให้ม้าเครียด หากบงั เหียนหยอ่ นเกินไปจะท�ำให้ม้าก้มหน้า ดไู มส่ ง่างาม • ฝ ึกน่ังบนหลังม้า และให้ครูฝึกเดินจูง เพ่อื ให้ม้ายืดล�ำคอไปขา้ งหน้า (stretching the neck) • ล �ำคอของม้ามีความส�ำคัญในแง่สรรี ะและกายวิภาคของม้า กระดูกคอ กล้ามเน้ือคอและ ปลายประสาทเช่อื มต่อกับกระดูกสนั หลัง รวมท้ังกล้ามเน้ือและปลายประสาทบรเิ วณแผ่น หลังของม้า การเคล่ือนไหวท่ีดีท้ังในสว่ นของคอและหลัง นอกจากจะบง่ บอกถึงการทรงตัวท่ี ดีของม้าแล้ว ยงั จะชว่ ยให้ม้าพรอ้ มและมีความสขุ ในการฝึก • ฝึกใช้ต้นขาด้านในและน่องกระตุ้นม้า • ผู้ข่ีควรใช้ภาษากายในการส่ือสารความเข้าใจกับม้าว่า ผู้ข่ตี ้องการบอกให้ม้าท�ำอะไร โดยใช้ บังเหียนให้น้อยท่ีสุดหรือไมใ่ ช้เลย • ผ ู้ข่ีซ่ึงน่ังอยูบ่ นอานหลังม้าต้องสามารถบงั คับให้ม้าเคล่ือนท่ีไปในทิศทางท่ีผู้ข่ีประสงค์ เป็น เสมือนนักบินท�ำหน้าท่ีบังคับเคร่ืองบิน ผู้ข่ีต้องสัมผัส รบั รูค้ วามรูส้ กึ ของม้า โดยใชต้ ้นขา น่อง และมือ โดยต้นขาของผู้ข่ตี ้องไม่กดทับล�ำตัวของม้ามากเกินไป นอ่ งและขาต้องไม่เกรง็ ผู้ข่ี ควรรู้สกึ สบายใจ มีความสขุ ม่ันใจในความปลอดภัยขณะข่มี ้า สามารถส่ือความรู้สกึ กับม้าได้ เป็นอยา่ งดี ผู้ข่ีต้องน่ังหันไปในทิศทางเดียวกันกับการเคล่ือนไหวของม้า เพ่ือสง่ สญั ญาณให้ ม้าหันไปในทิศทางเดียวกันกับผู้ข่ี หน้าท่ี 10

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 1 • ใ ห้ม้าเดินเป็นจังหวะอยา่ งสม่�ำเสมอ • ม้าต้องเดินก้าวยา่ งตรงไปข้างหน้า • ผ ู้ข่ตี ้องใช้ต้นขาและน่องเป็นเคร่ืองชว่ ยบอกสญั ญาณให้ ม้าปฏิบตั ิ 2 • ให้ม้าเดินอยา่ งกระฉับกระเฉง ต่ืนตัว • ผ ู้ข่ีต้องใช้ภาษากายเป็นเคร่อื งมือ โดยมุ่งเน้นให้ม้ามี อาการต่ืนตัว พรอ้ มท่ีจะฝึกออกก�ำลังกาย 3 • ให้ม้าเริม่ เดินยา่ งก้าว แล้วใชบ้ ังเหียนเปล่ียนทิศทางใน การเดิน • ผ ู้ข่ีใช้ต้นขาและนอ่ งให้เกิดประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน บงั คับให้ ม้ายดื ล�ำคอออกไป 4 • ใ ห้ม้าเริม่ เดินอยา่ งขันแขง็ (active walk) โดยผู้ข่กี ระตุ้น ด้วยต้นขาและนอ่ ง 5 • ใ ช้บังเหียนเปล่ียนเส้นทางเดินของม้า พรอ้ มท้ังกระตุ้นให้ ม้าเดินอยา่ งต่ืนตัว หน้าท่ี 11

ข้ันตอนการฝึก ภาพประกอบ 6 • ให้ม้าวิ่งเรียบเป็นวงกลม โดยผู้ข่ใี ช้ขาและนอ่ งอยา่ งมีพลังมากข้ึน เพ่อื ให้จังหวะแก่ม้า 7 • ให้ม้าท�ำวงกลมท่ีแคบและคดเค้ียว 8 • ใ ชบ้ งั เหียนในการเปล่ียนทิศทางการเดินของม้า 9 • ให้ม้าเดินเป็นวงกลม หน้าท่ี 12

ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 10 • ก้าวเดินเป็นวงกลมขนาดใหญ่ 11 • ว ิ่งเรยี บและวิ่งขโยกเป็นวงกลมขนาดใหญม่ ากข้ึน 12 • เร่ิมด้วยการวิ่งขโยกก่อน แล้วเปล่ียนเป็นวิ่งเรยี บตาม แนวโค้ง 13 • ใ ช้บังเหียนบังคับให้ม้าเปล่ียนทิศทางการก้าวเดินเป็น วงกลม 14 • ท�ำ single flying change circle หน้าท่ี 13

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 15 • ให้ม้าวิ่งขโยกปานกลาง (medium canter) • จ ากน้ันเป็น collected canter ให้ม้ารูจ้ ักจังหวะ • ผอ่ นบังเหียนให้ยาวมากข้ึน และกระต้นุ ให้ม้ามีความต่ืน ตัวขณะวิ่งเรียบ 16 • ใ ห้ม้าเดินเป็นวงกลม ฝึกให้เดินด้วยความเร็วสม่�ำเสมอ 17 • ใ ช้บงั เหียนเปล่ียนทิศทางการเดินของม้าให้เป็นวงกลมท่ี มีขนาดใหญ่ • ผอ่ นสายบงั เหียนให้ยาวข้ึน เพ่อื เปล่ียนทิศทางการ เคล่ือนไหว • จ ากน้ันเปล่ียนเป็นให้ม้าเดินอยา่ งกระฉับกระเฉง หน้าท่ี 14

บทฝกึ การบงั คับมา้ Dressage ชุดท่ี 4 เป้าหมายหลักของการฝึก • ฝึกการหยุดม้า 3 จังหวะ (trot – shoulder-in – halt) และ 4 จังหวะ (trot - shoulder-in – walk – halt) • ฝึกการใชแ้ ส้ • ฝึกบังคับให้ม้าวิ่งขโยกปานกลาง (medium canter) • ฝ ึกบังคับให้ม้าเคล่ือนตัวไปข้างหน้า ผู้ข่นี ่ังอยูบ่ นอานม้าเสมือนเป็นนักบนิ ขาของผู้ข่ีจะต้อง อยูใ่ นต�ำแหนง่ ท่ีถูกต้อง ขาด้านในต้องกระชับแนบกับล�ำตัวม้าเพ่ือใชส้ ่ือความรูส้ ึกและสัมผัส ใช้บังเหียนในมือให้น้อยท่ีสุดหรือไม่ใช้เลย ภาษากายของผู้ข่ีต้องมีลักษณะคงท่ีในการส่อื ความรูส้ กึ กับม้า เพ่อื มิให้ม้าเกิดความรู้สึกสบั สน ผู้ข่ีต้องพยายามกระตุ้นให้ม้าเริม่ ต้น เคล่ือนไหวในทิศทางท่ีแตกต่างกันอยา่ งสม่�ำเสมอ ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 1 • ให้ม้าเริ่มต้นวิ่งอยา่ งกระฉับกระเฉง เพ่ือให้เกิดความ ต่ืนตัว 2 • ใ ช้บงั เหียนบงั คับให้ม้าเปล่ียนทิศทางการวิ่ง และเร่มิ วิ่งเรียบอยา่ งต่ืนตัว • ผ ู้ข่ีควรส่ือความรู้สกึ จากมือไปยงั ม้า หน้าท่ี 15

ข้ันตอนการฝกึ ภาพประกอบ 3 • ให้ม้าวิ่งเป็นวงกลม โดยการวิ่งขโยก 4 • ใชบ้ ังเหียนในการเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนไหวของม้า และใชต้ ้นขาด้านในของผู้ข่ีเป็นเคร่อื งสง่ สัญญาณ 5 • ใชบ้ งั เหียนเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนไหว ให้ม้าวิ่งเรียบมุง่ ตรงไปในมุม แล้ววิ่งเป็นวงกลม 6 • ก ารฝึกให้ม้าหยุดการเคล่ือนไหว • หลังจากม้าวิ่งเป็นวงกลม เปล่ียนให้ม้าวิ่งเรียบ • ผู้ข่คี วรใช้ขาขา้ งซา้ ยสง่ สญั ญาณให้ม้าเบ่ยี งหัวออกจาก ล�ำตัว (shoulder-in) แล้วส่ังม้าด้วยการลากเสยี งยาว ๆ ให้ม้าเดิน หน้าท่ี 16

ข้นั ตอนการฝกึ ภาพประกอบ 7 • ฝ ึกม้าให้ท�ำซ้ำ� อีกคร้ัง แต่สลับทิศทางการเคล่ือนไหว โดย การสลับทิศน้ี ผู้ข่ีต้องใช้ขาข้างขวาเป็นเคร่อื งสง่ สญั ญาณ หัวของม้าจะต้องย่นื ตรงไปขา้ งหน้า ให้ฝึกซ้�ำๆ คือ ให้ม้า ว่ิงเรียบ (trot) • จ ากน้ันว่ิงเรียบแบบยกตัว (rising trot) แล้ววิ่งเป็น วงกลม • แล้วจากน้ันให้เดิน โดยบงั คับให้ม้าวิ่งอยูใ่ นแนวเส้นของ วงกลม ผู้ข่ตี ้องส่ังให้ม้าท�ำตามอยา่ งคงท่ีและสม่�ำเสมอ ล�ำตัวของม้าต้องพงุ่ ตรงไปขา้ งหน้า • ให้ม้าเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนไหวอยา่ งราบร่นื และกลมกลืน 8 • หากม้าด้ือดึง ไม่ยอมท�ำตามค�ำส่ัง ผู้ข่ีควรใช้ขาขวาเป็น สัญญาณในการออกค�ำส่ัง ให้ผู้ข่ใี ช้แสแ้ ตะท่ีบา่ ของม้า ให้ม้าเบ่ียงชว่ งบา่ ออกไป (shoulder-in) แล้ววิ่งเรยี บ (trot) เป็นวงกลม • จากน้ันท�ำ half pass การใช้แสแ้ ตะในขณะท่ีม้า ก�ำลังก้าวเดิน จะเป็นสัญญาณบอกให้ม้าก้าวเดิน ไปด้านข้าง • ก ารใชแ้ ส้น้ีมิใชเ่ ป็นการลงโทษ แต่แสจ้ ะท�ำหน้าท่ีเหมือน เป็นแขนของผู้ข่ี ซ่ึงผู้ข่ีต้องใชม้ ือเดียวในการจับบงั เหียน • การท่ีม้าวิ่งเรยี บ แล้วเปล่ียนเป็นเดิน เป็นการเปล่ียน ทิศทางการเคล่ือนไหว ท�ำให้ท้ังผู้ข่แี ละม้าเรียนรู้การฝึก เดินก้าวถ่ีๆ (piaff) และเดินก้าวให้ยาวข้ึน (passage) หน้าท่ี 17

บทฝึกการบงั คับมา้ Dressage ชุดท่ี 5 เป้าหมายหลักของการฝึก • ฝ ึกการบงั คับม้าสำ� หรับการสอบ Fédération Equestre Internationale (FEI), Junior Test และ Grand Prix (GP) • ฝ ึกการใชแ้ ส้ • ฝึกพ้ืนฐานจังหวะการก้าวยา่ งของม้า อาทิ เชน่ active walk trot, pirouette, circle serpen- tise, flying change และ half pass โดยมุ่งให้ม้าต่ืนตัวท่ีจะออกก�ำลังกาย มีความสขุ รู้สกึ ผ่อนคลาย และมีสขุ ภาพแขง็ แรง ผู้ข่ตี ้องมีความรู้สกึ ม่ันคง ปลอดภัย ขณะก�ำลังน่ังอยูบ่ นอาน ม้า และสามารถบงั คับให้ม้าท�ำตามท่ีประสงค์ได้ ท้ังผู้ข่ีและม้าต้องส่ือความรู้สึกและความ เข้าใจระหว่างกันเหมือนเป็นหน่ึงเดียว ข้ันตอนการฝกึ ภาพประกอบ 1 • ให้ม้าเริ่มก้าวเดินอยา่ งกระฉับกระเฉง เพ่ือให้ม้าเริม่ ต่ืน ตัวในการออกก�ำลัง 2 • ใ ช้บังเหียนบงั คับให้ม้าเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนไหว ม้าต้องก้าวเดินอยา่ งเต็มก้าว ไม่เดินก้มหน้า ผู้ข่ผี อ่ น บังเหียนให้ยาว • ถือบังเหียนด้วยมือขวาเพยี งมือเดียว ใช้ต้นขาด้านใน ในการบังคับม้า หน้าท่ี 18

ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 3 • ให้ม้าวิ่งเรียบ 4 • ถือบังเหียนด้วยมือซ้ายเพยี งมือเดียว ใชบ้ งั เหียนในการ เปล่ียนทิศทาง จากน้ันให้ม้าเดินอยา่ งต่ืนตัว กระฉับกระเฉง 5 • บังคับให้ม้าเดินเป็นวงกลมขนาดใหญ่ โดยผู้ข่ีใชม้ ือเดียว ถือบงั เหียน 6 • ใ ชต้ ้นขาออกค�ำส่งั ให้ม้าเดินคดเค้ียวเป็นวงกลม 7 • ให้ม้าเดินเป็นวงกลม โดยผู้ข่ใี ช้ขากระแทกเบาๆท่ีตัวม้า เป็นจังหวะ ขณะส่งั ให้ม้าก้าวเดิน หน้าท่ี 19

ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 8 • ม ือขวาถือแส้ตีบนไหล่ม้าเบาๆ ให้ม้าเดินเป็นวงกลม 9 • ม ือขวาวางบนหน้าขา สว่ นมือซา้ ยจับบงั เหียน แล้วให้ม้า เดินเป็นวงกลมขนาดใหญ่ แล้วท�ำ half pass right 10 • ม ือซา้ ยวางบนหน้าขา ใชม้ ือขวาถือบังเหียน บงั คับให้ม้าท�ำวงกลม และ half pass right 11 • จ ากน้ัน ให้ม้าเดินเป็นวงกลม และท�ำ half pass left หน้าท่ี 20

ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 12 • ท �ำ half pass right โดยใช้แส้เป็นเคร่อื งชว่ ย 13 • ให้ม้าต่ืนตัวโดยการก้าวเดินอยา่ งกระฉบั กระเฉง 14 • ให้ม้าเปล่ียนทิศทางในการเดิน และวิ่งเรียบ (trot) 15 • ใ ห้ม้าเดินเป็นวงกลม ใช้มือขวาวางบนตัก ถือบงั เหียน ด้วยมือขวา • หากม้าท�ำตามค�ำส่ังได้ดี ให้ผู้ข่ตี บต้นคอม้า เป็นการให้ ก�ำลังใจ 16 • ใ ห้ม้าเดินอยา่ งต่ืนตัว กระฉับกระเฉง • จากน้ันให้ม้าวิ่งเรียบ สลับกันอยา่ งน้ีช่ัวระยะเวลาหน่ึง หน้าท่ี 21

ข้นั ตอนการฝึก ภาพประกอบ 17 • หลังจากม้าต่ืนตัวแล้ว ให้ม้าท�ำ half pass left และ shoulder-in 18 • เรมิ่ ต้นให้ม้าเดินเป็นวงกลมขนาดเล็ก แล้วเดินต่อเป็น ชว่ งยาว • จ ากน้ันให้ม้าเดินเป็นวงกลมขนาดใหญ่ แล้วท�ำ shoulder-in และ half pass right 19 • ใ ห้ม้าเดินเป็นวงกลมขนาดเล็ก แล้วท�ำ half pass และ shoulder-in 20 • เดินเป็นวงกลมเล็กอีกคร้ัง จากน้ันว่ิงเรียบ แล้วเปล่ียนเป็นก้าวเดิน หน้าท่ี 22

ภาคผนวก หน้าท่ี 23

ภาพแสดงลักษณะความต่อเน่ืองในการก้าวเดินของม้า Collection in the trot continuum Piaffe การก้าวเดินแบบชว่ งส้ันและถ่ี Passage การวิ่งขโยกท่ีมชี ว่ งจังหวะก้าวท่ีกว้างข้ึน Collected Trot การวิ่งขโยกท่ีมชี ว่ งจังหวะก้าวท่ีกว้างมาก ยิง่ ข้ึน โดยขาหน้าจะมลี ักษณะโค้งกว้างข้ึน Medium Trot การวิ่งท่ีมชี ว่ งจังหวะยาวปานกลาง ขาหนา้ เหยียดออกไป โดยมีลักษณะ “โค้งกลม” ม้าจะลดคอลงต่�ำกว่า Collected Trot Extended Trot การก้าวเดินท่ีมีชว่ งจังหวะยาวมาก โดยขา หน้าจะเหยยี ดออกไปสดุ ทางด้านหนา้ การ เคล่ือนไหวของขาหน้าและขาหลังจะมี ลักษณะเหมือนกัน หน้าท่ี 24

ลักษณะของการฝกึ Dressage Dressage Training Scale Collection ฝึกทุกลักษณะของการก้าวเดินของม้าเข้าด้วยกัน ท้ังการเดิน วิ่งเรยี บและวิ่ง ขโยก โดยม้ามีลักษณะการทรงตัวท่ีดี การก้าวเดินมีลักษณะส้ันลง ขาหน้าจะยก สงู ข้นึ ล�ำคอยกสูงข้นึ และยืดออกไปข้างหน้า Straightness ฝึกให้ล�ำตัวของม้า ท้ังชว่ งบา่ และชว่ งตัวด้านหลังอยูใ่ นแนวตรง สรรี ะของมา้ ท้ัง ด้านซา้ ยและขวาต้องสามารถเคล่ือนไหวได้อยา่ งคงท่ี สม่ำ� เสมอ น้�ำหนกั ท้ังตัว สมดุลกันขณะฝึก Impulsion ฝกึ กระตุ้นม้า เพ่อื เพม่ิ พลังในการพงุ่ ตัวไปขา้ งหนา้ โดยการกระตุ้นให้มา้ ยกขา หลังลอยสูงข้นึ กลางอากาศ ในขณะท่ีมา้ เปล่ียนการเคล่ือนไหวจากวิ่งเรยี บ หรอื ว่ิงขโยก Connection เม่ือผขู้ ่แี ละมา้ ฝึกรว่ มกันได้ในระดับท่ีประสานกันได้ดี มจี ังหวะและมีความนุม่ นวลอยา่ งคงท่ีสม่ำ� เสมอแล้ว จะเปน็ สิ่งกระต้นุ ให้ม้าเกิดความต่ืนตัว เกิด ศกั ยภาพในการฝึก ท�ำให้ม้ามีความเช่ือม่ัน ความไว้วางใจและความสขุ ขณะฝึก Suppleness ฝึกใหป้ ฏิกิรยิ าของมา้ ในการเคล่ือนไหว มีลักษณะผอ่ นคลาย ท้ังทางด้านสรรี ะ และจิตใจ โดยชว่ งหลังและหางมา้ จะยกข้ึนเพียงเล็กน้อย และเคล่ือนไหวอยา่ ง เปน็ จังหวะ มา้ จะยืดคอไปขา้ งหนา้ และก้มต่�ำลง ขณะเดินหรอื ว่ิงขโยก Rhythm เป็นการฝึกระดับพ้นื ฐานคือ จังหวะการวิ่งของม้าควรเป็นลักษณะการฝกึ ท่ีมี ความสม่�ำเสมอ เพ่อื กระตุ้นให้มา้ มคี วามต่ืนตัวและรกั ษาจังหวะการวิ่งให้คงท่ี หน้าท่ี 25

การฝกึ ใหล้ �ำตัวของมา้ ตรง การใชบ้ งั เหยี นด้านซา้ ย Straightness Training (Left rein) พัฒนาการด้านกายภาพ เพ่ือเพิม่ พนู ให้ม้ามีพละก�ำลัง ความต่ืนตัวและยินยอมปฏิบัติตามค�ำส่ัง การใช้บงั เหยี นด้านขวา (Right rein) เคล่ือนตัวไปด้านหน้า โดยสะโพก เดินตรงไปด้านหน้า สะโพกของม้า ของม้าจะเบ่ียงออกไปทางด้านซา้ ย จะอยูด่ ้านใน ขาหน้าและไหล่อยู่ ของล�ำตัว (Renvers) ในแนวตรง (Haunches-in) เดินเป็นวงกลม (Circle) เคล่ือนตัวของม้าไปทางด้าน เดินเฉียง โดยม้าเบ่ยี งชว่ ง หน้าและด้านข้าง ในมุม 30 ถึง บา่ ออกจากล�ำตัวท่ีต้ังตรง 40 องศา โดยสว่ นหัวของม้า จะโค้งออกไปจากแนวทิศท่ีม้า (Shoulder-in) ก�ำลังมุ่งไปข้างหน้า (Counter Shoulder-in) ให้ม้าเปล่ียนทิศทางการ เคล่ือนไหว 180 องศา โดยท่ี ขาหน้าจะหมุนไปรอบๆขา หลัง (Pirouette) เดินตรงไปด้านหน้า สะโพกของม้า เคล่ือนตัวไปด้านหน้า โดยสะโพก จะอยูด่ ้านใน ขาหน้าและไหล่อยู่ ของม้าจะเบ่ยี งออกไปทางด้านขวา ในแนวตรง (Haunches-in) ของล�ำตัว (Renvers) โค้งตัวไปทางขาด้านในของผู้ข่ี โดยขาหน้าจะ ก้าวไปขา้ งหน้า และขาด้านนอก จะก้าวทแยง มุมไปข้างหน้าของขาด้านใน ทิศทางด้านหัวม้า จะมองตรง โดยม้าจะเคล่ือนตัวไปด้านหน้า และด้านข้างในเวลาเดียวกัน (Half pass) เดินเฉียง โดยม้าเบ่ยี งชว่ ง เคล่ือนตัวของม้าไปทางด้าน บา่ ออกจากล�ำตัวท่ีต้ังตรง หน้าและด้านข้าง ในมุม 30 ถึง (Shoulder-in) 40 องศา โดยสว่ นหัวของม้า จะโค้งออกไปจากแนวทิศท่ีม้า ก�ำลังมุง่ ไปขา้ งหน้า (Counter Shoulder-in) หน้าท่ี 26

คณะผจู้ ัดท�ำ นายธรี วัฒน์ ภูมิจิตร นางกอบพร บเี ล่ นายภาสกร จันทนาคร ปก, ภาพประกอบ และ รูปเล่ม © สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอรล์ ิน 2562 หน้าท่ี 27



สถานเอกอัครราชทตู ณ กรุงเบอรล์ ิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook