Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Case Study ComDiag

Case Study ComDiag

Published by WARISA CHANTARUNGSEEVORAKUL, 2018-08-22 11:17:10

Description: โจทย์กรณีศึกษา

Keywords: Case,Study,Casestudy,Community

Search

Read the Text Version

กรณีศึกษาประกอบการเรียนกลุ่มยอ่ ย เร่อื งการวนิ จิ ฉัยปัญหาสขุ ภาพชมุ ชนและการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน วิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ชัน้ ปีท่ี 4 ขอ้ มูลของชมุ ชนกรณีศกึ ษา จากการสารวจชมุ ชน ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2560ชมุ ชนบา้ นหนองไผ่ หมทู่ ่ี 1 ตาบลดงสว่าง อาเภอชุมทอง จังหวัดครี ีนคร มีพ้ืนทป่ี ระมาณ 3 ตารางกิโลเมตรอยู่ห่างจากอาเภอเมอื ง 40 กิโลเมตร ใชร้ ะยะเวลาในการเดนิ ทางเข้าจงั หวัดประมาณ 50 นาทีอาณาเขตของหมบู่ ้านทิศเหนอื ติดตอ่ กบั ชุมชนมหาโพธ์ิ ทิศใต้ ติดต่อกับชมุ ชนโพธ์ทิ องทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั ชุมชนบ้านหวา้ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั ชุมชนหนองสโนประวัติชุมชนจากคาบอกเล่าของกานันช่ืน อดีตกานันตาบลดงสว่าง กล่าวว่าเมื่อประมาณ 80 ปีเศษ ได้มีบุคคลกลุ่มหน่ึงอพยพมาจากทิศตะวนั ออก โดยมีลอ้ เกวียน วัว ควาย เป็นพาหนะเพ่ือมาหาทีท่ ากนิ และทอี่ ยอู่ าศยั ในสมยั น้นั และหยุดพกั ให้ วัว ควาย กินน้ากินหญ้าท่ีข้างหนองน้า ซ่ึงมีต้นไผ่ ล้อมรอบหนองน้าจานวนมาก พวกทีอ่ พยพได้เห็นสภาพพ้ืนท่ีเกิดความพอใจ จึงตกลงกันว่าจะยึดพ้ืนท่ีผืนน้ีเป็นท่ีอยู่อาศัย และสมัยก่อนชาวบ้านก็นิยมปลูกต้นไผ่ เพื่อเป็ นรั้วบ้านป้องกันขโมยจะมาลกั วัวควายของชาวบา้ น จงึ เรียกชือ่ ตอ่ ๆ กนั มาว่า หมูบ่ ้านหนองไผ่ลกั ษณะทั่วไปของชุมชนมลี ักษณะเป็นชมุ ชนกงึ่ เมือง มีจานวนครวั เรือนรวมทั้งสิ้น 85 ครวั เรือน มปี ระชากรทั้งหมด 320 คน สภาพทวั่ ไปของชุมชนมีร้านค้าต่างๆมากมาย และเป็นบ้านเช่าหลายแห่ง มีบ้านเรือนเรียงรายอยตู่ ิดกัน ตามถนนสองฝ่ังข้างและอยูใ่ นซอยเล็กๆของชุมชน โดยสว่ นใหญ่บ้านแต่ละหลังจะมรี ั้วรอบขอบชิด สภาพบ้านเรือน มีลกั ษณะเป็นบ้านปูนและบ้านไมส้ องชั้นใต้ถนุ สงู และบ้านสองชนั้ คร่ึงไมค้ รึ่งปูน บริเวณบา้ นสว่ นใหญจ่ ะมีต้นไม้และดอกไม้ปลูกรอบๆบริเวณมีถงั ขยะวางไวต้ ามจดุ ต่าง ๆลกั ษณะภูมปิ ระเทศพน้ื ทสี่ ว่ นใหญ่เป็นพ้นื ท่ีราบ พน้ื ดินมลี กั ษณะเป็นดนิ รว่ นปนทราย มหี นองน้าขนาดใหญ่ 1 แหง่ น้าจะน้อย ในฤดูแลง้ ฤดรู อ้ นอากาศจะรอ้ นและแหง้ แล้งการคมนาคมในอดีตชาวบ้านจะเดนิ ทางโดยการเดนิ เท้า และใช้เกวียนเป็นยานพาหนะ ต่อมาการคมนาคมเริ่มสะดวกสบายมากขน้ึ มถี นนดนิ ลูกรังเขา้ ถึงหม่บู า้ น และพัฒนามาเปน็ ถนนคอนกรีต ประกอบกบั ชุมชนบ้านหนองไผ่เปน็ ชุมชนกงึ่ เมืองจงึ มีการพัฒนาทางคมนาคมอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันน้ีประชาชนในชุมชนใช้ยานพาหนะ เช่นรถจักยานยนต์ และรถยนต์เป็นต้น ในการเดินทาง หรอื ขนส่งส่งิ ของ ทาให้เกิดความสะดวกรวดเรว็ ในการตดิ ตอ่ สือ่ สารการศกึ ษาในอดีตมีโรงเรียนอนุบาล – ประถมศึกษา ชื่อโรงเรียนหนองไผ่วิทยา แต่ปัจจุบันโรงเรียนได้ปิดทาการสอนเน่อื งจากมเี ดก็ นักเรียนนอ้ ย จงึ ย้ายไปเรียนท่ีโรงเรียนอืน่ ๆ ในชมุ ชนใกลเ้ คียงและอาเภอเมอื งแหลง่ ประโยชน์ในชมุ ชน 1. วัดพทุ ธ 1 แห่ง 2. ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ 1 แหง่ (มเี ด็ก 16 คน) 3. ตลาดนัดและตลาดสด 2 แห่ง 4. ลานออกกาลงั กาย 1 แห่ง 5. ป้อมตารวจ 2 แหง่

26. ศาลาประชาคม 1 แห่ง7. ร้านขายของชา 10 แห่ง8. รา้ นอาหาร 7 แห่ง9. ฟาร์มสุกร 1 แหง่10. หอกระจายข่าว 1 แหง่11. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล 1 แห่ง12. ศนู ยก์ ารเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง 1 แห่งวัฒนธรรมประเพณี และคา่ นยิ มประชาชนในชุมชนบ้านหนองไผ่ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ วัฒนธรรมประเพณี จึงมีลักษณะตาม แนวพระพุทธศาสนา มีวดั วงษ์สวรรค์เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจ เพ่ือทาบญุ ในโอกาสต่างๆ เชน่ วันพระ วนั เขา้ พรรษา วันออกพรรษาส่วนคา่ นยิ มยังยดึ แบบดั้งเดมิ อาจมีค่านิยมสมยั ใหม่บา้ ง ในเยาวชนวัยรุ่นกิจกรรมในวันสาคญั ต่างๆของชุมชนบา้ นหนองไผ่ มดี ังน้ี1. เดือนมกราคม ทาบุญขน้ึ ปใี หม่2. เดอื นเมษายน ทาบญุ วันสงกรานต์ รดน้าดาหวั ผูใ้ หญ่3. เดือนกรกฎาคม ทาบุญวนั เขา้ พรรษาและฟงั เทศฟงั ธรรม4. เดอื นตุลาคม ทาบุญวันออกพรรษา ตักบาตรเทโวจากการสงั เกตแบบมีสว่ นร่วมพบว่า คนในชุมชนส่วนใหญ่ไมม่ สี ว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสงั คมของชุมชนจานวนประชากรปี ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2560อายุ (ปี) ชาย หญงิ รวมทารก 2 4 61-4 10 10 205-9 10 11 2110-14 15 13 2815-19 14 12 2620-24 8 6 1425-29 5 12 1730-34 11 16 2735-39 3 5 840-44 16 10 2645-49 8 10 1850-54 4 14 1855-59 9 14 2360-64 12 14 2665-69 9 10 1970-74 6 7 1375-79 3 4 780-84 1 1 290 - 1 1

3การศึกษาของประชากรอายุ 15 ปขี น้ึ ไป จานวน ระดบั การศกึ ษา 32 88ไม่ไดร้ บั การศึกษา 42ประถมศกึ ษา 30มธั ยมตน้ 32มัธยมปลาย 21อนุปรญิ ญาปริญญาตรขี ึ้นไปการประกอบอาชีพของประชากรอายุ 15 – 60 ปี จานวน อาชพี 25 63ไม่มงี านทา 32รบั จา้ ง 14ค้าขาย 5รับราชการ 28รัฐวิสาหกจิ 16เกษตรกรรมลูกจา้ งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนรายไดเ้ ฉลี่ยครวั เรอื น รายได้เฉลยี่ ครัวเรือน/คน/ปี จานวน (ครวั เรือน)นอ้ ยกว่า 10,000 1310,000 – 19,999 1120,000 – 29,999 930,000 – 39,999 1140,000 – 49,999 1750,000 – 59,999 1360,000 บาทขึ้นไป 11สถานภาพสมรสสถานภาพสมรสคู่ 162 คน โสด 102 คน หมา้ ย 38 คน หยา่ ร้าง 7 คน แยกกันอยู่ 11 คนการคมุ กาเนดิ ของสตรวี ัยเจริญพนั ธ์ุ (อายุ 15-44 ป)ี ทอี่ ยู่กินกับสามีไม่ได้คุมกาเนดิ 17 คน คมุ กาเนดิ 34 คน (ยาเมด็ 17 คน ยาฉีด 13 คน หมนั หญิง 4 คน)สถิติชีพ 3 ปยี ้อนหลงัรายการ 2558 2559 2560ประชากรกลางปี 298 302 320จานวนคลอด 9 13 6เด็กเกิดมีชีพ 9 12 6เด็ก 0 – 4 ปี 18 20 26จานวนคนตายทัง้ หมด 11 10 12

4 จากการสารวจพบวา่ ในรอบปี 2560 มหี ญงิ ตงั้ ครรภ์ 6 คน เดก็ เกดิ มชี พี 6 คน (ในจานวนนี้เปน็ การคลอดที่เกิดจากหญงิ ต้งั ครรภ์อายุ 15-19 ปี 2 ราย) หญิงตงั้ ครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 5 คน หญิงหลงั คลอดไดร้ ับการดแู ลจากเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ ครบตามเกณฑ์ จานวน 6 คน ทารกแรกเกดิ มีนา้ หนกั ไมต่ า่ กวา่ 2,500 กรัม จานวน 5 คน ทารกแรกเกดิ กนิ นมแม่อย่างเดียวอยา่ งนอ้ ย 6 เดือนแรกตดิ ต่อกนั จานวน 2 คน ทารกแรกเกดิ – 12 ปี (61 คน) ไดร้ ับวัคซีนป้องกนั โรคครบตามเกณฑ์ จานวน 51 คนจานวนผู้ป่วยและเสยี ชวี ิตดว้ ยโรคท่ตี อ้ งเฝา้ ระวังปี 2558 - 2560 โรค 2558 2559 2560 ปว่ ย ตาย ป่วย ตาย ป่วย ตายอจุ จาระรว่ งเฉียบพลัน 10 1 8 0 9 0ภมู แิ พ้ 2 0 3 0 5 0บดิ และไทฟอยด์ 100010อาหารเปน็ พิษ 10 0 8 0 7 0ตับอกั เสบเรอื้ รงั 102030ไขห้ วัดใหญ่ 12 0 14 0 15 0วณั โรค 2 0 3 0 5 0ไขเ้ ลอื ดออก 412050เอดส์ 3 1 2 1 2 0อบุ ตั เิ หตุ 4 2 6 2 8 4***โรคซึมเศร้า 203040ฆ่าตัวตาย 112030เบาหวาน 21 0 24 0 29 0ความดนั โลหิตสงู 24 2 38 2 49 3ไขมันในเลือดสงู 18 0 20 0 32 0มะเร็ง 3 1 5 2 7 2โรคหลอดเลือดสมอง 404172โรคหลอดเลอื ดหัวใจ 203041โรคไตเร้ือรงั 3 0 5 1 14 3*** ในจานวนผเู้ สยี ชวี ติ จากอุบัติเหตุ 4 ราย เป็นเดก็ อายุ 5-14 ปี ซง่ึ เสยี ชีวิตจากอบุ ัติเหตจุ มน้า 2 รายพฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร จานวน(ครัวเรือน)1.กนิ อาหารบรรจุสาเรจ็ ต้องมเี คร่ืองหมาย อย. 752.กินเน้ือสัตวต์ อ้ งทาใหส้ กุ ด้วยความรอ้ น 763.กนิ ผักตอ้ งเป็นผกั ปลอดสารพษิ หรอื ทาการแชด่ ว้ ยนา้ ยาด่างทบั ทมิ หรือ 23นา้ ยาลา้ งผกั แล้วลา้ งด้วยน้าสะอาดหลายๆ ครงั้4.กอ่ นกนิ อาหาร ล้างมอื ทกุ ครงั้ และใช้ช้อนกลาง 305.ใช้เกลอื เสรมิ ไอโอดนี 79ปฏบิ ตั ิครบ ขอ้ 1-4 22

5พฤตกิ รรมของการใช้ยาของครัวเรอื น จานวน(ครัวเรือน) พฤติกรรมการใชย้ า 59 601.ไม่กนิ ยาชุด 772.ไมก่ นิ ยาสมุนไพร หรอื ยาแผนโบราณที่ไม่ได้ปรงุ ขน้ึ เฉพาะสาหรับตน 523.ใชย้ าสามญั ประจาบ้าน 564.ไมก่ นิ ผลติ ภณั ฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจรงิ โดยแสดงสรรพคุณเป็นยาเพื่อบาบดั บรรเทารกั ษาโรคซง่ึ ไม่ตรงกับที่แสดงในฉลาก ปฏบิ ัตคิ รบ 4 เรอ่ื งพฤติกรรมสขุ ภาพ- คนอายุ 6 ปีขึ้นไป (ทัง้ หมด 285 คน) ออกกาลงั กายอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 คร้ัง คร้งั ละ 30 นาที หรอื ไดอ้ อกแรง /ออกกาลงั ติดตอ่ กันอยา่ งน้อย 10 นาทีขน้ึ ไป รวมกันทงั้ วัน วันละ 30 นาที อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 5 วัน จานวน 186 คน- คนอายุ 35 ปขี ึน้ ไปได้รับการตรวจสุขภาพประจาปเี พ่ือคดั กรองความเสี่ยงต่อโรค 52 คน- สตรีอายุ 30 – 70 ปี (ทั้งหมด 96 คน) ตรวจเตา้ นมดว้ ย ตนเองทกุ 3 เดือน 38 คน- สตรอี ายุ 30 – 60 ปี (ท้งั หมด 71 คน) ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลกู ด้วยวิธี Pap Smear จานวน 31 คน- คนในครัวเรอื นไม่ดื่มสรุ า 39 ครวั เรือน- คนในครัวเรือนไม่สูบบหุ ร่ี 48 ครวั เรอื นครวั เรอื นมีน้าสะอาดด่ืมและบรโิ ภค เพียงพอตลอดทั้งปี 85 ครัวเรือน ดังน้ีชนดิ ของน้าดมื่ และบรโิ ภคในครวั เรือน จานวน(ครัวเรือน)น้าบรรจุขวดหรอื ถงั 56น้าจากเครอ่ื งกรองน้า 15น้าต้ม 1นา้ ประปา 10นา้ ฝน 3การจดั ระเบยี บบา้ นเรือน จานวน(ครัวเรอื น) 66 การจดั ระเบยี บบ้านเรือน 181. สภาพในบา้ นสะอาด หอ้ งนอนลมพัดผ่านสะดวก ไมม่ ีฝุ่นและกลนิ่ เหมน็ อบั ช้นื ที่นอน ข้าวของ 75เคร่อื งใชส้ ะอาดเป็นระเบียบ 732. มีที่ประกอบอาหารสะอาด มีตกู้ บั ข้าว/ฝาชี มีอปุ กรณล์ า้ งมือ และมีการกาจัดไขมนั ก่อนท้งิ 723. มีทีเ่ กบ็ นา้ สะอาดเพ่อื อปุ โภคบรโิ ภคสภาพดี มฝี าปดิ 624. มกี ารกาจัดสัตว์แมลงทเ่ี ปน็ พาหะนาโรค 735. มีการกาจดั ขยะ เชน่ มอี ปุ กรณ์ มกี ารคัดแยกขยะ มกี ารกาจัดขยะ 696. ไม่มีแหลง่ น้าเสียขงั ในบรเิ วณบา้ น รอ่ งระบายนา้ มสี ภาพดี ไม่มกี ารปล่อยน้าเสียลงแหล่งนา้ 187. มสี ว้ มใชท้ ม่ี สี ภาพแขง็ แรงใชง้ านได้ สะอาด ระบายอากาศดี มอี ุปกรณ์ทาความสะอาด8. มกี ารจัดเกบ็ และแยกสารเคมอี ันตราย และวางใหพ้ ้นมือเดก็ปฏบิ ตั ิครบทง้ั 8 เรอ่ื ง

6การป้องกันอบุ ตั ิภัยในครัวเรือน จานวน(ครวั เรือน) การป้องกนั อุบัติภัย 49 72 - ปอ้ งกนั อุบตั ิเหตเุ มื่อขบั ข่ยี านพาหนะ 59 - ปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตุเมือ่ ใชเ้ คร่อื งใชไ้ ฟฟา้ 47 - ปอ้ งกันอบุ ตั เิ หตุเมอ่ื ประกอบอาชพี ปฏิบัติครบทงั้ 3 เรอื่ ง จากกรณศี ึกษาข้างต้นให้นักศกึ ษาใช้กระบวนการพยาบาลและกระบวนการพฒั นาชุมชน ในการวินิจฉยั และแก้ไขปญั หาสุขภาพชมุ ชน โดยยดึ หลกั การเคารพสทิ ธิและการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน การดูแลสขุ ภาพองคร์ วมบนพ้นื ฐานการดูแลอย่างเอ้ืออาทร จดั ทารายงานวินจิ ฉยั ชมุ ชนและนาเสนอผลงานในกลุ่ม สว่ นประกอบของรายงานมีดังน้ี (ขนั้ ตอนท่ี 1) 1.1 ขอ้ มลู ทั่วไปของหมู่บา้ น - ประวตั ิความเป็นมาของหมบู่ ้าน - อาณาเขตตดิ ต่อ - สภาพภูมปิ ระเทศ / ภูมอิ ากาศ - สภาพเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม - การคมนาคม - แหลง่ สาธารณประโยชนใ์ นชมุ ชน - ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นท่มี ีอย่ใู นชมุ ชน การรวมกลมุ่ ของชมุ ชนทแ่ี สดงถงึ การพงึ่ ตนเอง - ฯลฯ 1.2 ข้อมลู ทไ่ี ด้จากการเกบ็ รวบรวมจากปฐมภูมิและทุติยภูมิ หมวด 1 ประชากร เชน่ จานวน เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ศาสนา ฯลฯ หมวด 2 สุขภาพอนามัยทงั้ ดา้ นร่างกายจติ ใจและสงิ่ แวดลอ้ มของประชาชนในหมูบ่ ้าน ท่ไี ดจ้ ากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น ระเบยี นรายงานโรค การจัดคลินกิ ตรวจสขุ ภาพ ฯลฯ (ขน้ั ตอนท่ี 2) การวนิ จิ ฉยั ปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน 2.1 นาข้อมูลปญั หาท่พี บในชุมชนได้จาก ขอ้ ที่ 1.2 มาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑช์ ี้วดั ต่าง ๆ เช่นจปฐ. /แผนพัฒนาสขุ ภาพ/KPI/ เกณฑ์มาตรฐานสาธารณสขุ เร่อื งอื่น ๆ หรอื หลกั 5D หรอื กระบวนการกลุ่ม จะทาใหไ้ ด้ปญั หาที่ไม่ผา่ นเกณฑท์ งั้ ดา้ นสาธารณสุขและด้านอนื่ ๆ 2.2 การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาในทุกปญั หาทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์ พรอ้ มทงั้ นาเสนอข้ันตอนและวธิ กี ารทีจ่ ะไดม้ าซงึ่ ปญั หาทีช่ มุ ชนตอ้ งการแก้ไข 2.3 ผลการวเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หาลาดับที่ 1 (ขน้ั ตอนท่ี 3) การวางแผนแก้ไขปญั หาสุขภาพชุมชน - เขยี นแผนงาน /โครงการ / กิจกรรมแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพชุมชน (ขน้ั ตอนท่ี 4 และ 5) การประเมินผลการดาเนนิ งานอนามัยชุมชน - ประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผนท่วี างไว้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook