๒๕๖๐ ชีวิตและวฒั นธรรมชีวิตละวฒั นธรรมนางสาวอารีรัตน์ ใบโพธิ์วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครราชสมี า | วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษานครราชสมี า
เรื่อง..ชีวติ และวฒั นธรรมไทยอธบิ ายรายวชิ า (ชีวติ และวฒั นธรรมไทย) ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกบั เอกลกั ษณ์ทางสงั คมและวฒั นธรรมไทย การวเิ คราะห์และประเมินสถานการณ์เพอื่ สร้างจิตสาธารณะรับผดิ ชอบต่อสังคมตามหลกั ธรรมของศาสนา การรักษาเสถียรภาพของสังคม วฒั นธรรมของชาติ และวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นที่สาคญัมาตรฐานรายวชิ า 1) วเิ คราะหห์ ลกั ธรรมและศาสนพธิ ีในการดารงชีวติ ประจาวนั 2) ทาประโยชนต์ ่อส่วนรวมเพอ่ื อยรู่ ่วมกนั ดว้ ยจิตสาธารณะ 3) ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามประเพณีและวฒั นธรรมไทย เพือ่ การดารง ชาติและมีความภาคภูมิใจสมรรถนะรายวชิ า 1) ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม ศลี ธรรม จริยธรรม และศาสนพธิ ีพธิ ีกรรมในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ 2) มีจิตสาธารณะ 3) ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามวฒั นธรรมไทยสาระสาคญั ใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีความเขา้ ใจเรื่อง ความหมายและความสาคญั ของเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมไทยเอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย ความหมายตามพจนานุกรม คาวา่ “เอก”แปลวา่ หน่ึง หรือ เด่น เอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย จึงหมายถึง ลกั ษณะเด่นหรือลกั ษณะอนั เป็นส่วนรวมของวฒั นธรรมท่ีเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจน แตกต่างจากวฒั นธรรมอ่ืนเป็นลกั ษณะเฉพาะของตนเอง ถึงแมก้ าลเวลาจะเปล่ียนไป และมีวฒั นธรรมต่างชาติเขา้ มา
ผสมผสานกนั บา้ ง แต่เรากส็ ามารถเลือกนามาปรับใหเ้ ป็นลกั ษณะเฉพาะของตนเองได้อยา่ งแนบสนิทตามความเช่ือและค่านิยม จากการดดั แปลงดงั กล่าว จึงทาใหว้ ฒั นธรรมไทยมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ไม่เหมือนใครความสาคญั เอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย ช่วยใหน้ กั ศึกษาไดเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในชีวติ และวฒั นธรรมไทย วถิ ีการดาเนินชีวติ ที่มีลกั ษณะเด่น เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะของตนเอง ท้งั ทางดา้ นศิลปกรรมสถาปัตยกรรม กิริยามารยาท การแต่งกายที่ดี หลกั ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนา้ ที่พลเมือง กฎหมาย ภูมิปัญญา ประเพณี และวฒั นธรรม ใหเ้ กิดความภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย และร่วมกนั สืบสานและเกิดการพฒั นาท่ียงั่ ยนืประเดน็ ออกข้อสอบ 1) เอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย 1.1 ความหมายของเอกลกั ษณ์ 1.2 ความสาคญั ของเอกลกั ษณ์ 1.3 เอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย 2) ประเพณีและวฒั นธรรม 2.1 ความหมายของประเพณีวฒั นธรรม 2.2 ความสาคญั ของประเพณีวฒั นธรรม 2.3 ประเพณีและวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น 2.4 การอนุรักษป์ ระเพณีวฒั นธรรมไทย 3) ภูมิปัญญาไทย 3.1 ความหมายของภูมิปัญญาไทย 3.2 ความสาคญั ของภมู ิปัญญาไทย 3.3 ประเภทของภมู ิปัญญาไทย 3.4 การส่งเสริมและอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทย
4) จิตสาธารณะ 4.1 ความหมายและความสาคญั จิตสาธารณะ 4.2 แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ5) ศาสนากบั การดาเนินชีวติ 5.1 ความสาคญั ของศาสนากบั การดาเนินชีวติ 5.2 สาระสาคญั ของศาสนาที่ตนเองนบั ถือ 5.3 ประเพณี พธิ ีกรรม ของศาสนาที่ตนเองนบั ถือ
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: