ฮาร์ดดสิ ก์และไดร์ฟประเภทต่าง ๆสาระสาคญั- ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) เป็นอุปกรณ์หลกั ท่ีใชส้ าหรับจดั เกบ็ ขอ้ มูลท้งั หมดของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ท้งั โปรแกรมระบบปฏิบตั ิและโปรแกรมสาหรับใชง้ านต่าง ๆ เราท้งัไฟลข์ อ้ มูลท้งั หมด จะถูกเก็บไวท้ ่ีตวั ฮาร์ดดิสก์ ท่ีถูกติดต้งั ไวใ้ นเคร่ืองท้งั สิ้น ขอ้ มูลไมส่ ูญหายไปในขณะปิ ดเครื่องไมเ่ หมือนแรมซ่ึงเม่ือปิ ดเคร่ืองขอ้ มลู จะหายไป ดว้ ยเหตุน้ีเองถือวา่ เป็ นอุปกรณ์ท่ีตอ้ งระมดั ระวงั ในการใชง้ านและเคลื่อนยา้ ยมากที่สุดเพราะหากฮาร์ดดิสกเ์ สียหาย ขอ้ มูลก็เสียหายไปดว้ ยหากไม่มีการสารองขอ้ มลู ไว้ ถือวา่ เป็นปัญหาใหญ่เลยทีเดียว- ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ (Floppy Disk Drive) เป็นอุปกรณ์ท่ีใชส้ าหรับอ่านและบนั ทึกขอ้ มลู ลงบนแผน่ ดิสกเ์ กต็ ต์ ขนาดเลก็ ที่นิยมใชง้ านคือขนาดความจุ 1.44 MB แต่ปัจจุบนั บางเคร่ืองอาจไม่ไดต้ ิดต้งั ไวแ้ ลว้ เพราะมีอุปกรณ์อ่ืนที่ใชบ้ นั ทึกขอ้ มลู ได้มากกวา่ และสะดวก กวา่ เช่น Thumb Drive- ซีดีรอม/ดีวีดีรอมไดรว์ (CD-ROM Drive หรือ DVD – ROM Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับอ่านขอ้ มลู จากแผน่ ซีดีหรือแผน่ ดีวดิ ี ซ่ึงปัจจุบนั น้ีเป็นท่ีนิยมติดต้งั ไวก้ บัเคร่ืองคอมพิวเตอร์ บางรุ่นสามารถใชอ้ ่านเขียนแผน่ ซีดีแผน่ ดีวดิ ีได้ ข้ึนอยกู่ บัคุณสมบตั ิของไดรวซ์ ีดีหรือดีวดิ ีท่ีติดต้งั ไวก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์น้นั ๆ อารีรัตน์ ใบโพธ์ิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครราชสีมา
ฮาร์ดดสิ ก์และไดร์ประเภทต่าง ๆสาระสาคญั - ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) เป็นอุปกรณ์หลกั ที่ใชส้ าหรับจดั เก็บขอ้ มูลท้งั หมดของเครื่องคอมพวิ เตอร์ท้งั โปรแกรมระบบปฏิบตั ิและโปรแกรมสาหรับใชง้ านตา่ ง ๆ เราท้งั ไฟลข์ อ้ มูลท้งั หมด จะถูกเกบ็ ไวท้ ่ีตวัฮาร์ดดิสก์ ท่ีถูกติดต้งั ไวใ้ นเคร่ืองท้งั สิ้น ขอ้ มลู ไม่สูญหายไปในขณะปิ ดเครื่องไมเ่ หมือนแรมซ่ึงเม่ือปิ ดเคร่ืองขอ้ มลู จะหายไป ดว้ ยเหตุน้ีเองถือวา่ เป็นอุปกรณ์ท่ีตอ้ งระมดั ระวงั ในการใชง้ านและเคลื่อนยา้ ยมากท่ีสุดเพราะหากฮาร์ดดิสกเ์ สียหาย ขอ้ มูลกเ็ สียหายไปดว้ ยหากไม่มีการสารองขอ้ มูลไว้ ถือวา่ เป็นปัญหาใหญ่เลยทีเดียว - ฟล็อปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ (Floppy Disk Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับอา่ นและบนั ทึกขอ้ มูลลงบนแผน่ดิสกเ์ ก็ตต์ ขนาดเล็กท่ีนิยมใชง้ านคือขนาดความจุ 1.44 MB แต่ปัจจุบนั บางเคร่ืองอาจไมไ่ ดต้ ิดต้งั ไวแ้ ลว้เพราะมีอุปกรณ์อื่นที่ใชบ้ นั ทึกขอ้ มลู ไดม้ ากกวา่ และสะดวก กวา่ เช่น Thumb Drive - ซีดีรอม/ดีวีดีรอมไดรว์ (CD-ROM Drive หรือ DVD – ROM Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับอา่ นขอ้ มูลจากแผน่ ซีดีหรือแผน่ ดีวดิ ี ซ่ึงปัจจุบนั น้ีเป็นที่นิยมติดต้งั ไวก้ บั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ บางรุ่นสามารถใช้อ่านเขียนแผน่ ซีดีแผน่ ดีวิดีได้ ข้ึนอยกู่ บั คุณสมบตั ิของไดรวซ์ ีดีหรือดีวดิ ีที่ติดต้งั ไวก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์น้นั ๆสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกประเภทของฮาร์ดดิสกแ์ ละความหมายของมาตรฐานฮาร์ดดิสกแ์ บบ1. ฮาร์ดดิสก์ ต่าง ๆ ได้2 .ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ 2. สามารถบอกคุณสมบตั ิท่ีสาคญั ของฮาร์ดดิสกไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง3.ซีดีรอมไดรว์ 3. บอกส่วนประกอบต่าง ๆ ของฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรวไ์ ด้4. ดีวดิ ีรอมไดรว์ 4. บอกประเภทของซีดีไดรวแ์ ละดีวดิ ีไดรวแ์ บบต่าง ๆ ได้5.ไดรวบ์ นั ทึกขอ้ มูลแบบอื่นๆ 5. สามารถบอกคุณสมบตั ิต่าง ๆ ของ ซีดีไดรวแ์ ละดีวดิ ีไดรวไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง 6. สามารถอา่ นตา่ ง ๆ ของการอ่านเขียนขอ้ มลู บนซีดีไดรวแ์ ละดีวดิ ีไดรว์ ไดถ้ ูกตอ้ ง 7.สามารถบอกประเภทของไดรวบ์ นั ทึกขอ้ มูลแบบอ่ืนๆ ได้
1. ฮาร์ดดิสก์ ฮาร์ดดิสกถ์ ือวา่ เป็นอุปกรณ์หลกั ท่ีสาคญั เพ่ือใชใ้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มูลในเครื่องคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงปัจจุบนั น้ีไดม้ ีการพฒั นาคุณสมบตั ิ ต่าง ๆ อยา่ งต่อเนื่อง ดงั น้นั ในการที่จะนาฮาร์ดดิสกม์ าติดต้งั ในเครื่องคอมพิวเตอร์จะตอ้ งพจิ ารณาถึงคุณสมบตั ิ ประกอบดงั น้ี ประเภทของฮาร์ดดิสก์ ความเร็วในการเขา้ ถึงขอ้ มลูความจุของฮาร์ดดิสก์ มาตรฐานของการเช่ือมตอ่ เป็นตน้1.1 การทางานของฮาร์ดดิสก์ ภายในฮาร์ดดิสกจ์ ะมีแผน่ จานดิสก(์ Platter)เป็นโลหะอลูมิเนียมเคลือบดว้ ยสารแม่เหลก็ วางซอ้ นกนั อยู่ ดยยดึ ติดอยกู่ บั แกนมอเตอร์ (Spindle) ที่ใชส้ าหรับหมุนแผน่ จานดิสกด์ ว้ ยความเร็วสูงเรียกวา่ ซ่ึงเม่ือฮาร์ดดิสกจ์ ะอา่ นหรือเขียนขอ้ มูล แขนหวั อา่ น (Actuator Arm) ที่มีหวั อ่านเขียน(Read/Write Head) อยู่ตรงปลายของแขนหวั อ่าน ซ่ึงแขนหวั อา่ นน้ีจะอยบู่ นแอคทิวเอเตอร์(Actuator) ท่ีเป็นส่วนใชค้ วบคุมการเคล่ือนท่ีของแกนแอค็ ทิวเออร์ เพ่อื ใหห้ วั อ่านหรือเขียนขอ้ มลู สามารถเคลื่อนที่ไปยงั ตาแหน่งท่ีตอ้ งการจะอา่ นหรือเขียนขอ้ มลู ไดโ้ ดยใชม้ อเตอร์อีกตวั หน่ึงท่ีเรียกวา่ “Stepping Motor” และต่อมามีการพฒั นาเป็ นแบบ Voice Coil ซ่ึงอาศยั แรงผลกั ของสนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้ าแทน โดยปกติแลว้ หวั อ่านเขียนของฮาร์ดดิสก์จะไม่ไดส้ ัมผสั กบั แผน่ จานดิสก(์ Platter) โดยตรงเหมือนแผน่ ดิสก์ ซ่ึงตวั หวั อา่ นเขียนจะลอยอยเู่ หนือแผน่จานดิสกป์ ระมาณ 10 ไมครอน(หน่ึงในพนั มิลลิเมตร) ซ่ึงเป็นแรงยกของอากาศขณะที่เกิดจากความเร็วในการหมุน ดว้ ยเหตุน้ีจึงทาให้ตวั ฮาร์ดดิสกม์ ีความทนทานและอายกุ ารใชง้ านนานกวา่ แผน่ ดิสกเ์ ก็ตมากทีเดียวแตห่ ากเราทาตวั ฮาร์ดดิสกต์ กกระแทกพ้นื หรือเคล่ือนยา้ ยโดยไมร่ ะวงั กอ็ าจทาให้อ่านไปกระแทกกบั แผน่จานดิสกด์ ิสกท์ าใหฮ้ าร์ดดิสกเ์ สียได้ รูปท่ี 4.1 โครงสร้างชิ้นส่วนภายในฮาร์ดดิสก์
1.2 การจดั เกบ็ ข้อมูลของฮาร์ดดสิ ก์ การเกบ็ ขอ้ มูลของฮาร์ดดิสก์ จะทาการสร้างสนามแม่เหลก็ ลงบนแผน่ จานดิสก์ขอ้ มูล(Platter) ซ่ึงแผน่ ดิสกแ์ ตล่ ะดา้ นจะเก็บขอ้ มลู ตามแนวของเส้นรอบวง ซ่ึงแนวเส้นรอบวงยอ่ ย ๆ บนแผน่ จานดิสกข์ อ้ มลูน้นั เราจะเรียกวา่ “แทร็ค(Track)” โดยเราจะเรียกแนวเส้นรอบวงนอกสุดของแผน่ จานดิสกว์ า่ “Track 0”ถดั มาเรียกวา่ “Track 1” ,”Track 2” ตามลาดบั มาเร่ือย ๆ และในแต่ละแทร็ค(Trace) จะถูกแบ่งออกเป็นช่วง ๆ ยอ่ ยลงไปอีก เรียกวา่ “เซ็กเตอร์(Sector)” ซ่ึงในแต่ละ เซ็กเตอร์จะมีขนาด 512 ไบต์ ซ่ึงโดยแทร็ควงนอกจะมีจานวนของเซ็กเตอร์มากกวา่ วงของแทร็คที่อยดู่ า้ นใน สาหรับ วงของแทร็ค(Trace) ท่ีอยตู่ รงกนัของแตล่ ะจานดิสกใ์ นแนวด่ิงเราจะเรียกวา่ Cylinder โดยการอ่านหรือเขียนขอ้ มลู ของฮาร์ดดิสกก์ จ็ ะอา้ งถึงCylinder จะเรียกตามชื่อ Track ท่ีตรงกนั เช่น Cylinder 0 ก็หมายถึง การรวม Track 0 ของทุกแผน่ จานดิสก์นน่ั เอง รูปท่ี 4.2 ลกั ษณะโครงสร้างของการจดั เก็บขอ้ มูลบนฮาร์ดดิสก์ ส่วนการฟอร์แมตในระดบั ต่า (Low Level Format) กเ็ ป็นการจดั เรียงโครงสร้างของแทร็คและเซ็กเตอร์ในแผน่ จานดิสกเ์ พื่อให้พร้อมสาหรับการจดั เก็บขอ้ มูล และการฟอร์แมตฮาร์ดดิสกจ์ ะเขียนตารางตาแหน่งของการแบ่งเซ็กเตอร์เอาไวท้ ี่ส่วนหวั ของดิสกด์ ว้ ย เพราะฮาร์ดดิสกจ์ ะใชข้ อ้ มูลในตารางน้ีเพือ่อา้ งอิงเวลาจะอา่ นหรือเขียนขอ้ มูล แตใ่ นปัจจุบนั ฮาร์ดดิสกม์ ีขนาดใหญ่มีความจุเกิน 10 GBข้ึนไป การแบง่ ตาแหน่งแทร็คและเซ็กเตอร์บนแผน่ จากดิสกจ์ ะมีขนาดไมเ่ ทา่ กนั ท้งั หมด จึงไม่สามารถสั่งฟอร์แมตระดบั ต่า (Low Level Format)ได้ ส่วนความจุของฮาร์ดดิสกเ์ ราสามารถสงั เกตไดจ้ ากฉลาก(Label) บนตวั ฮาร์ดดิสกท์ ี่ติดอยบู่ นฮาร์ดดิสกแ์ ต่ละตวั แลว้ เรายงั สามารถท่ีจะคานวณหาความจุฮาร์ดดิสกไ์ ดอ้ ีก เพยี งแต่เราตอ้ งทราบถึงจานวนของหวั อา่ น (Heads) ,Cylindersและ Sectors บนฮาร์ดดิสก์ จากสูตรดงั ต่อไปน้ี ความจุของฮาร์ดดิสก(์ ไบต)์ = จานวนไซลินเดอร์ x จานวนหวั อา่ น x จานวนเซ็กเตอร์ต่อแทรคx 512 สาหรับการอา่ นค่าของขอ้ มูลบนคอมพวิ เตอร์น้นั จะใชร้ ะบบเลขฐานสอง คือใชต้ วั เลขเพยี ง 2 ตวัคือ 0 กบั 1 ซ่ึงหากสญั ญาณต่อวงจรจะแทนดว้ ย 1 และไม่ต่อวงจรแทนดว้ ย 0 หน่ึงตวั ซ่ึงจานวนตวั
เลขฐานสอง 1 ตวั จะเรียกวา่ 1 บิต(Bit) ซ่ึงเม่ือนาจานวนบิตมาตอ่ กนั เป็น 8 บิต จะเทา่ กบั 1 ไบต(์ Byte) หรือแทนตวั อกั ษร 1 ตวั (Character) และเม่ือมีจานวนไบตเ์ พมิ่ ข้ึน กจ็ ะมีหน่วยนบั ความจุขอ้ มูลต่าง ๆ ไดด้ งั น้ี1 กิโลไบต(์ Kilobyte) = 1,024 ไบต์1 เมกะไบต(์ Megabyte) = 1,048,572 ไบต์1 กิกะไบต(์ Gigabyte) = 1,073,741,824 ไบต์1 เทราไบต(์ Terabyte) = 1,099,511 ลา้ นไบต์ (หน่ึงพนั กิกะไบต)์1 พโิ ตไบต(์ Petobyte) = 1,073,741,824 ลา้ นไบต์ (หน่ึงหมื่นกิกะไบต)์ รูปที่ 4.3 ตวั อยา่ งการอา่ นค่าจุของฮาร์ดดิสกเ์ ราสามารถสงั เกตไดจ้ ากฉลาก(Label)2.ประเภทของฮาร์ดดิสก์ สาหรับในปัจจุบนั น้ีฮาร์ดดิสกม์ ีการพฒั นาการมาตรฐานการเช่ือมต่อหรืออินเตอร์เฟสอยา่ งตอ่ เน่ืองเพอ่ื ตอ้ งการให้ฮาร์ดดิสกท์ างานไดเ้ ร็วและมีประสิทธิภาพมากข้ึน สาหรับรูปแบบการเชื่อมต่อของอาร์ดดิสกท์ ่ีใชต้ ิดต้งั ใชง้ านกบั เมนบอร์ดปัจจุบนั จะมีอยู่ 3 รูปแบบดว้ ยกนั คือ แบบ E-IDE (Enhanced IDE) :ซ่ึงพฒั นามาจาก IDE เดิมบางคร้ังจึงชอบเรียกวา่ รวมวา่ IDE ,แบบ SCSI (อา่ นวา่ สกสั ซ่ี)ส่วนใหญ่จะใชก้ บัเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และแบบ Serial ATA ซ่ึงเป็นมาตรฐานการเช่ือมตอ่ แบบใหม่ในปัจจุบนั น้ี ที่ได้พฒั นาการรับส่งขอ้ มลู ไดม้ ากกวา่ แบบเดิม จึงเป็นแบบท่ีนิยมมากในปัจจุบนั น้ี2.1 ฮาร์ดดิสก์แบบ EIDE สาหรับฮาร์ดดิสก์ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronic)เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่อหลกั ในปัจจุบนั โดยพฒั นามาจากมาตรฐานฮาร์ดดิสกแ์ บบเดิมIDE ที่มีขอ้ จากดั คือไมส่ ามารถทางานกบั ฮาร์ดดิสกท์ ่ีมีความจุเกิน 528 MB ได้ ส่วนมาตรฐานดา้ นความเร็วของโหมดการรับส่งขอ้ มูล จะอา้ งอิงดว้ ยโหมดการทางานแบบDMA (Direct Memory Access) ของฮาร์ดดิสกแ์ บบน้ีไดแ้ ก่ Ultra ATA (UltraDMA)/33,/66,/100,/133 ซ่ึงมคี วามเร็วในการส่งผา่ นขอ้ มลู 33,66,100และ 133 /MB/s (เมกะไบตต์ ่อวนิ าที)ตามลาดบั สาหรับการเชื่อมต่อ แบบ Ultra DMA)/33จะใชส้ ายแพหรือสายสัญญาณขอ้ มูลจานวน 40 เส้นส่วนแบบต้งั แต่ Ultra DMA)/66,/66,/100,/133 ใชส้ ัญญาณขอ้ มลู จานวน 80 เส้น(โดย40เส้นเพ่ิมข้ึนเป็ นสาย
กราวน์เพ่ือลดสัญญาณรบกวน) แต่จะมีจุดเช่ือมต่อที่ช่องต่อ IDE ท่ีอยบู่ นเมนบอร์ดซ่ึงจะมี 2 ช่อง ช่องละ40 ขา โดยแตล่ ะช่องสามารถรองรับการเช่ือมต่อฮาร์ดดิสกบ์ นสายสญั ญาณได้ 2 ตวั โดยกาหนดลาดบั การทางาน ฮาร์ดดิสกด์ ว้ ยจมั เปอร์ที่ตวั ฮาร์ดดิสกน์ ้นั ๆ วา่ จะใหท้ างานเป็นตวั ที่ 1 หรือ 2 ตามลาดบั รูปท่ี 4. 4 ฮาร์ดดิสกแ์ บบ EIDE สายสญั ญาณท่ีใชเ้ ช่ือมตอ่ และPort ตอ่ IDE2.2 ฮาร์ดดิสก์แบบ SCSI ฮาร์ดดิสกแ์ บบ SCSI (Small Computer System Interface) เรียกวา่ สกสั ซ่ี เป็นมาตรฐานฮาร์ดดิสก์อีกแบบหน่ึง ที่รวมเอาแผงวงจรควบคุมไวท้ ี่ฮาร์ดดิสกแ์ ละใช้ Host Adaptor Card (หรือ SCSI Card)เชื่อมต่อกบั เมนบอร์ด ซ่ึงสามารถต่ออุปกรณ์ได้ 7-15 ตวั มีจุดเด่นเรื่องประสิทธิภาพ ในการรับส่งขอ้ มลูสูงสุดถึง 320 MB/s ส่วนใหญ่จะพบไดใ้ นเคร่ืองคอมที่นามาใชเ้ ป็นเซิร์ฟเวอร์ ส่วนการเช่ือมต่อก็มีการพฒั นามาจากเดิม 50 เขม็ จากน้นั ก็พฒั นาต่อมาเป็นแบบ 69 เขม็ และในปัจจุบนั กพ็ ฒั นาเป็นแบบ 80 เขม็แลว้ รูปท่ี 4. 5 ฮาร์ดดิสกแ์ บบ SCSI2.3 ฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ATA สาหรับฮาร์ดดิสกแ์ บบ Serial ATA เป็นมาตรฐานการเช่ือมตอ่ แบบใหม่ท่ีนิยมใชใ้ นปัจจุบนั แทนแบบ EIDE ที่ใชง้ านกนั อยู่ โดยการทางานของฮาร์ดดิสกแ์ บบ Serial ATA จะแตกตา่ งจากแบบ EIDE คือใช้ระบบการรับส่งขอ้ มลู แบบอนุกรม(Serial) แทนแบบ ขนาน(Parallel)ท่ีเป็นแบบ EIDE ใชอ้ ยู่ ทาให้สามารถรเพมิ่ ความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู ไดส้ ูงกวา่ สาหรับฮาร์ดดิสกแ์ บบ Serial ATA ในปัจจุบนั จะมี 4
มาตรฐานการเช่ือมต่อ คือ SATA 1.0 มีความเร็วอยู่ 150 MB/s ,SATA II ท่ีขยายมาจาก 1.0 โดยสนบั สนุนคุณสมบตั ิ NCQ และ Hot Plug (ถอดออกไดใ้ นขณะเปิ ดเครื่อง) มาตรฐาน SATA 3 Gb/s หรือ SATA 300MB/s ซ่ึงใชง้ านร่วมกบั ชิปเซ็ตต้งั แต่ nForce4 Ultra/SLI และIntel ICH7/7R จึงจะสามารถใชง้ านได้ และมาตรฐาน SATA 2.5 ซ่ึงจะระบุไวว้ า่ ตอ้ งสนบั สนุน 300 MB/s จานวน 6 ช่อง รูปท่ี 4. 6 ฮาร์ดดิสกแ์ บบ Serial ATA และ สายสญั ญาณท่ีใชเ้ ช่ือมตอ่ และ Port ต่อ SATA2.4 ฮาร์ดดิสก์แบบไฮบริด (Hybrid) สาหรับฮาร์ดดิสกแ์ บบไฮบริดเป็นการนาเทคโนโลยขี องหน่วยความจาแบบแฟลซ(Flash Memory)มาทางานร่วมกบั ฮาร์ดดิสกล์ กั ษณะของหน่วยความจาแบบแฟลซจะเหมือนกบั แฟลซไดรว์ หรือการ์ดหน่วยความจาท่ีใชก้ บั กลอ้ งดิจิตอลโดยจะเขา้ มาทาหนา้ ท่ีช่วยโหลดไฟลท์ ี่ใชง้ านบอ่ ย ๆ หรือเกบ็ ไฟลช์ วั่ คราวที่วนิ โดวส์ใชง้ านซ่ึงจะช่วยลดระยะเวลาในการอา่ นเขียนขอ้ มลู ซ่ึงฮาร์ดดิสกแ์ บบไฮบริดไดร้ ับการสนบั สนุนจาก Windows Vista Premium ซ่ึงหากตอ้ งการผา่ นมาตรฐานของ Windows Vista Ready สาหรับ Premiumผใู้ ชจ้ าเป็นตอ้ งเลือกฮาร์ดดิสกแ์ บบไฮบริด รูปที่ 4.7 ฮาร์ดดิสกแ์ บบ Hybrid3.คุณสมบตั ิของฮาร์ดดสิ ก์ คุณสมบตั ิของฮาร์ดดิสก์ แต่ละยห่ี อ้ จะมีการออกแบบกลไกภายในที่แตกตา่ งกนั นอกจากจะคานึงถึงความจุของฮาร์ดดิสกแ์ ลว้ ยงั ต่อพจิ ารณาถึง ความเร็วรอบในการหมุนของมอเตอร์ท่ีจะเขา้ ถึงขอ้ มลู ในและอตั ราการรับส่งขอ้ มูลของหวั อา่ น เป็ นตน้ ซ่ึงคุณสมบตั ิดงั กล่าวทาใหฮ้ าร์ดดิสกม์ ีความแตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจนจึงเป็นปัจจยั ที่ตอ้ งคานึง ในการเลือกฮาร์ดดิสกม์ าใชง้ านใหม้ ีประสิทธิภาพมาท่ีสุด
3.1 ความจุของฮาร์ดดิสก์ สาหรับความจุของฮาร์ดดิสกป์ ัจจุบนั พฒั นาความจุสูงถึง 1TB ( เทราไบต)์ หรือจุถึง 1,000 GB ซ่ึงความจุยง่ิ มากก็ยงิ่ เกบ็ ขอ้ มลู ไดม้ ากตามไปดว้ ย แต่ก่อนที่เราจะติดต้งั ฮาร์ดดิสกข์ นาดเท่าไร ก็ควรคานึงถึงความตอ้ งการของเราวา่ จะติดต้งั โปรแกรมอะไรบา้ งและตอ้ งการจะจดั เก็บไฟลม์ ากเทา่ ไร พร้อมท้งั รองรับการติดต้งั ไฟลต์ ่าง ๆ ในอนาคตดว้ ย3.2 ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สาหรับความเร็วของการเขา้ ถึงขอ้ มูล (Seek Time ) คือช่วงเวลาท่ีรอใหต้ าแหน่งบนจานดิสกห์ มุนมาพอดีกบั หวั อา่ น ซ่ึงช่วงเวลาดงั กล่าวจะข้ึนอยกู่ บั ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสกเ์ ป็นหลกั ถา้ ความเร็วรอบสูงหวั อา่ นกจ็ ะใชเ้ วลารอคอยลดลง คา่ ของ Seek Time จะมี 3 แบบคือ -Average Seek Time เป็นการวดั ช่วงเวลาในการเขา้ ถึงขอ้ มูลแบบสุ่ม โดยระยะเวลาที่ไดจ้ ะเป็น ระยะเวลาเฉลี่ยที่ฮาร์ดดิสกร์ อขอ้ มลู เช่น ฮาร์ดดิสกท์ ี่ใชใ้ นปัจจุบนั จะมีความเร็วรอบตอ่ นาที (rpm: round per minute) ในการหมุนของแผน่ จานดิสก์ เช่น 5400 rpm จะมีค่า Average Time ที่ 11-12 ms (ms: millisecond คือ 1 ใน 1,000 วนิ าที) ถา้ เป็น 7200 rpm จะมีค่า Average Time ท่ี 8-9 ms ซ่ึงส่วนใหญผ่ ผู้ ลิตฮาร์ดดิสกจ์ ะบอกค่า Average Time เท่าน้นั และในอนาคตน้ี ผผู้ ลิตกก็ าลงั พฒั นาฮาร์ดดิสกใ์ หม้ ีความเร็วรอบเป็ น 10,000 rpm เลยทีเดียว - track –To-track คือช่วงระยะเวลาในการเคลื่อนท่ีจากแทร็คหน่ึงไปยงั อีกแทร็คในตาแหน่งถดั ไป ซ่ึงค่า Track –To-track น้ีจะมีคา่ นอ้ ยกวา่ คา่ อื่น ๆ เพราะใชเ้ วลาประมาณ 1 ms เทา่ น้นั -Full Stroke คือระยะเวลาในการรอแผน่ จานดิสกเ์ คล่ือนท่ีครบ 1 รอบพอดี ซ่ึงเป็นค่าที่มากที่สุดหน่ึง โดยปกติจะมีค่าประมาณ 15-20 ms3.3 อตั ราการรับ/ส่งข้อมูล สาหรับอตั ราการรับส่งขอ้ มลู (Transfer Rate) คือปริมาณขอ้ มลู ท่ีถูกส่งผา่ นภายใน 1 วนิ าที จะมีหน่วยนบั เป็ นเมกะไบตต์ ่อวนิ าที (MB/s) ซ่ึงความเร็วจะข้ึนอยกู่ บั มาตรฐานของฮาร์ดดิสกร์ ุ่นน้นั ๆ วา่รองรับการทางานในโหมดใด เช่น Ultra ATA/100 จะมีอตั รารับส่งขอ้ มูลเทา่ กบั 100 MB/s ถา้ เป็น UltraATA/133 จะมีอตั รารับส่งขอ้ มูลเทา่ กบั 133 MB/s ส่วนถา้ เป็นมาตรฐาน Serial ATA 1.0 จะมีความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู 150 / MB /s ซ่ึงมาตรฐานการทางานฮาร์ดดิสกด์ งั กล่าวมาน้นั จาเป็ นจะตอ้ งเลือกใหต้ รงกบั การสนบั สนุนโหมดการทางานของเมนบอร์ดที่ใชใ้ นการติดต้งั ดว้ ย3.3 ขนาดบฟั เฟอร์ของฮาร์ดดสิ ก์ สาหรับขนาดบฟั เฟอร์(Buffer) เป็นหน่วยความจาสาหรับพกั ขอ้ มลู ในช่วงระยะเวลาส้นั ๆ เพอื่ รอ ส่งขอ้ มลู ใหอ้ ุปกรณ์ท่ีติดตอ่ ดว้ ยตอ่ ไป เช่น แรม ถา้ ขนาดบฟั เฟอร์ขนาดใหญก่ ช็ ่วยให้หวั อ่านไมต่ อ้ งเสียเวลาอา่ นขอ้ มูลเดิมบอ่ ย ๆ เพราะวา่ เวลาที่ฮาร์ดดิสกอ์ ่านขอ้ มูลออกมา มนั จะเกบ็ ขอ้ มูลน้ีไวใ้ นบฟั เฟอร์ดว้ ย หากระบบตอ้ งการขอ้ มูลชุดน้ีอีก แรมจะสามารถดึงขอ้ มูลจากบฟั เฟอร์โดยตรง ปกติขนาดของบฟั เฟอร์ของ
ฮาร์ดดิสกจ์ ะมีขนาดต้งั แต่ 2 MB ไปจนถึง 8MB แตถ่ า้ เป็ นแบบ SCSI หรือ Serial ATA จะมีรุ่นบฟั เฟอร์ 8และ 16 MB ใหเ้ ลือกใชง้ าน แตถ่ า้ เป็นรุ่นที่มีความจุต้งั แต่ 300 GB ข้ึนไปจะมีบฟั เฟอร์อยทู่ ี่ 16 MB ท้งัหมดแลว้4. ซีดีไดรว์(CD-Drive) สาหรับซีดีไดรวท์ ่ีใชใ้ นการอ่านหรือบนั ทึกขอ้ มูลแผน่ ซีดีน้นั ในปัจจุบนั จะมีอยู่ 2 ประเภท คือไดรวท์ ่ีใชใ้ นการอ่านแผน่ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งเดียวเรียกวา่ CD-ROM และ ไดรวท์ ี่ใชใ้ นการอา่ นและเขียนได้เรียกวา่ CD-RW แต่ปัจจุบนั น้ีเร่ิมไดร้ ับความนิยมนอ้ ยลงเพราะขอ้ มลู มีขนาดใหญม่ ากข้ึน ส่วนแผน่ ที่ใช้บนั ทึกขอ้ มูลหรือแผน่ ซีดี ก็มีความจุขอ้ มูลอยรู่ ะหวา่ ง 650-800 MB จึงไม่สามารถที่จะรองรับขอั มลู ขนาดใหญ่ ๆ อยา่ งไฟลป์ ระเภทวิดีโอได้ หรือใชส้ าหรับที่จะเป็ นแผน่ ในการติดต้งั โปรแกรมขนาดใหญ่ เช่นWindows Vista กไ็ มส่ ามารถใชก้ บั แผน่ ซีดีไดแ้ ลว้ จะตอ้ งบนั ทึกลงบนแผน่ ดีวดีเทา่ น้นั เพราะสามารถรองรับความจุสูงต้งั แต่ 2.60 GBข้ึนไปดว้ ยเหตุน้ีไดรวป์ ระเภทดีวดิ ีจึงเริ่มเขา้ มาแทนที่4.1 ซีดีรอมไดรว์ (CD-ROM Drive) ซีดีรอมรอมไดรว(์ CD-ROM) ยอ่ มาจาก Compact Disc-Read Only Memory เป็นไดรวท์ ี่สามารถอา่ นแผน่ ซีดีไดอ้ ยา่ งเดียว ไม่สามารถบนั ทึกหรือเขียนขอ้ มลู ลงบนแผน่ ซีดีได้ การอา่ นแผน่ ซีดีจะใชว้ ธิ ียงิ ลาแสงเลเซอร์ขนาดจิ๋วไปตกกระทบลงบนแผน่ ซีดีแลว้ สะทอ้ นมาท่ีหวั อา่ น ซ่ึงปัจจุบนั น้ีซีดีรอมไดรว์จะมีความเร็วสูงสุดท่ี ประมาณ 52x ถึง 56x รูปที่ 4.8 ซีดีรอมไดรว์4.2 ซีดีอาร์ดบั บลวิ ไดรว์ (CD-RW Drive) ซีดีอาร์ดบั บลิวไดรว์ (CD-RW )ยอ่ มาจาก Compact Disc-ReWriteable เป็นไดรวท์ ี่สามารถเขียนขอ้ มลู และลบขอ้ มูลเก่าท่ีเขียนไวบ้ นแผน่ ซีดีได้ โดยแผน่ ซีดีท่ีใชเ้ ขียนบนั ทึกขอ้ มูลลงไปน้นั จะตอ้ งเป็นแผน่CD-R (เขียนเพมิ่ ไดจ้ นจะเตม็ ความจุแผน่ ) หรือ CD-RW (เขียนเพ่มิ เติมไดจ้ นเตม็ ความจุแผน่ และลบขอ้ มลูท้งั หมดไดแ้ ลว้ เขียนลงซ้าใหมไ่ ดป้ ระมาณ 1,000 คร้ัง)
รูปท่ี 4.9 ซีดีอาร์ดบั บลิวไดรว์5. ดีวดี ีไดรว์ (DVD Drive) ดีวดี ีไดรว(์ DVD มาจากคาวา่ Digital Video Disc ) เป็นการพฒั นาตอ่ เน่ืองจากซีดีรอมไดรว์คือ ช่วงแรกจะสามารถใชส้ าหรับอ่านแผน่ ดีวดี ีไดเ้ ทา่ น้นั เรียกวา่ DVD-ROM Drive ท่ีมีความสามารถในการอา่ นแผน่ ดีวดี ีได้ (ยงั สามารถใชแ้ ผน่ ซีดีปกติไดอ้ ยดู่ ว้ ย) ซ่ึงแผน่ ดีวีดีก็จะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั แผน่ ซีดีแต่จะมีความจุสูงกวา่ มาก คือสามารถจุไดถ้ ึง 4.7 GB ต่อดา้ น ซ่ึงแผน่ ซีดีมีความจุเพียง 650-700 MB เท่าน้นั ไดรวด์ ีวดี ีจะใชแ้ สงเลเซอร์ที่มีความถี่สูงกวา่ ที่ใชบ้ นไดรวซ์ ีดีมากในการอา่ นขอ้ มลู แต่จะหมุนดว้ ยความเร็วต่ากวา่ไดรวซ์ ีดีแต่แผน่ ดีวดี ีจะมีความหนาแน่นของขอ้ มลู มากกวา่ จึงทาใหส้ ามารถอา่ นขอ้ มูลไดม้ ากกวา่ ในเวลาท่ีเท่ากนั นอกจากน้นั แลว้ คุณภาพของแผน่ ดีวดี ีจะสูงกวา่ แผน่ ซีดีอีกดว้ ย ปัจจุบนั น้ีจะมีการผลิตออกมาหลายประเภท เช่น แบบอ่านแผน่ ไดอ้ ยา่ งเดียวและแบบท้งั อา่ นและเขียนไดด้ ว้ ย นอกน้นั ยงั มีไดรวด์ ีวดี ีท่ีกาลงั พฒั นาดา้ นอยแู่ ละเริ่มใชง้ านบา้ งแลว้ คือ ไดรว์ แบบ Blu-rayและ HD-DVD ซ่ึงจะรองรับการอา่ นแผน่ ท่ีมีความจุสูงกวา่ ดีวดี ี 3-5 เท่า แตร่ าคายงั คอ่ นขา้ งสูงมากท่ีเดียวส่วนใหญ่จะใชก้ บั อุปกรณ์สนบั สนุนดา้ นความบนั เทิงในรูปแบบ ตา่ ง ๆ เช่น เครื่องเล่นเกมส์ความเร็วสูงหรือชุดโฮมเธียร์เตอร์ เป็ นตน้ รูปที่ 4.10 ซีดีอาร์ดบั บลิวไดรว์5.1 ดวี ดี ีรอมไดรว์(DVD-ROM Drive) ดีวดี ีรอมไดรว(์ DVD-ROM Drive) จะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ซีดีรอมไดรว์ คือสามารถอ่านแผน่ ดีวดี ีและซีดีไดแ้ ต่ไม่สามารถเขียนแผน่ ขอ้ มูลลงบนแผน่ ดีวดี ีได้ นอกจากน้ียงั ใชม้ าตรฐานการเชื่อมต่อแบบเดียวกบัไดรวซ์ ีดีนน่ั เอง
รูปที่ 4.11 ดีวดี ีรอมไดรว์5.2 คอมโบไดรว์ (Combo Drive) คอมโบไดรว์ (Combo Drive) เป็นไดรวท์ ่ีรวมเอาความสามารถของซีดีอาร์ดบั บลิวไดรวแ์ ละดีวดี ีรอมไดรวม์ าไวด้ ว้ ยกนั คือสามารถอา่ นและเขียนแผน่ ซีดีได้ และสามารถอา่ นแผน่ ดีวดี ีไดอ้ ีกดว้ ยแต่ไม่สามารถเขียนแผน่ ดีวดี ีได้ ปัจจุบนั น้ีเป็นไดรวท์ ่ีไดร้ ับความนิยมในการติดต้งั แทนไดรวซ์ ีดีอาร์ดบั บลิวเพราะราคาแพงกวา่ ไม่มากนกั รูปที่ 4.12 คอมโบไดรว์5.3 ดีวดี ีอาร์ดับบลวิ ไดรว์ (DVD-RW Drive) ดีวดี ีอาร์ดบั บลิวไดรว์ (DVD-RW Drive) ก็คลา้ ยกบั ไดรวซ์ ีดีอาร์ดบั บลิวไดรว์ คือสามารถอา่ นและเขียนแผน่ ซีดีไดแ้ ลว้ ยงั อ่านเขียนแผน่ ดีวดี ีไดอ้ ีกดว้ ย คือรองรับอ่านเขียน แผน่ แบบ DVD-R และ แผน่แบบ DVD-RW ปัจจุบนั น้ีราคาจาหน่ายเริ่มถูกลง อนาคตอาจจะเป็นไดรวม์ าตรฐานท่ีติดต้งั มาพร้อมกบั ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทว่ั ไป รูปที่ 4.13 ดีวดี ีอาร์ดบั บลิวไดรว์
6. มาตรฐานการเชื่อมต่อของซีดแี ละดีวดี ไี ดรว์ สาหรับมาตรฐานการเชื่อมต่อของซีดีไดรวแ์ ละดีวีดีไดรวน์ ้นั จะใชร้ ูปแบบการเช่ือมต่อแบบเดียวกบั ฮาร์ดดิสก์ แบบมาตรฐาน IDE ท่ีติดต้งั ภายในตวั เคสแลว้ ยงั มีประเภทติดต้งั ภายนอกเคสอีกดว้ ยส่วนใหญใ่ ชเ้ ชื่อมต่อผา่ นพอรต์ USB สาหรับผทู้ ี่ตอ้ งการเคล่ือนยา้ ยไดรวบ์ ่อย ๆ6.1 ซีดีหรือดวี ดี ีไดรว์แบบติดต้งั ภายใน ไดรวซ์ ีดีและดีวีดีใชม้ าตรฐานการเช่ือมต่อแบบ IDE โดยใชส้ ายเชื่อมต่อกบั พอร์ต IDE ช่องที่ 2(Secondary IDE) เพื่อไมใ่ หไ้ ปชนกบั เส้นทาง การรับส่งขอ้ มูลของฮาร์ดดิสกท์ ี่นิยมตอ่ กบั พอร์ต IDE ช่องที่1 (Primary IDE) เพราะจะไปดึงการทางานของฮาร์ดดิสกต์ ่าลง แตห่ ากตอ้ งการต่อบนพอร์ตเดียวกนั กบัฮาร์ดดิสกแ์ ละใชส้ ายสญั ญาณเดียวกนั ก็สามารถกาหนดใหเ้ ป็นไดรวแ์ บบ Slave ก็ไดโ้ ดยการเซตจมั เปอร์ดา้ นหลงั ของซีดีไดรว์ รูปที่ 4.14 ซีดีหรือดีวดี ีไดรวแ์ บบติดต้งั ภายใน6.2 ซีดีหรือดีวดี ีไดรว์แบบติดต้งั ภายนอก สาหรับรูปแบบการติดต้งั ภายนอกของซีดีไดรวห์ รือดีวีดีไดรว์ จะใชพ้ อร์ต USB ที่สะดวกตอ่ การเชื่อมต่อและง่ายต่อการติดต้งั หรือเคลื่อนยา้ ย แต่ราคาอาจจะสูงกวา่ แบบติดต้งั ภายในอีกเทา่ ตวั รูปท่ี 4.15 ซีดีหรือดีวดี ีไดรวแ์ บบติดต้งั ภายนอก7. ส่วนประกอบของซีดหี รือดีวดี ีไดรว์ สาหรับส่วนประกอบของซีดีหรือดีวดี ีไดรวท์ ุกยหี่ อ้ น้นั จะมีรูปร่างลกั ษณะและส่วนประกอบภายนอกที่เหมือน ๆ กนั คือมีลกั ษณะเป็นกล่องโลหะสี่เหล่ียมสูงประมาณ 1.5 นิ้ว บริเวณแผงดา้ นหนา้ จะมีป่ ุมกด (Eject) สาหรับกดเพอ่ื ใหเ้ ล่ือนถาดเขา้ -ออก เพ่อื ใส่แผน่ หรือบางรุ่นจะมีป่ ุมสาหรับปรับระดบั เสียงและช่องเสียบหูฟัง
รูปที่ 4.16 ส่วนประกอบดา้ นหนา้ ซีดี/ดีวดี ีไดรว์ บริเวณดา้ นหลงั จะมีข้วั ตอ่ สาหรับเสียบสายสัญญาณ และ สายจ่ายไฟ ช่องเซตจมั เปอร์( ไวก้ าหนดตาแหน่งของไดรวก์ รณีที่ตอ้ งการตอ่ ไดรวเ์ ขา้ กบั เคร่ืองมากกวา่ 1 ตวั )และช่องเสียบสาย Audioเขา้ กบั การ์ดเสียง รูปท่ี 4.17 ส่วนประกอบดา้ นหลงั ซีดี/ดีวดี ีไดรว์ สาหรับโครงสร้างภายในน้นั จะประกอบดว้ ยหวั อ่านเขียนขอ้ มูลลงบนซีดีส่วนควบคุมการอา่ นเขียนมอเตอร์สาหรับหมุนจานแผน่ ซีดี และแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์สาหรับควบคุมการทางานท้งั หมด
8. คุณสมบตั ิต่าง ๆ ของซีดแี ละดีวดี ไี ดรว์ สาหรับไดร์วประเภทต่าง ๆ ของซีดีหรือดีวดี ีไดรวจ์ ะมีคุณสมบตั ิที่แตกต่างกนั ออกไป โดยถือวา่เป็นปัจจยั ที่ผใู้ ชต้ อ้ งการจะใชง้ าน ตอ้ งเลือกวา่ จะติดต้งั ไดรวซ์ ีดีหรือดีวดี ีแบบใด เพื่อใชง้ านตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ ซ่ึงส่วนใหญ่แลว้ จะระบุความเร็วในการเขียนแผน่ ซีดีท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป8.1 ความเร็วในการอ่านเขียนข้อมูล สาหรับความเร็วของไดรวป์ ระเภทตา่ ง ๆ น้นั จะมีการกาหนดวา่ สามารถอา่ นหรือเขียนแผน่ ซีดีหรือดีวดี ีไดเ้ ทา่ ไร ตามคุณสมบตั ิของไดรวน์ ้นั ดงั ต่อไปน้ี (1) ความเร็วของไดรว์ซีดีรอม สาหรับความเร็วของไดรวซ์ ีดีรอมน้นั มีการกาหนดคา่ เป็ นตวั เลขแลว้ ตามดว้ ย X ซ่ึงเป็นหน่วยความเร็วที่ใชใ้ นการอ่านหรือเขียนซีดี โดยเริ่มตน้ ที่ค่า 1X ซ่ึงหมายถึงอตั ราการถ่ายโอนขอ้ มูลขนาด150 KB/s (กิโลไบตต์ ่อวนิ าที) ซ่ึงมีการพฒั นาความเร็วในการอ่านแผน่ อยา่ งตอ่ เนื่อง ซ่ึงในปัจจุบนั จะมีไดรว์ที่อ่านแผน่ ซีดีไดด้ ว้ ยความเร็วถึง 58X – 60X เลยทีเดียว ดงั แสดงตามตารางตอ่ ไปน้ีตารางท่ี 4.1 ค่าความเร็วของซีดีไดรว์ความเร็วในการหมุนจานแผ่นซีดีของไดรวซ์ ีดี อตั ราการถ่ายโอนขอ้ มูล(KB/s) 1x 150KB/s 2x 300KB/s 8x 1,200KB/s 42x 6,300KB/s 52x 7,800KB/s 56x 8,400KB/s 60x 9,000KB/s แตส่ ่วนใหญ่แลว้ จะเลือกติดต้งั อยทู่ ่ี 52X กเ็ พยี งพอ เพราะความเร็วมาก อาจทาใหเ้ กิดปัญหากบั การอ่านแผน่ ซีดีซ่ึงแผน่ ซีดีอาจเกิดปัญหาแตกได้
(2) ความเร็วของไดรว์ซีดีอาร์ดบั บลวิ สาหรับความเร็วของไดรวซ์ ีดีอาร์ดบั บลิว ซ่ึงโดยปกติแลว้ จะมีการระบุความเร็วของไดรวเ์ ป็นตวั เลข ไว้ 3 ชุดคือ Ax Bx Cx โดยอกั ษรของ A B C จะแทนดว้ ยตวั เลข เพ่ือบง่ บอกถึงความเร็วที่ใชใ้ นการอ่านหรือเขียนแผน่ ซีดีดงั น้ี - Ax หมายถึง ความเร็วในการเขียนแผน่ ซีดีอาร์ (CD-R) ไดส้ ูงสุด - Bx หมายถึง ความเร็วในการเขียนแผน่ ซีดีอาร์ดบั บลิว(CD-RW) ไดส้ ูงสุด - Cx หมายถึง ความเร็วในการอา่ นแผน่ ซีดีไดด้ ว้ ยอตั ราเร็วสูงสุด ยกตวั อยา่ ง เช่น ไดรวซ์ ีดีอาร์ดบั บลิวความเร็ว 48x12x52x เมื่อแทนค่าแลว้ หมายความวา่ เคร่ืองอ่านเขียนซีดีเครื่องน้ีสามารถอา่ นเขียนขอ้ มลู ลงแผน่ CD-R ไดด้ ว้ ยอตั ราเร็ว 7200 KB/s (คานวณจาก 48 x150) และมีความสามารถเขียนขอ้ มลู ลงแผน่ CD-RW ไดด้ ว้ ยอตั ราเร็ว1800 KB/s (คานวณจาก 12x150) และอา่ นขอ้ มลูจากแผน่ ซีดีปกติไดด้ ว้ ยอตั ราเร็ว 7800 KB/s (คานวณจาก 52x150) ตามลาดบั (3) ความเร็วของไดรว์ดีวดี ีรอม สาหรับความเร็วของไดรวด์ ีวีดีจะแตกตา่ งไปจากซีดีไดรว์ เพราะวา่ แผน่ ดีวดี ีมีความจุของแผน่ สูงกวา่ แผน่ ซีดีจึงทาใหค้ วามเร็ว 1x ของแผน่ ดีวดี ีมีมากกวา่ ความเร็วในการหมุนของซีดีไดรว์ คือ ดีวดี ีไดรว์ 1xจะมีค่าเทา่ กบั 1,350 KB/s ดงั น้นั ไดรวด์ ีวดี ีที่มีความเร็วสูงสุดที่ 16 x จะสามารถอา่ นขอ้ มูลได้ สูงถึง 21,600KB/s ซ่ึงอ่านไดม้ ากกวา่ ไดรวซ์ ีดีมากเลยทีเดียวตารางท่ี4.2 คา่ ความเร็วของดีวดี ีไดรว์ความเร็วในการหมุนจานแผ่นซีดีของไดรวด์ ีวีดีรอม อตั ราการถ่ายโอนขอ้ มูล(KB/s) 1x 1,350KB/s 4x 5,400KB/s 8x 10,800KB/s 16x 21,600KB/ss8.2 ขนาดของบัฟเฟอร์ ในการเขียนขอ้ มลู ลงบนซีดีหรือดีวดี ีน้นั ฮาร์ดดิสกจ์ ะเป็ นอุปกรณ์ที่ส่งขอ้ มลู มาใหซ้ ีดีเขียน ซ่ึงการเขียนซีดีหรือดีวดี ีตอ้ งเขียนลงแผน่ ดงั กล่าวอยา่ งต่อเน่ือง ซ่ึงหากมีการเขียนหยุดลงโดยท่ียงั เขียนไม่เสร็จ ซีดีหรือดีวดี ีแผน่ น้นั อาจจะเสียหรือใชง้ านต่อไปไมไ่ ด้ สาหรับการอ่านขอ้ มูลของอาร์ดดิสกเ์ พ่ือส่งมาใหเ้ ขียนลงแผน่ น้นั อาจจะชา้ หรือเร็วก็ข้ึนอยกู่ บั กระจาย(Fragment)ของไฟลน์ ้นั ๆ และระยะห่างของตาแหน่งไฟล์ที่จดั เกบ็ อยบู่ นอาร์ดดิสก์ จึงทาใหอ้ ตั ราการอา่ นขอ้ มูลของฮาร์ดดิสกก์ ็ลดลงไปดว้ ย ดงั น้นั เพื่อเป็นการช่วยใหส้ ามารถเขียนขอ้ มลู ลงแผน่ อยา่ งต่อเน่ืองตามอตั ราความเร็วซีดีไดรวห์ รือดีวดี ีไดรว์ จึงทาใหผ้ ผู้ ลิตไดใ้ ส่หน่วยความจาท่ีเรียกวา่ บฟั เฟอร์ เขา้ ไปไวใ้ นไดรวส์ าหรับเขียนแผน่ ซีดีหรือดีวีดีดว้ ย เพอ่ื ช่วยแกป้ ัญหาดงั กล่าว
ซ่ึงส่วนใหญ่แลว้ บฟั เฟอร์ที่นามาติดต้งั อยใู่ นไดรวจ์ ะมีค่าประมาณ 2MB – 8MB ซ่ึงหากคา่ ของบฟั เฟอร์มากก็ยงิ่ ดีเพราะจะทาใหก้ ารอา่ นขอ้ มูลจากฮาร์ดดิสกม์ ารอสาหรับการเขียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพสาหรับบางคร้ังฮาร์ดดิสกไ์ มส่ ามารถส่งขอ้ มลู ไปใหก้ บั บฟั เฟอร์ไดท้ นั และขอ้ มลู ในบฟั เฟอร์ถูกเขียนหมดแลว้ ทาใหไ้ ดร์วหยดุ การเขียนแผน่ ชว่ั คราวหรือไม่สามารถเขียนต่อไปได้ เราเรียกปัญหาน้ีวา่“บฟั เฟอร์อนั เดอร์รัน” (Buffer Under Run) จึงมีไดม้ ีการนาเทคโนโลที่ส่งั ใหเ้ ลเซอร์หยดุ เขียนแผน่ ซีดีหรือดีวดี ีเขา้ มาใชก้ บั ไดรวข์ องแต่ละบริษทั เพอ่ื แกป้ ัญหาดงั กล่าว อาจเรียกแตกตา่ งกนั ออกไป เช่น BURN-Proof,Just Link หรือ Flextra Link เป็นตน้9.ฟลอ็ ปปี้ ดิสก์ไดรว์ สาหรับ ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ (Floppy Disk Drive) เป็นอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการบนั ทึกขอ้ มลู ลงแผน่ดิสกเ์ กต็ (Diskette) และใชอ้ า่ นขอ้ มลู จากแผน่ ดิสกเ์ ก็ตออกมาใชง้ าน ซ่ึงในปัจจุบนั น้ีส่วนใหญ่แลว้ จะใช้กบั แผน่ ดิสกเ์ กต็ ขนาด 3.5 นิ้วที่มีความจุต่อหน่ึงแผน่ ท่ี 1.44 MB ติดต้งั อยกู่ บั เครื่องคอมพิวเตอร์ บางคร้ังมกั เรียกวา่ “ไดรว์ A “ ซ่ึงควรจะมีไวส้ าหรับใชใ้ นการบนั ทึกไฟลข์ นาดเลก็ ท่ีมีขนาดประมาณไมเ่ กิน 1 MBออกจากเคร่ือง เพือ่ นาไปใชง้ านหรือปรับปรุงขอ้ มลู ตอ่ กบั คอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืนไดส้ ะดวก และง่ายตอ่ การพกพา รูปท่ี4.18 ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์9.1 ส่วนประกอบของฟล๊อปปี้ ดิสก์ไดรว์ สาหรับส่วนประกอบของฟล๊อปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ จะมีความคลา้ ยคลึงกบั ฮาร์ดดิสกไ์ ดรวห์ รือซีดีไดรว์คือทางดา้ นหลงั ของไดรว์ จะมีข้วั ตอ่ สายสัญญาณขอ้ มลู เพอ่ื ใชส้ าหรับเช่ือมต่อจากตวั ดิสกไ์ ดรวไ์ ปยงั พอร์ตFDD ท่ีอยบู่ นเมนบอร์ดและข้วั ตอ่ สายไฟเล้ียงจาก Power Supply รูปท่ี 4.19 ดา้ นหลงั ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์
ส่วนดา้ นหนา้ ของฟล๊อปป้ี ดิสกไ์ ดรวน์ ้นั จะมีช่องสาหรับใส่แผน่ ดิสกเ์ กต็ และป่ ุมสาหรับกดเพ่ือให้ แผน่ ดิสกเ์ กต็ ออกจากไดรว์ และไฟแสดงสถานการณ์ทางานของไดรว์ ดงั รูป รูปที่ 4.20 ดา้ นหนา้ ของฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ ส่วนโครงสร้างภายในของฟล๊อปป้ี ดิสกไ์ ดรวน์ ้นั จะมีส่วนประกอบท่ีสาคญั ๆ ไดแ้ ก่ หวั อ่านและ เขียนขอ้ มูลลงบนแผน่ ดิสก์ มีอยดู่ ว้ ยกนั 2 หวั คือ ดา้ นบนและดา้ นล่างของจานแผน่ ดิสก์ ส่วน ควบคุม ตวั อา่ นเขียนมอเตอร์สาหรับหมุนดิสกข์ อ้ มลู ที่อยภู่ ายในแผน่ ฟล๊อปป้ี ดิสก์ และแผงวงจรควบคุมการ ทางาน รูปที่ 4.21 โครงสร้างภายในของฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดร์ว9.2 การเช่ือมต่อของฟลอ็ ปปี้ ดสิ ก์ไดรว์ สาหรับฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรวน์ ้นั จะใชส้ ายสัญญาณเช่ือมต่อจากช่องข้วั ต่อที่อยดู่ า้ นหลงั ของไดรว์เป็นช่องข้วั ต่อต่อสายสัญญาณแบบ 34 ขา (PIN) ตอ่ จากช่องดงั กล่าวไปยงั ช่องตอ่ แบบ FDD ที่อยบู่ นเมนบอร์ด หรือ FDC ท่ีมีจานวนขาพนิ เท่ากนั คือ 34 ขา โดยทว่ั ไปแลว้ บนเมนบอร์ดจะมีช่องต่อแบบน้ีเพียงช่องหรือข้วั ตอ่ เดียวเท่าน้นั มกั อยใู่ กลก้ บั ช่องตอ่ IDE แต่ถึงจะมีช่องต่อ 1 ช่องต่อกต็ าม เราสามารถติดต้งั ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรวไ์ ด้ 2 ตวั เพียงแต่ใชส้ ญั ญาณเชื่อมต่อท่ีเป็ นแบบมี 2 จุดเช่ือมต่อที่อยบู่ นเส้นของสายสัญญาณเดียวกนั เท่าน้นั เอง
รูปที่ 4.22 การเช่ือมต่อของฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์10.อปุ กรณ์ทใ่ี ช้เกบ็ ข้อมูลแบบอนื่ ๆ นอกจาก ฮาร์ดดิสกไ์ ดรว์ ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ และซีดีหรือดีวดี ีไดรวแ์ บบตา่ ง ๆ ซ่ึงถือวา่ เป็น อุปกรณ์หลกั ๆ ที่ใชส้ าหรับเก็บหรือบนั ทึกขอ้ มลู ท่ีนิยมติดต้งั ไวกบั เครื่องคอมพวิ เตอร์แลว้ ยงั มีอุปกรณ์ท่ีถูกพฒั นาออกมาใชเ้ ก็บขอ้ มูลไดอ้ ีกอยา่ งหลากหลาย เช่น Zip Drive, Super Disk Drive ,Thumb Drive ,Handy Driveหรือ Pen Drive เป็นตน้ ซ่ึงต่างก็มีความสามารถและขนาดของการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ไดแ้ ตกต่างกนั ออกไปส่วนใหญแ่ ลว้ จะมีขนาดของความจุมากกวา่ แผน่ ดิสกเ์ ก็ต ซ่ึงปัจจุบนั อุปกรณ์ดงั กล่าวไดพ้ ฒั นาความจุมากกวา่ แผน่ ซีดีหรือเทา่ กบั แผน่ ดีวดี ีแลว้ ก็มี และกาลงั เป็นท่ีนิยมในปัจจุบนั เพราะติดต้งั ใชง้ านก็ง่ายราคาก็ค่อนขา้ งถูกลงแลว้ และพกพาสะดวกดว้ ย10.1 Zip Drive เป็นอุปกรณ์ใชง้ านคลา้ ยกบั ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรว์ แต่จะแตกตา่ งกนั ในเรื่องของแผน่ บนั ทึกขอ้ มูลที่มีความสามารถในการบนั ทึกขอ้ มูลที่มีขนาดใหญ่กวา่ หรือจุกวา่ น้นั เอง คือมีขนาดตา่ ง ๆ ดงั น้ี 100MB ,250MB และ 750 MB ( ซ่ึงแผน่ ขอ้ มลู ดงั กล่าวไมส่ ามารถนาไปใชง้ านร่วมกบั ฟลอ็ ปป้ี ดิสกไ์ ดรวไ์ ด)้ ส่วนใหญ่แลว้Zip Drive นิยมใชแ้ บบติดต้งั ภายนอกผา่ นทาง พอร์ต USB เวลาใชง้ านตอ้ งลงโปรแกรมไดรวเ์ วอร์ ZipDrive ก่อนเพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านได้ รูปที่ 4.23 Zip Drive
10.2 Super Disk Drive เป็นอุปกรณ์ใชจ้ ดั เกบ็ ขอ้ มลู ที่คลา้ ยกบั Zip Drive แตส่ ามารถใชก้ บั แผน่ ฟล็อปป้ี ดิสก์หรือดิสกเ์ กต็ไดด้ ว้ ย เพราะแผน่ บนั ทึกขอ้ มูลของ Super Disk Drive จะมีขนาด 3.5 นิ้วเท่ากนั แตจ่ ะมีความสามารถในการอา่ นแผน่ บนั ทึกขอ้ มลู ท่ีมีความจุสูงถึง 120 MB ส่วนการเช่ือมต่อสาหรับใชง้ านน้นั จะมีใหเ้ ลือกท้งั แบบIDE , แบบ SCSI ,แบบต่อผา่ น พอร์ต Parallelหรือแบบพอร์ต USB แตป่ ัจจุบนั น้ีเริ่มไมเ่ ป็นท่ีนิยมแลว้เพราะราคาค่อนขา้ งสูงเมื่อเทียบกบั อุปกรณ์บนั ทึกขอ้ มูลแบบใหม่ ๆ อยา่ งเช่น Flash Drive เป็นตน้ รูปท่ี 4.24 Super Disk Drive10.3 Thumb Drive ,Flex Drive เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู ในปัจจุบนั เพราะไมต่ อ้ งมีตวั ไดรวท์ ี่ใชส้ าหรับอ่านหรือบนั ทึกขอ้ มลู เหมือนไดรวป์ ระเภทอื่น ๆ ส่วนการใชง้ านก็สะดวกมากเพยี งแต่นาไปเชื่อมต่อกบั พอร์ตของคอมพวิ เตอร์ไดท้ นั ที ซ่ึงส่วนใหญจ่ ะเชื่อมต่อกบั พอร์ต USB ปัจจุบนั น้ี Thumb Drive มีการพมั นาความจุสูงถึง 4 GB เหมาะสาหรับใชใ้ นการบนั ทึกไฟลห์ รือขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ๆ ไดแ้ ละสะดวกต่อการเคลื่อนยา้ ยหรือนาไปติดต้งั ใชง้ านร่วมกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่น ๆ รูปที่ 4.25 Thumb Drive ,Flex Drive10.4 Pen Drive ส่วน Pen Drive ก็จะมีลกั ษณะเหมือนปากกา ลกั ษณะการบนั ทึกขอ้ มูลก็คลา้ ยกนั กบั Thumb Driveแต่ จะมีฝาเลื่อนปิ ดช่องพอร์ตของ USB เวลาใชง้ านกใ็ ชเ้ ชื่อมต่อกบั พอร์ต USB เหมือนกนั ดงั รูป รูปที่ 4.26 Pen Drive
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: