การใชก้ ารสอนแบบแบบบูรณาการเนือ้ หาและภาษา การสอนแบบโครงงาน การสอนแบบบูรณาการเทคโนโลยใี นการสอนเนอื้ หาวิชาเฉพาะ การสอนโดยใชช้ ุมชนเป็น ฐาน เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการเรยี นการสอนรายวชิ าคอมพวิ เตอร์สาหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 Using CLIL, Project Based Learning, Technological Pedagogical and Content Knowledge, Project Community-based Learning to Increase Efficiency in Computer Subjects for Students of Mathayomsuksa 1 ตรีทพิ พา แกว้ หานาม Treetippa Kaewhanam บทคัดยอ่ บทความนเ้ี ปน็ การรายงานการเรยี นการสอนรายวชิ าคอมพิวเตอร์ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โดยใช้การสอนแบบผสมผสานระหว่างการสอนแบบบรู ณาการเนอื้ หาและภาษา การสอนแบบ โครงงานเป็นฐาน การสอนแบบบรู ณาการเทคโนโลยีในการสอนเน้อื หาวิชาเฉพาะ และ การสอน แบบชมุ ชนเปน็ ฐาน ซง่ึ ในบทความนปี้ ระกอบดว้ ย บทนา การสอนแบบบรู ณาการเนอื้ หาและ ภาษา การสอนแบบโครงงานเปน็ ฐาน การสอนแบบบูรณาการเทคโนโลยใี นการสอนเน้ือหาวชิ า เฉพาะ และการสอนแบบชุมชนเป็นฐาน รูปแบบการสอน CLIL+PBL+CBL+TPACK และ แผนการเรยี นรู้ คาสาคัญ : การสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา , การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน, การสอนแบบบรู ณาการเทคโนโลยีในการสอนเนื้อหาวชิ าเฉพาะ ,การสอนแบบชุมชนเปน็ ฐาน Abstract The article is report learning in Computer subject for students of Mathayomsuksa 1. Using the integration of CLIL (Content and Language Integrated Learning), PBL (Project-based Learning), TPACK (Technological Pedagogical and Content Knowledge) and CBL (Community-based learning). This report contains introduction, Content and Language Integrated Learning, Project-based Learning, TPACK, Community-based learning, Teaching model CLIL+PBL+CBL+TPACK Model and lesson plans
Key Word: Content and Language Integrated Learning (CLIL), Project-Based Learning (PBL), Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK), Community Based Learning (CBL), ภมู ิหลัง การเปลย่ี นแปลงของสภาพสังคมในปัจจุบนั ได้เขา้ สศู่ ตวรรษท่ี 21 ซ่งึ เปน็ ยคุ ทีว่ ทิ ยาศาสตร์ ความรู้วิทยาการใหม่ๆ และเทคโนโลยมี กี ารพัฒนาอยา่ งรวดเรว็ เกดิ การค้นพบองค์ความูรใ้ หม่ ตลอดเวลาต่อเน่ืองในลักษณะทวคี ณู หรอื เรียกไดว้ า่ เป็น “สงั คมแหง่ ความรู้” ดงั น้ันเพื่อให้ สอดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ น้ี การเตรียมความพร้อมทางการศึกษาตอ้ งมี การปรบั เปล่ียนใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพสังคมในปจั จุบนั โดยมุ่งให้ความสาคัญกับการพฒั นาคน และสงั คม โดยการพัฒนาคนใหม้ คี ณุ ลกั ษณะตามท่สี ังคมตอ้ งการ เพือ่ ใหค้ นเปน็ ปัจจัยในการ พฒั นาสังคมตอ่ ไป และมที กั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 คอื สามารถดารงชวี ติ ในสถานการณโ์ ลก ปจั จบุ ันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพท่ามกลางสังคมทเ่ี จรญิ เติบโตทง้ั โลกแห่งความเปน็ จรงิ และโลก เสมือนในสังคมออนไลน์ นั่นก็คอื ทักษะ 3R8C ซง่ึ 3R คือ Reading (อา่ นออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คดิ เลขเป็น) และ8C คือ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การคิดอยา่ งมี วจิ ารณญาณ (Critical thinking and problem solving) การคดิ อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละคิดเชิง นวตั กรรม (Creativity and innovation) ความเข้าใจในความแตกต่างของวฒั นธรรมและ กระบวนการคิดข้ามวฒั นธรรม (Cross-cultural understanding) การทางานเปน็ ทีม และภาวะ ความเปน็ (Collaboration teamwork and leadership) ทักษะในการส่ือสารและการรู้เทา่ ทัน ส่ือ (Communication information and media literacy) ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอรแ์ ละรเู้ ท่า ทนั เทคโนโลยี (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละรเู้ ท่าทันเทคโนโลยี) ทักษะอาชีพและการเรียนรู้ (Career and learning skills ) และความเมตตากรุณา มีคุณธรรม และมรี ะเบยี บวินยั (Compassion) รวมทงั้ การจัดการศึกษาทส่ี อดคล้องกับแนวคดิ ประเทศไทย 4.0 และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ทม่ี ุ่งสง่ เสรมิ 5 กล่มุ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเปา้ หมาย ประกอบด้วย กลุ่มอาหารเกษตร และเทคโนโลยชี ีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) กลุม่ สาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยที างการแพทย์
(Health, Wellness & Bio-Med) กลุ่มเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์อัจฉรยิ ะ หนุ่ ยนต์ และระบบเคร่ืองกล ท่ีใช้ระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ควบคมุ (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) และ กล่มุ ดิจติ อล เทคโนโลยีอนิ เตอร์เนต็ ทเ่ี ช่ือมตอ่ และบังคบั อุปกรณ์ต่าง ๆ ปัญญาประดิษฐ์และ เทคโนโลยสี มองกลฝงั ตวั (Digital, IOT, Artificial intelligence & Embedded Technology) จากสภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว การจัดการศกึ ษารายวชิ าคอมพิวเตอร์ ในสาระ เทคโนโลยี จึงได้กาหนดเปา้ หมายใหน้ กั เรียนเข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พื่อการดารงชีวติ ในสงั คมที่มีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่นื ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรอื พฒั นางานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการ ออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สังคม และสิ่งแวดล้อม เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็น ขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้การทางาน และการ แก้ปัญหาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจริยธรรม (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2560 : 5) การจัดการเรียนการสอนตามแนวการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการเนือ้ หาและภาษา (Content and Language Integrated Learning : CLIL) เป็นวธิ กี ารสอนสองภาษาโดยใช้ ภาษาต่างประเทศในการเรยี นรู้เนอื้ หาและภาษาไปพร้อมกัน เป็นการผสมผสานกันระหว่าง กระบวนการสอนภาษาและการสอนเนอื้ หาวิชาซ่งึ เน้ือหาจะนาไปสู่การพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะทางภาษาทส่ี อดคล้องกับบริบทของโรงเรียน โดยกระบวนการสอนภาษาจะนาไปสู่ จดุ ม่งุ หมาย 4 ด้าน (Do Coyle and others, 2011) คอื 1) ด้านเนอ้ื หา (Content) 2) ดา้ น ความรู้ความเข้าใจ (Cognitive) 3) ดา้ นการส่ือสาร (Communication) และ4) ด้านวฒั นธรรม (Culture) เน่ืองจากการจัดการเรียนการสอนตามแนวการเรียนรูแ้ บบบูรณาการเนือ้ หาและภาษา จะตอ้ งมีการบรู ณาการเน้ือหาและภาษาองั กฤษเขา้ ดว้ ยกนั ผวู้ ิจัยจงึ สนใจท่ีจะนาเนอ้ื หาเกี่ยวกบั แหล่งท่องเท่ียวในท้องถน่ิ มาบูรณาการกับภาษาองั กฤษ สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญัติ การศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ.2542 มาตราท่ี 27 วรรค 2 ทว่ี า่ “ใหส้ ถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีหน้าทจ่ี ัดทาสาระของ หลักสตู รตามวตั ถุประสงคใ์ นวรรคหนง่ึ ในส่วนทีเ่ กย่ี วกับสภาพปัญหาในชมุ ชนและสังคม ภูมิ ปญั ญาท้องถิ่น คุณลกั ษณะอันพึงประสงคเ์ พ่ือเป็นสมาชิกท่ดี ขี องครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ” และ มาตราที่ 29 ท่ีวา่ “ใหส้ ถานศึกษาร่วมกบั บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก์ ร ชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบนั สังคมอื่น สง่ เสริมความเขม้ แข็งของชมุ ชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ ภายในชมุ ชน เพอื่ ให้ชมุ ชนมีการจดั การศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร และ รูจ้ กั เลอื กสรรภูมปิ ัญญาและวิทยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหส้ อดคล้องกับสภาพปญั หาและ ความตอ้ งการ รวมท้งั หาวธิ ีการสนบั สนนุ ใหม้ ีการแลกเปลยี่ นประสบการณ์การพัฒนาระหวา่ ง ชมุ ชน” ลักษณะสาคญั ของการบูรณาการ ผลการจดั หลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ ถา้ สามารถดาเนนิ ไดอ้ ย่าง สมบูรณแ์ ล้วก็ควรจะมีลกั ษณะโดยรวมดงั ตอ่ ไปน้ี (ธารง บวั ศรี : 2532 ) 1.เป็นการบรู ณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้ เพราะในปจั จุบนั นป้ี ริมาณของ ความรู้มมี ากขึ้นเป็นทวคี ูณ รวมทงั้ มีความสลับซับซ้อนมากขึ้นเปน็ ลาดบั การเรียนการสอนด้วย วธิ ีการเดิม อาทิ การบอกเล่า การบรรยายและการท่องจา อาจจะไม่เพียงพอทีจ่ ะก่อให้เกิดการ เรียนรทู้ ี่มีประสิทธิภาพได้ ผู้เรยี นควรจะเป็นผู้สารวจความสนใจของตนเองว่าในองค์ความรู้ หลายหลากนน้ั อะไรคือสิ่งท่ีตนเองสนใจอยา่ งแทจ้ ริง ตนควรแสวงหาความรูเ้ พ่ือตอบสนอง ความสนใจเหล่านน้ั ได้อย่างไร เพยี งใด ดว้ ยกระบวนการเชน่ ไร ซงึ่ แนน่ อนว่า กระบวนการ เรียนการสอนลักษณะนย้ี อ่ มข้ึนอยู่กับความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (Individual Differences) ไม่ใชน่ อ้ ย 2.เป็นการบรู ณาการระหว่างพัฒนาการความรแู้ ละพฒั นาการทางจิตใจ นน่ั คอื ให้ความสาคัญ แก่ จติ พสิ ยั คอื เจตคติ คา่ นิยม ความสนใจ และสนุ ทรยี ภาพ แก่ผูเ้ รยี นในการแสวงหาความรู้ ด้วย ไมใ่ ชเ่ นน้ แต่เพียงองคค์ วามรูห้ รอื พทุ ธิพิสัยแต่เพยี งอย่างเดียว อนั ท่ีจริงการทาให้ผเู้ รยี น เกดิ ความซาบซ้งึ ข้ึนเสียกอ่ นท่ีจะได้ลงมอื ศึกษาน้ัน นบั ไดว้ ่าเปน็ ยุทธศาสตรท์ ่ีสาคัญยงิ่ สาหรบั จงู ใจใหเ้ กิดการเรยี นรขู้ ึน้ ท้ังแก่ผู้สอนและผเู้ รยี น 3.บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทาในขอ้ น้ีก็มีนัยแห่งความสาคัญและความสมั พันธ์ เชน่ เดยี วกับทไ่ี ด้กลา่ วไว้แลว้ ในขอ้ สอง เพยี งแตเ่ ปลยี่ น จติ พสิ ยั เป็นทักษะพสิ ยั เท่าน้ัน 4.บูรณาการระหว่างสง่ิ ที่เรียนในโรงเรียนกับสิง่ ที่เปน็ อยู่ในชวี ติ ประจาวนั ของผูเ้ รยี น คอื การตระหนักถงึ ความสาคญั แหง่ คณุ ภาพชีวติ ของผูเ้ รยี นวา่ เม่ือไดผ้ ่านกระบวนการเรียนการสอน
ตามหลักสตู รแล้ว สงิ่ ท่ีเรียนทีส่ อนในห้องเรียนจะต้องมีความหมายและมีคุณคา่ ต่อชีวติ ของ ผเู้ รียนอยา่ งแท้จริง 5.บรู ณาการระหวา่ งวชิ าตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ เจตคตแิ ละการกระทาทีเ่ หมาะสมกับ ความต้องการและความสนใจของผ้เู รียนอย่างแทจ้ ริง ตอบสนองต่อคณุ ค่าในการดารงชีวติ ของ ผเู้ รยี นแตล่ ะคน การบรู ณาการความร้ขู องวิชาตา่ ง ๆ เข้าด้วยกนั เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ หรือเพ่ือตอบปญั หาท่ผี ้เู รยี นสนใจจึงเป็นขั้นตอนสาคัญทีค่ วรจะกระทาในขั้นตอนของบรู ณาการ หลกั สตู รและการเรียนการสอนเป็นอย่างยง่ิ การสอนแบบโครงงานเปน็ ฐาน การสอนแบบโครงงานเป็นการจดั การเรียนการสอนแบบหนงึ่ ทสี่ อดคลอง้ กบแั นวทางการจดั การศกึ ษาตามมาตรา 22 และ มาตรา 23 และใช้พัฒนาวธิ กี ารเรยี นรทู้ างปัญญา (Intellectual strategy) เพื่อเอื้อหนนุ ผูเ้ รยี นให้เข้าถึงตวั ความรู้ (Body of Knowledge)และความชานาญ ทางด้านทักษะในสิง่ ที่เรยี น(Body of Process) เพราะเป็นการสอนที่มุง่ ใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรดู้ ้วย ตนเอง สามารถคดิ วิเคราะหอ์ ย่างมเี หตุผล มีกระบวนการทางานและทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนไดโ้ ดยมี ครเู ป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนา และกระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียนได้เรยี นร้เู ตม็ ศกั ยภาพ การจัดการเรยี นการสอนแบบโครงงาน คือ การจดั การสอนทจ่ี ดั ประสบการณ์ในการ ปฏบิ ัติงานให้แก่ผ้เู รียนเหมือนกับการทางานในชวี ิตจรงิ อย่างมีระบบ เพือ่ เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้มี ประสบการณ์ตรง ไดเ้ รยี นร้วู ิธีการแกป้ ัญหา วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ไดท้ าการทดลองได้พสิ จู น์ สงิ่ ตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง รูจ้ กั การวางแผนการทางาน ฝกึ การเปน็ ผู้นา ผตู้ าม ตลอดจนได้พฒั นา กระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขนั้ สูง(Higher Order Thinking) และการประเมนิ ตนเอง โดยยมขี ัน้ ตอนการดาเนินโครงงาน ไดแ้ ก่ 1. การคิดและเลอื กหวั เร่ือง 2. การวางแผน 3. การดาเนินงาน 4. การเขยี นรายงาน 5. การนาเสนอผลงาน การสอนแบบชุมชนเปน็ ฐาน การเรียนรแู้ บบใชช้ มุ ชนเป็นฐานการเรยี นรู้ Community Based Learning (CBL) คอื การจัดการ เรียนการสอนโดยใชช้ ุมชนเป็นฐานการเรยี นรู้ เป็นรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนท่ี เนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้เกดิ การเรยี นร้จู ากการไดป้ ฏบิ ตั งิ านจากสถานการณจ์ ริงของชมุ ชน community – based learning คอื การเรยี นรู้ จากชมุ ชน เชน่ การไปศึกษาเร่ืองประวัตศิ าสตร์, วัฒนธรรม,
การทามาหากิน, หัตถกรรม, การศึกษาพยาบาล แบบพ้ืนบ้าน จากบคุ คล และองค์กรในชมุ ชน นอกเหนือไปจากการเรยี นในโรงเรยี น วัตถุประสงค์ของการจดั การเรียนรแู้ บบชมุ ชนเป็นฐาน (Community Based Learning : CBL) 1. เพอื่ ให้นักเรยี นสามารถทางานได้กับทุกภาคส่วนในสังคม 2. เพอ่ื ให้นักเรียนเกดิ การหย่งั รู้ในโลกของความเปน็ จริงมากขนึ้ เข้าใจการปฏบิ ตั ิงานของ บุคคลทีม่ ีต่อ สงั คม และการเมอื งมากข้นึ 3. เพ่ือใหน้ ักเรยี นมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมมากขึน้ 4. เพื่อให้นักเรียนสามารถเขา้ ใจกระบวนการเรียนรู้ 5. เพื่อใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นร้เู ก่ยี วกับประเด็นปัญหาสงั คมที่มีความซับซอ้ น เรียนรู้ วฒั นธรรมสาหรับการปฏบิ ัตงิ าน และสามารถปฏบิ ตั ิงานได้ 6. เพ่ือพัฒนาทักษะทางวชิ าชีพ ทักษะทางสงั คม และความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมให้กับ นกั เรียน Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) ความรูด้ า้ นการบรู ณาการเทคโนโลยีในการสอนเนื้อหาวิชาเฉพาะ (TPACK) เป็นกรอบ แนวคดิ ท่ี พยายามชใี้ หเ้ ห็นถึงธรรมชาติขององค์ความรทู้ ผ่ี สู้ อนตอ้ งมีในการผสานเทคโนโลยีเขา้ กับการสอน ซึ่งเปน็ การ ต่อยอดจากแนวคดิ ของชูลแมน (Lee Shulman, 1987) เร่ืองความรู้ ดา้ นการบูรณาการการสอนเนื้อหาเฉพาะ (Pedagogical Content Knowledge – PCK) โดย กรอบแนวคิดน้มี จี ดุ เร่มิ ตน้ มาจากการศึกษาวิจัยระยะยาว เก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงในองค์ความรู้ เรอื่ งเนอื้ หาวชิ าเฉพาะของครูในระดับมัธยมศกึ ษา การวิจัยนี้ชใ้ี ห้เหน็ วา่ ความรดู้ า้ นเนื้อหาเป็น ผลลัพธจ์ ากการวางแผนการสอนและการทาการสอนเนื้อหาเฉพาะตามแผนการน้นั ซ่งึ เป็นไปตาม ภาษติ ท่วี ่า หากต้องการจะเรียนรูอ้ ะไรใหถ้ ่องแท้กจ็ งลองสอนผอู้ ื่นให้ได้ สว่ นความร้ดู า้ นการสอน นัน้ หมายถึงความรู้ในการนาเสนอ อธิบาย แสดงตัวอย่าง เปรยี บเทียบ หรอื สาธิตเนือ้ หาอย่างใด อย่างหนึ่งให้ ผู้อ่ืนสามารถเขา้ ใจได้ง่าย ในเมือ่ ไม่มวี ิธีการสอนหนงึ่ ใดทีเ่ ขา้ ใจงา่ ยที่สุด ผสู้ อน จาเป็นจะตอ้ งมวี ิธกี ารนาเสนอท่ี หลากหลายซงึ่ เปน็ เปล่ียนแปลงไปตามบริบทของเน้ือหาและ ธรรมชาตขิ องผ้เู รียน รปู แบบการสอน CLIL+PBL+CBL+TPACK (CLIL+PBL+CBL+TPACK Model) 1. แนวคิดของรูปแบบ
รปู แบบการสอน CLIL+PBL+CBL+TPACK มีแนวคดิ คอื การสอนเน้อื หาโดยใช้ ภาษาองั กฤษท่เี น้นใหผ้ เู้ รียนไดล้ งมือทากจิ กรรมโครงงานที่เชื่อมโยงสู่ชมุ ชนและผสู้ อนต้องใช้ TPACK เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ องคป์ ระกอบของรปู แบบ ประกอบด้วย 4 แนวคิดหลักได้แก่การสอนแบบบรู ณาการเน้ือหาและภาษา การสอนแบบ โครงงานเปน็ ฐาน การสอนแบบชมุ ชนเป็นฐาน และ TPACK 2. วตั ถุประสงค์ของรูปแบบ 2.1 ผ้สู อนสามารถสอนเนอื้ หาวิชาเปน็ ภาษาองั กฤษ 2.2 ผเู้ รยี นได้เรยี นรเู้ น้อื หาวิชาเป็นภาษาอังกฤษ 2.3 ผสู้ อนสามารถออกแบบกิจกรรมให้ผูเ้ รียนไดป้ ฏิบัตจิ รงิ เป็นการส่งเสรมิ ทักษะการคิด 2.4 ผู้สอนสามารถใช้ TPACK ในการจัดการเรียนรเู้ พื่อชว่ ยกระตุน้ และสรา้ งแรงจงู ใจให้ ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ 2.5 ผสู้ อนสามารถออกแบบการเรยี นรเู้ ช่อื มโยงส่ชู มุ ชนซ่ึงเป็นการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน ตระหนกั ในการเป็นเจา้ ของชุมชน นาความรมู้ าใช้ให้เกิดประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน 3. กระบวนการเรยี นการสอนของรูปแบบ กระบวนการเรียนการสอนยึดตามกระบวนการสอน CLIL ประกอบดว้ ย 4 C ได้แก่ Content (เนือ้ หา) Communication (การสื่อสาร) Cognition (การคิด) และ Culture (วฒั นธรรม) จาก 4 C นามาจัดกระบวนการสอนดงั นี้ 3.1 Content and Communication เปน็ กระบวนการจัดการเรียนรู้ทีม่ จี ดุ ประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้เนื้อหาวชิ าใดวิชาหนึง่ ไปพร้อมกับการใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสาร ฟัง พดู อ่าน หรอื เขยี น โดยผูส้ อนใช้ TPACK เพื่อชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้เนื้อหาและเกดิ ทักษะทาง ภาษา 3.2 Cognition and Culture เป็นกระบวนการจัดการเรียนรทู้ ม่ี ีจดุ ประสงคเ์ พ่ือให้ผ้เู รยี น ไดเ้ กิดทกั ษะการคิดและตระหนักในการเป็นเจ้าของชุมชน นาความรมู้ าใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อ ชมุ ชนโดยผสู้ อนใช้ TPACK การเรยี นรูแ้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน และการเรยี นรแู้ บบใช้ชมุ ชนเป็น ฐาน 4. การวัดและเมินผลของรปู แบบ 4.1 วัดภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร 4.2 วัดเนื้อหา 4.3 วดั ทักษะการคิด 4.4 วดั ความตระหนักในการเปน็ เจ้าของชุมชน และการนาความรูไ้ ปใชใ้ นชมุ ชน
วัตถุประสงค์ เพอื่ ศึกษาการใชก้ ารสอนแบบการบูรณาการเน้ือหาและภาษา (CLIL) การสอนแบบ โครงงาน (PBL) การสอนแบบบูรณาการเทคโนโลยีในการสอนเนอื้ หาวิชาเฉพาะ (TPACK) และ การสอนโดยใช้ชมุ ชนเปน็ ฐาน (CBL) ขอบเขตของการศกึ ษา ศกึ ษาผลการจดั การเรยี นรู้รูปแบบการสอน CLIL+PBL+CBL+TPACK ของนกั เรยี นช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบ้านหนองโนอดี า จังหวดั มหาสารคาม ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 15 คน วธิ ศี กึ ษา ขั้นตอนการศึกษา ผู้จัดทาออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้ CLIL+PBL+CBL+TPACK สรปุ เป็นขน้ั ตอนการ ดาเนินงาน ดังนี้ 1. ศกึ ษาและวเิ คราะห์หลกั สูตรเพื่อจาแนกตัวชีว้ ัดรายปหี รือช่วงช้ันหรอื ผลการเรยี นรู้ท่ี คาดหวังเพ่ือกาหนดเปน็ วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ นวตั กรรม การวัด/ ประเมนิ ผล และเวลาเรยี นจากหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2562) และศึกษารูปแบบวิธกี ารจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการเนื้อหาและ ภาษา (CLIL) การสอนแบบโครงงาน (PBL) การสอนแบบบูรณาการเทคโนโลยใี นการสอน เนอื้ หาวิชาเฉพาะ (TPACK) และการสอนโดยใช้ชมุ ชนเป็นฐาน (CBL) 2. กาหนดหน่วยการเรียนรู้ โดยลาดับความคิดรวบยอดท่นี ักเรยี นตอ้ งรู้ 3. กาหนดวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรมลทต่ี ้องการให้เกดิ กบั นักเรยี น 4. ดาเนินการออกแบบกรรมการเรียนการสอนตามลาดบั ข้นั ตอน การวัดประเมินผล ส่อื / อุปกรณ์ท่ีจะใช้ 5. นาแผนการจดั การเรยี นรู้ CLIL+PBL+CBL+TPACK ไปใชท้ าการวดั และประเมินผล 6. บนั ทึกหลังการสอน เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศึกษา 1. แผนการจดั การเรียนรู้ CLIL+PBL+CBL+TPACK 2. แบบฝกึ ปฏิบตั ิ เรอ่ื งเครอื่ งมือพน้ื ฐานในโปรแกรม Illustrator 3. แบบประเมนิ โครงงาน
การวิเคราะหข์ ้อมูล วิเคราะหโ์ ดยนาคะแนนจากชิ้นงานจากกแบบฝึกปฏบิ ัติและคะแนนช้ินงานจากกระบวนการ โครงงาน โดยสถิติพน้ื ฐานทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าเฉลย่ี (mean) ผลการศึกษา - ผลต่อเอง จากการศึกษาค้นควา้ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และนาความรูท้ ่ไี ด้ไปใชใ้ นการจัดการเรยี น การสอน ผู้จดั ทาไดท้ ราบถึงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทสี่ ง่ เสริมทักษะการปฏิบัตใิ ห้แก่ นักเรยี น สง่ ผลให้การเรยี นการสอนบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ และผจู้ ัดทาสามารถนาองค์ความรู้ท่ี ได้ไปประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการร่วมกับการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ า อืน่ ๆ เพ่ือใหม้ ีความหลากหลายและชว่ ยเพิ่มประสทิ ธิภาพการสอนคร้งั ตอ่ ไป ทัง้ ยงั ทาใหท้ ราบ ขอ้ บกพร่อง ข้อควรปรับปรงุ แก้ไขเพ่ือนาไปสู่กระบวนการแกป้ ญั หาและพฒั นาศกั ยภาพของ ผ้จู ัดทา - ผลต่อนักเรยี น จากการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ CLIL+PBL+CBL+TPACK พบวา่ คะแนนรวมเฉลย่ี ของ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก มีคะแนนรวมเฉล่ีย 85.33 คะแนน โดยสามารถสรปุ ผลการจดั การ เรียนรแู้ ยกเปน็ รายแผนไดด้ งั นี้ ผลการประเมินชิน้ งานจากแบบฝกึ ปฏิบตั ิ มีคะแนนเฉล่ีย 8.46 คะแนน อยูใ่ นระดบั ดีมาก ผลการประเมนิ ชิน้ งานมคี ะแนนเฉลี่ย 26.66 คะแนน อยู่ในระดบั ดี มาก และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคะแนนเฉลยี่ 5.00 คะแนน อยู่ในระดบั ดี มาก สามารถสรปุ ได้ว่า 1. นกั เรยี นมผี ลการเรียนเฉลี่ยอยูใ่ นระดบั ดีมาก 2. นักเรยี นสามารถใช้เทคโนโลยใี นการออกแบบและสร้างสรรค์ชน้ิ งานผา่ นกระบวนการ โครงงาน และสามรถส่ือสารเพือ่ นาเสนอโครงงานของตนได้ - ผลต่อโรงเรียน นกั เรียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการใช้เทคโนโลยี ส่งผลใหส้ ามารถเขา้ ร่วม แขง่ ขันในรายการตา่ ง ๆ เปน็ การสรา้ งชื่อเสียงให้กับตนเอง โรงเรียน และผู้จดั ทาไดเ้ ผยแพร่ ความรใู้ ห้แกบ่ ุคลากรในโรงเรียน ส่งผลให้โรงเรียนมีบคุ ลากรท่ีมคี วามรู้ ความสามารถในการ จดั การเรยี นการสอน และเป็นการเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี น
- ผลต่อชุมชน ชมุ ชนเข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอน และได้รว่ มแลกเปล่ียนความรู้ ความคดิ เห็น ในการพัฒนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของชมุ ชนโดยการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่ีนกั เรียนศกึ ษาไปปรับใช้ ในการออกแบบสร้างสรรค์ชนิ้ งาน และยงั เปน็ การสบื ทอดอนุรกั ษภ์ มู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของชุมชนให้ คงอยู่ อภปิ รายผล จากการศึกษาเร่ืองการใชก้ ารสอนแบบแบบบูรณาการเนือ้ หาและภาษา การสอนแบบ โครงงาน การสอนแบบบูรณาการเทคโนโลยใี นการสอนเนื้อหาวชิ าเฉพาะ การสอนโดยใช้ชุมชน เป็นฐาน เพิ่มประสิทธิภาพในการเรยี นการสอนรายวชิ าคอมพวิ เตอร์สาหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 สามารถอภิปรายผล ได้ดงั นี้ 1. จากผลการศกึ ษาค้นควา้ พบว่าการสอนแบบ CLIL+PBL+CBL+TPACK คะแนนรวมเฉลยี่ ของนักเรยี นอยู่ในระดับดีมาก มคี ะแนนรวมเฉลย่ี 85.33 คะแนน โดยสามารถสรปุ ผลการจัดการ เรียนรแู้ ยกเปน็ รายแผนได้ดงั น้ี ผลการประเมนิ ใบงาน มีคะแนนเฉลยี่ 8.46 คะแนน อยู่ในระดบั ดมี าก ผลการประเมินช้ินงานมีคะแนนเฉลยี่ 26.66 คะแนน อยูใ่ นระดบั ดีมาก และผลการ ประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีคะแนนเฉลย่ี 5.00 คะแนน อยู่ในระดับดีมาก ข้อเสนอแนะ การใช้การสอนแบบ CLIL ครคู วรมีทกั ษะในการส่ือสารภาษาอังกฤษในระดับดี การเรียนการ สอนโดยใชป้ ัญหาเป็นฐานควรจดั ให้มคี วามพร้อมในการให้บรกิ ารห้องสมุดสาหรบั สบื ค้นความรู้ ข้อมลู โดยมสี อ่ื ให้บริการทีห่ ลากหลายท้งั หนังสือ คอมพวิ เตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการ สอนโดยใชช้ มุ ชนเป็นฐานควรมคี วามพร้อมในดา้ นบคุ ลากรผ้ใู ห้ความรู้ เช่น ผเู้ ชี่ยวชาญ ปราชญ์ ชาวบ้าน
เอกสารอ้างอิง วีณา ประชากลู และประสาท เนื่องเฉลมิ .(2554). รปู แบบการเรียนการสอน.พมิ พ์ครั้งท่ี 2 , มหาสารคาม:สานกั พิมพ์มหาวิทยาลยั มหาสารคาม หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.(2559). แนว ทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน.พิมพ์คร้ังที่ 2,นครปฐม:ห้างหุ้นส่วนจ ากดั สนิ ทวกี จิ พริ้นติ้ง (สานักงานใหญ่) อาทิตย์ ศรีจนั ทร์ดร, อญั ชลี จนั ทรเ์ สม และเสาวลกั ษณ์ รัตนวิชช์. (2560). ผลของการสอนตาม แนวทฤษฎี บูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL) ท่ีมีตอ่ ความสามารถในการฟงั -พูด และ ความสนใจในการเรียน ภาษาอังกฤษของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2. วารสารศาสตร์ การศึกษาและการพัฒนามนุษย์. 1(2), 174-186. Harmer, J. (2007). How to teach English. Harlow: Pearson Longman. Lam S.F, Cheng, R.W, Ma WYK. (2009). Teacher and student intrinsic motivation in project-based learning. Instr. Sci. 37:565-578. Marsh, D. & Marsland, B. (1999). CLIL Initiatives for the millennium. Jyväskylä: Continuing Education Centre, University of Jyväskylä. Mehisto, P., Marsh, D. & Frigols Jesus, M. (2008). Content and language integrated Learning in bilingual and multilingual education. Oxford : Macmillan. OECD/UNESCO (2016). Education in Thailand: An OECD-UNESCO perspective, reviews of national policies for education. OECD Publishing, Paris. Papaja, k. (2014). Focus on CLIL: A qualitative evaluation of content and language integrated learning. United Kingdom: Cambridge Scholars. Skogen, M. (2013). Reading in CLIL and in regular EFL classes: to what extent do .
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: