Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นาฏศิลป์

นาฏศิลป์

Published by creamypitchapa, 2023-02-11 12:39:00

Description: นาฏศิลป์

Search

Read the Text Version

ละครกรีก ละครโรมัน 1. การแสดงละครในวัด ละครโศกนาฏกรรม ละครโศกนาฏกรรมโรมัน 2. ละครเกี่ยวกับศาสนา (Tragedy) ละครสุขนาฏกรรม ละครตลกขบขันแบบโรมัน และศีล (Comedy) 3. การแสดงประเภทอื่นๆ ละครยุคแรก โพลค์เพลย์ (Folk Play) ฟาร์ส (Farce) เซอร์คูลา อิเตอร์ลูด (Secular Interlode) ละครยุคกลาง ละครตะวันตก ละครยุคฟื้ นฟู ละครสมัยใหม่ ศิลปวิทยาการ อินเตอร์เมทซี 1.ละครแนวสัจนิยม (Realism)และแนว (Intermazzi) ธรรมชาตินิยม (Naturalism) โอเปร่า (Opera) 2.ละครแนวต่อต้านสัจธรรม (Anti-realism) ละครสัญลักษณนิยม (Symbolism) ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ (Expressionism) ละครเพื่อสังคม (Theatre for Social Action) หรือละครเอพิค (Epic Theatre)

ละครโศกนาฏกรรม (Tragedy) แสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอกที่มีความน่ายกย่องแต่ต้อง ดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจของชะตากรรม ลงท้ายด้วยความเศร้า หรือไม่สมหวัง แสดงถึงความทุกข์ทรมานของมนุษย์ ละครสุขนาฏกรรม (Comedy) เป็นละครที่ให้ความรู้สึกตลกขบขันเพราะความบกพร่องของมนุษย์พั ฒนา มาจากการขับร้องเพลงเพื่ อความสนุกสนานเฮฮาของผู้ติดตามขบวนแห่ง เทพเจ้าไดโอนีซุส ให้ตัวเอกพบกับความสมหวังในตอนจบของเรื่อง ละครกรีก ละครยุคแรก ละครโศกนาฏกรรมโรมัน ละครโรมัน มีนักเขียนชื่อ ลูเซียสแอนน์เซียส เซเนกา เรื่องราวเกี่ยวพันกับเหตุการณ์รุนแรง หรือการกระ ทำที่สยดสยอง ความพยาบาทอาฆาตแค้น มีเรื่องราวของภูตผีปีศาจและการใช้เวทมนตร์คาถา มีการใช้ตัวละครเหนือธรรมชาติอย่างแม่มดและผี มีอิทธิพลต่อนักเขียนบทละครยุคเรเนอซองส์ เพราะ เขียนด้วยภาษาละติน อ่านง่าย ละครตลกขบขันแบบโรมัน เน้นการตบตีแย่งชิง เป็นละครเร่ จัดบนเวที ชั่วคราว ใช้ภาษาหยาบโลน นักแสดงใส่ เสื้อผ้าน้อยชิ้นหรือไม่ใส่เลย เน้นฉากตลกแบบเจ็บตัว ตัวละครผูกติดกัน ด้วยผ้า พู ดคุยมุกตลกกับคนดู แล้วหันมา ทำร้ายกันเองไปมา สมจริงและเจ็บตัวจริง ร่ายรำด้วยท่าทางที่มีความหมาย เปลี่ยน บทบาทด้วยหน้ากาก มีคอรัสเป็นผู้บรรยาย เรื่อง ปัจจุบันเรียกละครใบ้

ศาสนจักรเห็นว่าผู้คนให้ความ เป็นละครที่แสดงประกอบเรื่องราวจากพระ สนใจในด้านการแสดงละครจึง คัมภีร์ไบเบิล เรื่องราวเกี่ยวกับพระเยซูและ นำวิธีนี้ในการให้ผู้คนหันมา เรื่องราวในคัมภีรืไบเบิล เรียกว่า มิสตรี สนใจทางด้านศาสนา โดยนำ เพลย์ (Mystery Play) นอกจากนั้นยังมี ละครเข้ามาในวันอีสเตอร์ ละครมิระเคิล เพลย์ (Miracle Play)ที่ ละครที่เก่าแก่ที่สุด คือ เควมค แสดงเรื่องราวชีวิตของนักบุญและผู้พลี วอริทิส และใช้บทเพลงสอด ชีพเพื่อศาสนา และละครมอแรลลิตี เพลย์ แทรกในพิ ธีกรรมทางศาสนา (Morality Play) ที่แสดงเรื่องราวของคน ธรรมดาสามัญที่ต้องต่อสู้กับทางเลือก การแสดงละครในวัด ระหว่างความดีและความชั่ว ละครเกี่ยวกับศาสนาและศีล ละครยุคกลาง การแสดงประเภทอื่นๆ โพลค์เพลย์ (Folk Play) เป็นเรื่องราวการผจญภัยของวีรบุรุษยอดนิยม เช่น โรบินฮูด เกี่ยวกับการ ต่อสู้ เต้นระบำ ความตาย และการเกิดใหม่ ฟาร์ส (Farce) เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการล้อเลียนความชั่วร้ายของมนุษย์ โดยมองดูอย่าง ตลกขบขัน เซอร์คูลา อิเตอร์ลูด (Secular Interlode) เป็นเรื่องราวที่อาจจริงจังหรือตลกขบขันที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา เป็นการแสดง แทรกละครหน้าม่าน จากผู้รับจ้างขุนนางที่เรียกตัวเองว่า อินเตอร์ลูด

เป็นการแสดงสลับฉาก มักเป็นเรื่องราวจาก ตำนานกรีกและโรมัน เช่นการต่อสู้กับปีศาจ ทางทะเล มีการใช้ดนตรีและระบำประกอบ ตัวอย่างที่มีชื่อเสียงที่สุดถูกสร้างขึ้นสำหรับ งานแต่งงานของเมดิชีในปี 1539, 1565 และ 1589 ในสเปนยุคบาโรกรายการที่เทียบเท่าหรือ พาโซคือฉากการ์ตูนเรื่องเดียวซึ่งมักจบลง ด้วยดนตรีและการเต้นรำระหว่างjornadas (การแสดง) ของบทละคร อินเตอร์เมทซี (Intermazzi) ละครยุคฟื้ นฟู ศิลปวิทยาการ โอเปร่า (Opera) การนำดนตรี ขับร้อง การระบำ เข้ามารวม กันในรูปของละคร นิยมจัดฉากหรูหรา intermezzi ที่โด่งดังที่สุดหลายชิ้นมาจาก โอเปร่าในยุค verismo ได้แก่Cavalleriaของ Mascagni และL'amico Fritz , Pagliacci ของLeoncavallo , Manon Lescautของ Puccini และSuor Angelica , Fedoraของ Giordano , Adriana Lecouvreurของ Cilea และโดยเฉพาะ อย่างยิ่งจาก Massenet ซึ่งเป็นที่รู้จักของ คนไทยขณะที่การทำสมาธิ

เป็นละครแนวสมจริง บทละครไม่บิดเบือนไปจากความเป็นจริงของ ชีวิต สะท้อนความจริงของสังคมในยุคนั้นและให้ความสำคัญกับคน สามัญ ตัวเอก ของเรื่องจะเป็นชาวนา โจร ขอทาน โสเภณี เสมียน เป็นต้น ซึ่งแตกต่างจาก ยุคก่อนๆที่ตัวเอกของเรื่องจะมีฐานะที่ร่ำรวย และสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน ละครแนวสัจนิยม (Realism)และ แนวธรรมชาตินิยม (Naturalism) ละครสมัยใหม่ ละครแนวต่อต้านสัจธรรม (Anti-realism) ละครสัญลักษณนิยม (Symbolism) เป็นละครที่ใช้วัตถุหรือการกระทำที่เป็นสัญลักษณ์ ซึ่งจะกระตุ้นและโยงความรู้สึก นึกคิดของคนดูเข้ากับความเป็นจริง ละครชนิดนี้ พยายามมองให้ลึกลงไปถึง สัจธรรมที่ไม่อาจจับต้องได้ เช่น ความหมายของชีวิตและความตาย จึงมักดูลึกลับ ลางเลือน และสร้างปมปริศนาไว้ให้ขบคิด ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ (Expressionism) เป็นละครที่เสนอความเป็นจริงตามความคิดของตัวละคร ซึ่งอาจไม่ตรงกับความ เป็นจริงที่ปรากฏแก่สายตาคนทั่วไป โดยใช้ฉากที่มีสภาพไม่เหมือนจริง ใช้คำพู ดที่ ไม่เป็นเหตุเป็นผลนัก ฉากแบบเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ มีลักษณะพิเศษที่สะท้อนความ รู้สึกภายในของตัวละคร เน้นรูปลักษณะภายนอก สีสัน และขนาดที่ผิดปกติไป ละครเพื่อสังคม (Theatre for Social Action) หรือละครเอพิค (Epic Theatre) เป็นละครที่กระตุ้นความสำนึกทางสังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสังคมให้ดีขึ้น โดยไม่คำนึงถึงความเป็นกลางแบบธรรมชาติ จุดสำคัญ คือ ต้องการให้ผู้ชม ชม อย่างไตร่ตรองมากกว่าจะให้เห็นคล้อยตามเรื่องไป ผู้ชมจะถูกทำให้ตระหนักอยู่ทุก ขณะที่กำลังชมละครว่า นั่นคือการแสดงทั้งสิ้น ละครแนวนี้ มีบทบาทสำคัญมากต่อ สังคมโลกและการละครเวทีสมัยใหม่

สมัยน่านเจ้า สมัยสุโขทัย วิวัฒนาการของ การละครไทย สมัยอยุธยา สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยธนบุรี

มีนิยายเรื่อง นามาโนห์รา เป็น นิยายของพวกไต หรือ คนไทย ใน สมยัน่านเจ้าที่มีปรากฏอยู่ก่อน หน้านีค้ื อการแสดงจาพวกระบา เช่นระบาหมวก ระบานกยูง สมัยน่านเจ้า การละครไทย สมัยสุโขทัย รับวัฒนธรรมของอินเดีย ผสมผสานกับ วฒันธรรมไทย มีการบญัญัติศพัท์ขนึ้ ใหม่ เพ่ือนใช้เรียก ศิลปะการแสดงของไทยวา่ โขนละครฟ้อนร

การแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน 3.สมยัอยธุยาแต่ เดิมท่ีเล่นเป็นละครเร่จะแสดงตามพืน้ท่ีว่าง โดยไม่ต้องมีโรง ละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมา ได้มีการวิวัฒนาการ เป็นละคร รา เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มีการ แต่งการ ท่ีประณีตงดงามมากขึน้ มีดนตรีและบทร้องและ มีการสร้ างโรงแสดง สมัยอยุธยา การละครไทย สมัยธนบุรี สมัยนีบ้ทละครในสมยัอยธุยาได้สูญหายไป สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเดจ็ พระเจ้า ตากสินมหาราช ทรงรวบรวมศิลปิ น บทละคร ทเี่หลอืมาทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกยีรต์ิอกี5ตอนได้แก่ 1.ตอนอนมุานเกีย้วนางวานริน 2.ตอนท้าวมาลีวราชวา่ ความ 3.ตอนทศกนั ฐ์ตงั้ พิธีทรายกรด 4.ตอนพระลกัษมณ์ถกูหอกกบลิพทั 5.ตอนปลอ่ยม้าอปุ การ นอกจากทรงพระราชนิพนธ์ บทละครในเรื่องรามเกียรต์ิ แล้วยงั ทรง ฝึกซ้อม ด้วยพระองค์เองอีกด้วย.

รัชกาลที่หนึ่ง สมัยนี้ได้ฟื้ นฟูและรวบรวมสิ่งที่สูญหายให้มีความสมบูรณ์มากขึ้นและรวบรวมตำรา การฟ้อนรำไว้เป็นหลักฐานที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ทรงพัฒนาโขนโดยให้ผู้ แสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎหรือชฎาทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก รัชกาลที่สอง การละครเจริญถึงขีดสุดมีการเปลี่ยนเครื่องแต่งกายให้ เป็นการแต่งยืนเครื่องแบบในละครใน ส่ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องอิเหนาซึ่งได้รับยูเนสโกใน ปีพ.ศ.2511 ละครไทยสมัย รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่สาม สมัยนี้พระองค์ให้ยกเลิกละครหลวงพระบรมมาวงศานุ วงค์จึงพากันฝึกหัดโขนละครคณะละครที่มีแบบแผนใน เชิงฝึกหัดและแสดงทั้งโขนละครถือเป็นแบบแผนใน การปฏิบัติสืบต่อมาถึงปัจจุบัน รัชการที่สี่ ได้ฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นใหม่อนุญาตให้ราษฎรฝึกละครในได้ซึ่งแต่เดิมละครไหน จะแสดงได้ในเฉพาะพระราชวังเท่านั้นด้วยเหตุที่ละครแพร่หลายไปสู่ประชาชน มากขึ้นจึงมีการบัญญัติข้อห้ามในการแสดงละครที่มีใช่ละครหลวง

รัชกาลที่ห้า สมัยนี้สภาพบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้าและขยายตัวอย่าง รัชกาลที่หก รวดเร็วเพราะได้รับวัฒนธรรมจากตะวันตกทำให้ศิลปะการ แสดงละครได้มีวิวัฒนาการขึ้นมาอีกรูปแบบมีการกำเนิดละคร ดึกดำบรรพ์และละครพันทาง ในสมัยนี้เป็นสมัยที่โขนละครดนตรีปี่ พาทย์เจริญถึงขีดสุดพระองค์ทรง เป็นราชาแห่งศิลปินแม้ว่าจะมีประสบการณ์ด้านละครพูดแบบตะวันตก แต่ทรงมีพระราชณปณิธานอันแรงกล้าที่จะทรงไว้ซึ่งความเป็นไทยและ ดนตรีปี่ พาทย์ทั้งยังทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้แก่ศิลปินโขนที่มี ฝีมือให้เป็นขุนนางเช่นพระยานัฐกานุรักและพระยาพรหมมาภิบาล รัชกาลที่เจ็ด สมัยนี้ประสบสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและการเมืองเกิดการคับขันจึงได้มีการ ปรับปรุงระบบบริหารราชการกระทรวงวังครั้งใหญ่ให้โอนงานช่างกองวังนอก กรงมหรสพไปอยู่ในสังกัดของกรมศิลปากรการช่างจึงย้ายมาอยู่ในสังกัดของ กรมศิลปากรตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2478 แต่แต่ในสมัยนี้ก็มีการละครเกิดใหม่ ที่เรียกว่าละครเพลงหรือละครจันทโรภาส ละครไทยสมัย รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่แปด หลวงวิจิตรวาทการ อธิอธิบดีคนแรกของกรมศิลปากรได้ฟื้ นฟูเปลี่ยนแปลงการแสดงโขนละคร ในรูปแบบใหม่โดยจัดตั้งโรงเรียนนาฏศิลป์ดุริยางค์ขึ้นให้ ให้การศึกษาทางด้านศิลปะและ สามัญและเพื่อยกระดับศิลปะให้ทัดเทียมกับนานาชาติ สมัสมัยนี้การแสดงนาฏศิลป์โขนการ ละครอยู่ในการกำกับดูแลของกรมศิลปากรและมีการละครเกิดขึ้นรูปแบบใหม่ที่เรียกว่าละคร หลวงวิจิตรวาทาการเป็นละครที่มีแนวคิดปลุกใจให้รักชาติบางเรื่องเป็นการละครพูดเช่นเรื่อง ราชณมนูเรื่องศึกถลางเรื่องพระเจ้ากรุงธนบุรี รัชกาลที่เก้า มีการปลูกฝังจิตสำนึกในการร่วมกันอนุรักษ์สืบสานสืบทอดและพัฒนาศิลปะการแสดงของชาติ ผ่านการเรียนการสอนในระดับการศึกษาทุกระดับมีสถาบันที่เปิดสอนวิชาการละครเพิ่มมากขึ้น ทั้งของรัฐและเอกชนมีรูปแบบในการแสดงละครไทยที่หลากหลายให้เลือกชมเช่นละครเวทีละคร พูดละครร้องละครรำพระองค์โปรดเกล้าให้บันทึกภาพยนตร์สืบส่วนของพระองค์บันทึกถ้ารำ เพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราบถ้ารำเพลงหน้าพาทย์ของพระนางยักษ์ลิงและโปรดเก้าให้จัด

ศึกษาหาความรู้พื้ น มีจิตใจผ่อนคลาย ฐานเกี่ยวกับการ มีสมาธิในการชม แสดงที่ชม การแสดง มีความสามารถในการ มีมารยาทในขณะ รับสาร ชมการแสดง หลักการชมการแสดง นาฏศิลป์และละคร มีอารมณ์คล้อย ศึกษาเอกสารและ ตามไปกับบทบาท ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยว ของผู้แสดง กับการแสดง เมื่อการแสดงจบลงผู้ ชมควรให้เกียรติผู้แสดง ด้วยการปรบมือ

หลักการวิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆในผลงานการแสดง นาฏศิลป์ไทย ศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ทั้งนาฏศิลป์แบบมาตรฐานและ นาฏศิลป์พื้ นบ้าน ความเป็นเอกภาพ ความงดงามของการร่ายรำ หลักการวิจารณ์การ แสดงนาฏศิลป์และละคร หลักการวิจารณ์การแสดงละคร การวิจารณ์โครงเรื่อง การวิจารณ์ตัวละคร ความชัดเจนของเหตุการณ์ บุคลิกลักษณะของตัวละครมี ต่างๆในละคร ชีวิตจิตใจคล้ายมนษุย์จริง ความเข้มข้นของเหตุการณ์ที่ ความสามารถในการดึงดูด จะนำไปสู่จุดวิกฤติ อารมณ์ผู้ชมของตัวละคร ความเหมาะสมของจุดจบของ ตัวละครแสดงได้สมบทบาท เรื่อง ความน่าสนใจของละคร สิ่งที่ทำให้ละครเรื่องนี้น่าสนใจ มากที่สุด

ผลงานควรมีประโยชน์ ให้คุณค่าต่อสังคม ลักษณะการแสดงมีความงดงาม คุณภาพด้าน การนำเสนอการแสดงต้องชัดเจน การแสดง ผู้แสดงมีเอกลักษณ์ในการเคลื่อนไหวร่างกาย หลักการประเมิน คุณภาพของการแสดง นาฏศิลป์และละคร เครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า ถูกต้องตามยุคสมัย คุณภาพด้านองค์ เครื่องประกอบการแสดงบนเวที ประกอบการแสดง อุปกรณ์เสียง ระบบเสียงชัดเจน สะท้อนให้เห็นความสามารถของผู้จัดการแสดงได้เป็นอย่างดี

หลักการประเมินการ แสดงนาฏศิลป์ ลีลาในการเคลื่อนไหวถูก ต้องตามแบบแผน มีการเคลื่อนไหว การแปรแถวมี ความหลากหลายไม่น่าเบื่อ นำหลักแห่งความสมดุลมาใช้ โดยใช้เวทีเป็นจดุศูนย์กลาง ตำแหน่งของผู้แสดง ดนตรี การขับร้อง ท่วงทำนอง จังหวะของเพลง เครื่องแต่งกายและ ลีลาใน การเคลื่อนไหวต้องมีความ สอดคล้องสัมพั นธ์กัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook