การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แนวคดิ หลกั ปรชั ญพารเศะบราษทฐสกมจิ เดพ็จอพเรพะียบงรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ฒั นาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพอ่ื ใหพ้ สกนิการชาวไทยไดเ้ ขา้ ถึงทางสายกลางของชีวติ จุดเด่นของปรชั ญาน้ี คอื แนวทางทส่ี มดุลชาตสิ ามารถทนั สมยั และ กา้ วสู่ความเป็นสากลไดแ้ ละการอยรู่ ่วมกนั ของของทกุ คนในสงั คม เศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นปรชั ญาช้ถี ึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศ ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง
แนวคดิ ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดาริ 1.มคี วามพอเพียงเล้ยี งตนได้ ไมฟ่ ้ งุ เฟ้ อ ประหยดั อดออม ดารงชวี ติ ตามทางสายกลาง 2.รวมพลงั ในรูปของการรวมกลุ่ม เพอ่ื ความร่วมมมอื และใหค้ วามชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกนั ในชุมชน 3.การสรา้ งเครือข่ายกลุ่มอาชพี
หลกั การของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง มีหลกั พิจารณาอยู่ 5 สว่ น ดงั น้ี 1.กรอบแนวคดิ เป็ นปรชั ญาทช่ี ้แี นะแนวทางการปฏิบตั ติ นในทางท่ีควรจะเป็ นโดยมี พ้ืนฐานมาจากวถิ ชี วี ติ ของสงั คมไทย และเป็นการมองโลกเชงิ ระบบทีมกี ารเปลีย่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา เพื่อการพฒั นาท่ีมน่ั คงและยงั่ ยืน 2.คณุ ลกั ษณะ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการ ดาเนินชวี ติ ไดท้ ุกคน โดยเนน้ การปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็น ขนั้ ตอน
3.คานิยาม ๒) ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจ อยา่ งมีเหตผุ ล ๑) ความพอประมาณ ๓) การมีภมู ิคมุ้ กนั ใน หมายถงึ ความพอดี ไม่ ตวั หมายถงึ การ เตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั มากเกนิ ไป ไม่นอ้ ย ผลกระทบและการ เกนิ ไป เปลย่ี นแปลง
4.เงื่อนไข เงอื่ นไขความความรู้ ความรูเ้ ก่ียวกบั วชิ าตา่ งๆ ท่เี ดี่ยวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนา ความรูเ้ หลา่ นน้ั มาพิจารณาใหเ้ ชอื่ มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผน • เงอ่ื นไขคุณธรรม มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความซ่อื สตั ยส์ จุ ริต มีความอดทน มีความพากเพียร และใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ
5.แนวทางการปฏิบตั ิ/ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั เพื่อการพฒั นาทส่ี มดุล ทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และความรูเ้ ทคโนโลยกี ระบวนการสรา้ งความรู้ (Knowledge) คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีพึงประสงคผ์ า่ นกิจกรรมการเรียนรูต้ ามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียง
การสง่ เสรมิ การเรยี นรูห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรชั ญาทช่ี ้ถี ึงแนวทางในการดารงชวี ติ ท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร มีพระราชดารชั ช้ีแนะแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดและทรงเนน้ ยา้ แนวทางการพฒั นาที่ตงั้ อยู่บนพ้ืนฐานของสายกลางความไม่ ประมาท การป้ องกนั ใหร้ อดพน้ จากวกิ ฤติ ทส่ี ามารถนาหลกั คดิ มาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั ประชาชนในทกุ ระดบั และการพฒั นาประเทศใหก้ า้ วหนา้ ไป พรอ้ มกบั ความสมดุล โดยเป็ นหลกั ปฏิบตั เิ พ่ือใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติสุข สภาวการณข์ องประเทศไทยในปัจจบุ นั ตอ้ งเผชญิ กบั ปัญหาหลายดา้ น ทงั้ ดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนความสงบสนั ติภายในประเทศ แต่ ประชาชนชาวไทยกและประเทศไทยยงั คงมีโอกาสสรา้ งความเจรญิ ใหแ้ กต่ น ชมุ ชน และประเทศได้ หากสามารถนอ้ มนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมา เป็นวถิ ีปฏิบตั ิดว้ ยความเขา้ ใจ ตลอดจนการประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดผลสาเร็จอยา่ งเป็นรูปธรรม
หลกั การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดช ฯ 1. ระเบิดจากขา้ งใน 2. ศึกษาขอ้ มูลอยา่ งเป็ นระบบ 3. แกป้ ัญหาที่จุดเลก็ 4. ทาตามลาดบั ขนั้ 5. ภมู สิ งั คม 6. ไม่ตดิ ตารา 7. ประหยดั เรียบงา่ ย ไดป้ ระโยชน์สงู สุด 8. ทาใหง้ า่ ย 9. การมสี ่วนร่วม 10. ประโยชน์สว่ นร่วม 11. บริการที่จดุ เดยี ว 12. ใชธ้ รรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ 13. ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม 14. ปลูกป่ าในใจคน 15. ขาดทนุ คือกาไร 16. การพ่งึ ตนเอง 17. พออยพู่ อกิน 18. เศรษฐกจิ พอเพียง 19. ความซอ่ื สตั ย์ สุจริต และจริงใจตอ่ กนั 20. ทางานอยา่ งมคี วามสุข 21. ความเพียร 22. รู้ รกั สามคั คี 23. องคร์ วม
การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ หลกั คดิ และวถิ ีปฏิบตั ิทนี่ ามาใช้ในการดาเนินชีวิตที่เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา อยา่ งเป็นขน้ั ตอนการดาเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มเี หตผุ ล และการมภี ูมิคมุ้ กันท่ดี ใี นตัว พร้อมรับตอ่ การเปลย่ี นแปลงอนั จะส่งผลตอ่ ความม่ันคงของประเทศ การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ได้ผลในการดาเนินชีวิตนั้น มีกระบวนการเรียนรู้ที่ต้องอาศัยประสบการณ์เป็นส่วนสาคัญ กระบวนการเรยี นรู้นี้เรมิ่ ตน้ จากกาหนดเปา้ หมาย การวิเคราะห์ตนเอง การวิเคราะห์บริบทแวดล้อม การแสวงหาแนวปฏบิ ัตทิ ีส่ อดคลอ้ งกับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การลงมอื ปฏบิ ัติ การสรุปผลสาเรจ็ จากการปฏบิ ัติและสิ่งท่ีไดเ้ รยี นรูจ้ ากการประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาไปเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ายและประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2542 และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 9 ( พ.ศ. 2545-2549) ข้นึ โดยน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคู่ไปกับการ ขับเคลื่อน การพัฒนาแบบบูรณาการเปน็ องคร์ วมท่ีมี “คนเปน็ ศนู ย์กลางการพฒั นา”
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: