Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนหน่วยที่ 6 โรงเรียนลูกช้าง

แผนหน่วยที่ 6 โรงเรียนลูกช้าง

Published by ครูภา สอนไทย, 2021-09-12 07:30:29

Description: แผนหน่วยที่ 6 โรงเรียนลูกช้าง

Search

Read the Text Version

บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คาสวัสดร์ิ าษฎร์บารงุ ) ท่…ี …………………วันท่ี ………… เดือน …………………….. พ.ศ.2564 เร่ือง ขออนญุ าตใช้แผนการจดั การเรียนรู้ เรียน ผู้อานวยการโรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) ด้วยขา้ พเจา้ นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย โรงเรียนวัดพืชนิมติ (คาสวสั ด์ิราษฎรบ์ ารงุ ) ไดร้ ับมอบหมายให้ปฏบิ ัตหิ น้าทก่ี ารสอน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท11101 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 บดั นี้ ขา้ พเจา้ ได้จดั เตรยี มการสอน และจดั ทาแผนการสอนโดยใช้กระบวนการการจัดการเรยี นรูแ้ บบ บนั ได 6 ขนั้ ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดเตรียมไว้ ซ่งึ แนบเอกสารหน่วยการเรียนท่ี 6 ช่ือ หนว่ ย โรงเรียนลกู ช้าง เวลาเรยี น 10 ชวั่ โมง มาพรอ้ มกับเอกสารน้ี จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ ลงช่ือ ( นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ ) ตาแหน่ง ครู ลงช่ือ (นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ความเห็นผู้อานวยการโรงเรียน อนญุ าต ไม่อนญุ าต เพราะ .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................. ลงชือ่ ( นางสาวกันยาภัทร ภัทรโสตถิ ) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คาสวสั ดิร์ าษฎร์บารงุ ) ............./................../.............

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เรือ่ ง โรงเรยี นลูกชา้ ง ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 รายวชิ า ภาษาไทย รหสั ท11101 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ครูผู้สอน นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ โรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คาสวสั ดิร์ าษฎรบ์ ารงุ ) สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 สานักานคณะกรรมการการศึกษาขน้ึ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ศึกษา ฝกึ ทกั ษะการอา่ น การเขยี น การฟงั การดูและการพูด หลกั การใช้ภาษาไทย และวรรณคดีและวรรณกรรมในสาระตอ่ ไปนี้ การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคา คาคล้องจอง และขอ้ ความ ทป่ี ระกอบ ดว้ ยคาพนื้ ฐาน คือคาท่ีใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖๐๐ คา รวมทงั้ คาท่ีใช้เรียนรใู้ นกล่มุ สาระ การเรยี นร้อู ่ืน ประกอบดว้ ยคาทีม่ รี ูปวรรณยุกต์ และไม่มีรูปวรรณยกุ ต์ คาทีม่ ีตวั สะกดตรงตามมาตราและ ไม่ตรงตามมาตรา คาท่ีมีพยัญชนะควบกลา้ คาทม่ี อี ักษรนา การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ การอา่ นเครื่องหมายและสญั ลักษณ์ มารยาทในการอา่ น การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขยี นส่อื สาร มารยาทในการเขียน การฟงั และ ปฏิบตั ติ ามคาแนะนา คาสั่งง่าย ๆ การจบั ใจความและพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรู้สกึ จากเรื่องท่ีฟังและดูทง้ั ทเ่ี ปน็ ความรูแ้ ละความบันเทิง การพูดสื่อสารในชวี ติ ประจาวนั มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู มารยาทในการพูด หลักการใชภ้ าษา การบอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การเขยี นสะกดคา การแจกลกู และการอา่ น เปน็ คามาตราตวั สะกดทีต่ รงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรการผนั คา ความหมายของคาการแต่งประโยคและต่อคาคลอ้ ง จองวรรณคดแี ละวรรณกรรม การอา่ นหรอื การฟงั วรรณกรรมร้อยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรบั เดก็ การทอ่ งบทอาขยานและ บทร้อยกรองตามทก่ี าหนดและความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน การเขียน การฟงั การดู การพดู และการวิเคราะห์ เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสง่ิ ทเ่ี รียนรู้ จากการแตง่ ประโยคและตอ่ คาคลอ้ งจองเขียนเร่ืองจากภาพ การเรียนวรรณคดีและ วรรณกรรมการอา่ นหรือการฟงั วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก การท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองตามท่ี กาหนดและตามความสนใจ มคี วามสามารถในการสื่อสาร คดิ วเิ คราะห์ จากเร่ืองท่ีอา่ นได้ เหน็ คุณค่าของการนาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน มีเจตคตทิ ี่ดีต่อภาษาไทย มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟัง การดแู ละการพดู มีความซาบซ้งึ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย รักความเปน็ ไทย ใฝ่เรยี นร้แู ละมีคา่ นิยมที่ เหมาะสม รหสั ตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕,ป.๑/๖,ป.๑/๗,ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วัด

แผนผงั มโนทัศน์เป้าหมายการเรียนร/ู้ หลกั ฐานการเรยี นรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทกั ษะ/กระบวนการ (Process : P) คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1.ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 1.การอา่ นแจกลูกสะกด 1.อา่ นสะกดคา 2.มวี นิ ัย 2.การประสมคา 2.เขียนตามคาบอก 3.ใฝ่เรียนรู้ 3. การบอกความหมาย 3.เขียนคาประกอบภาพ 4.มุง่ ม่นั การทางาน 4. การแต่งประโยค 4.แต่งประโยค 5.รักความเป็นไทย 5. การคดั ลายมอื 5.การคดั ลายมอื 6. การเขยี นเร่ืองย่อจากนทิ าน 6.การร้องเพลง เป้าหมายการเรยี น เรือ่ ง ไปโรงเรยี น หลักฐานการเรยี นรู้ 1.แบบฝึกอา่ น 5. คดั ลายมอื 2.แบบฝึกเขยี นตามคาบอก 6. เพลง 3.แบบฝึกเขยี นคาประกอบภาพ 4.แบบฝกึ แตง่ ประโยค

แผนผงั มโนทัศน์ขนั้ ตอนการทากิจกรรมประกอบการจดั การเรยี นรดู้ ้วย วิธกี ารสอนแบบบนั ได 6 ขน้ั ศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ทากิจกรรมโดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรดู้ ้วยเทคนคิ การสอนแบบบนั ได 6 ข้ัน ขน้ั ที่ 1 ฝกึ อ่านทุกวนั จากงา่ ยไปยาก ข้ันท่ี 2 เขยี นตามคาบอกจากสง่ิ ทีอ่ า่ น ขนั้ ท่ี 3 คดั ลายมือ ขนั้ ที่ 4 แต่งประโยค ข้ันท่ี 5 คัดลายมอื ขั้นท่ี 6ร้องเพลง ทดสอบหลังเรยี น (ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70)

ผงั มโนทศั น์ หนว่ ยการ แผนท่ี 1 การอา่ นแจกลกู สะกด จานวน 2 ชัว่ โมง แผนท่ี 3 บอกความหมายของคา หน่วยกา จานวน 1 ชว่ั โมง โรงเรยี จานวน แผแนผทน่ี ท5ี่ 5กากราเลรค่านดั ลิทาายนมือ จาจนาวนนวน2 2ช่ัวชโมว่ั โงมง การเรยี นรแู้ บ สาสระารกะากรเารรยี เรนียรนู้ .ร..ู้............................................................... สงั คมศกึ ษ • การเล่านทิ าน วิทยาศาสตร์ 1.อา่ นและเขยี นคาเก่ยี วกับสัตว์ มี สัตว์บก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปกี สัตวน์ ้า เช่น งู กบ กระต่าย แมว นก กา สนุ ัขจง้ิ จอก

รเรยี นรทู้ ี่ 6 โรงเรยี นลกู ช้าง ารเรยี นรทู้ ่ี 6 แผนที่ 2 เขยี นสะกดคา ยนลกู ชา้ ง จานวน 2 ชั่วโมง 10 ชวั่ โมง สาระการเรยี นรู้ ................................. บบบรู ณาการ แผนท่ี 4 แต่งประโยค จานวน 1 ชั่วโมง ษา ศาสนา และวฒั นธรรม น การเขยี นนิทานประกอบภาพ แผนแทผ่ีน6ที่เข6ยี นกเารรือ่ รง้อยง่อเพจาลกงนทิ าน จจาานนววนน22ชวั่ชโว่ั มโงมง สารกะการาเรรเยีรียนนรู้ร.ู้................................................................. .ศลิ ปะ : ทัศนศลิ ป์ • เขียนคาประกอบกบั วาดภาพและระบายสี

แผนบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมีภูมคิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี 1. ออกแบบการจดั กิจกรรม ตรงตาม 1. ออกแบบการเรยี นรูส้ ่งเสรมิ กระบวนการคดิ 1. ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรยี นรู้ลว่ งหน้า ตวั ช้วี ดั 2. ใช้เทคนคิ การจดั การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย 2. จัดเตรียมการวดั ผลประเมินผล และแบบ 2. เลอื กสอ่ื แหลง่ เรยี นรู้เหมาะสม สังเกตพฤตกิ รมนักเรยี น 3. วัดผลประเมินผลตรงตามเน้อื หา เงื่อนไขความรู้ เงอื่ นไขคณุ ธรรม 1. รู้จักเทคนิคการสอนทีส่ ่งเสรมิ กระบวนการคดิ และนักเรียน 1. มคี วามขยัน เสยี สละ และมุ่งม่นั ในการจดั หาสื่อมาพัฒนา สามารถเรยี นรูไ้ ด้อย่างมคี วามสุข นกั เรยี นให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ 2. มคี วามอดทนเพื่อพฒั นานกั เรยี นโดยใชเ้ ทคนคิ การสอนท่ี หลากหลาย นกั เรียน ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมภี ูมคิ ุม้ กนั ในตวั ที่ดี 1. การใชเ้ วลาในการทากจิ กรรม/ภาระงาน 1. ฝึกทกั ษะการอา่ นท่เี หมาะสมกับวยั 1. วางแผนการศึกษาใบงาน/ใบกจิ กรรม ได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา 2. ฝกึ ทักษะการเขียนที่เหมาะสมกบั วยั 2. นาความรูเ้ รอื่ ง ทักษะการอ่าน การเขียน 2. เลอื กใชส้ ่ือไดเ้ หมาะสมกับการจดั การ 3.ฝึกทักษะการพดู ท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ การพูดและการฟงั ของมนษุ ย์ไปใชใ้ น เรยี นการสอน 4.ฝกึ ทกั ษะการฟังและการปฏิบัติตามคาสงั่ ได้ ชวี ติ ประจาวนั ได้ เหมาะสมกบั วัย เงอื่ นไขความรู้ เง่อื นไขคุณธรรม 1. มีความรเู้ รื่องทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยท่ีถูกตอ้ งมสี ว่ น 1. มคี วามรบั ผิดชอบ และปฏบิ ัติตามข้อตกลงของกลุ่ม รว่ มในการอนุรักษ์ภาษาไทยและเปน็ แบบอย่างในการใชภ้ าษาไทย 2. มสี ติ มีสมาธชิ ่วยเหลอื กันในการทางานร่วมกัน อย่างถูกต้องตลอดจนสามารถสร้างจัดทาชิน้ งาน ผลงานและใบงานได้ ตามวตั ถุประสงค์ ส่งผลตอ่ การพฒั นา 4 มิติใหย้ ่งั ยืนยอมรบั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงในยุคโลกาภวิ ฒั น์ วตั ถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ (K) มีความรู้ความเข้าใจในหลักการใช้ มคี วามร้แู ละเขา้ ใจ มีความรแู้ ละเขา้ ใจ มีความรแู้ ละเข้าใจการ ภาษาไทย ทกั ษะการฟงั พูด อา่ น เกย่ี วกบั ส่งิ แวดล้อม ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน และเขียน และส่งิ ต่างๆรอบตวั ทกั ษะ (P) สามารถสรา้ งช้ินงาน ผลงาน ใบงาน ทางานไดส้ าเรจ็ ตาม ใช้แหลง่ เรียนรู้โดยไม่ ช่วยเหลือ แบ่งปนั ซึง่ แบบทดสอบเรื่องการพดู การเขียน เป้าหมาย ดารงชีวิตได้ ทาลายสง่ิ แวดลอ้ ม กนั และกนั ภาษาไทยและการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกต้อง อย่างมีความสขุ ตรงตามวตั ถุประสงค์ คา่ นิยม (A) เห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ เกย่ี วกับ เหน็ คุณค่า และ เหน็ คุณคา่ ของการใช้ ปลกู ฝงั นิสยั การ การมสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์ภาษาไทย ภาคภูมิใจในการ แหล่งเรียนร้โู ดยไม่ ช่วยเหลือแบง่ ปัน และเห็นคุณค่าของภาษาไทย ทางานรว่ มกนั ได้ ทาลายสิ่งแวดล้อม สาเรจ็

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง โรงเรยี นลูกชา้ ง กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท11101 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 จานวนแผนการจัดการเรียนรู้ 6 แผน เวลาเรียน 10 ชั่วโมง ครูผสู้ อน นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คาสวสั ดิ์ราษฎร์บารุง) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพือ่ นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาเนินชีวติ และมี นสิ ัยรักการอ่าน ตวั ชวี้ ดั ป.1/1 อ่านออกเสยี งคาและขอ้ ความส้ัน ๆ ตัวชวี้ ัด ป.1/2 บอกความหมายของคาและขอ้ ความทอ่ี า่ น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตา่ ง ๆ เขยี น รายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชีว้ ดั ป.1/1 คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญา ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ตวั ช้วี ัด ป.1 /1 บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย ตัวชวี้ ดั ป.1 /2 เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย ของคา มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ. นามา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง. ตัวช้วี ดั ป.1/2 ทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนด และบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ 2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ทกั ษะการอา่ น ผเู้ รียนตอ้ งเขา้ ใจ หลกั การอา่ นแจกลูกสะกดคากอ่ น เพือ่ เปน็ พื้นฐานในการอา่ นออกเสยี งคา,ข้อความ, ประโยคและเน้อื เร่ืองได้อยา่ งถูกตอ้ งชัดเจนเพือ่ นาไปสูก่ ารอา่ นและเขียนพยญั ชนะสระ วรรณยุกต์ และเลขไทยไดถ้ กู ต้อง สามารถอธบิ ายความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถามจากเรอ่ื งที่อ่านได้ ทกั ษะการอ่านการเขียน ต้องหม่นั ฝกึ ฝนอยู่ เป็นประจาเรม่ิ จากการฝึกอา่ นและเขยี นคาที่ง่ายไปหาเร่ืองทยี่ ากขึน้ ฝึกอ่านและเขยี นจากคาศัพท์บทเพลง บทอาขยาน อ่าน แลว้ จะทาใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน มีนิสัยรกั การอ่าน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง 1) การอ่านแจกลูกสะกดคาประสมสระ เ-าะ สระ -อ 2) การอา่ นสะกดคาและบอกความหมายของคาจากเรอ่ื งทอี่ ่าน 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 (ประเมินตามสภาพ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน จริง) 6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบฝกึ อา่ น ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ 1. อา่ นสะกดคา 2. เขียนตามคาบอก แบบฝึกเขียนตามคาบอก รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ 3. คัดลายมือ 4. แตง่ ประโยค แบบฝึกเขียนคาประกอบภาพ รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ 5. ร้องเพลง 6. เขยี นคาประกอบภาพ แบบฝึกคัดลายมือ รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 7.การวดั และการประเมินผล แบบฝึกแต่งประโยค ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ วธิ ีการ แบบฝึกหัดจับคู่คากับภาพ ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ทดสอบอ่านรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ทดสอบเขียนตามคาบอก ตรวจแบบฝึกเขยี นคาประกอบภาพ ตรวจแบบฝกึ คัดลายมือ ตรวจแบบฝกึ แตง่ ประโยค ตรวจแบบฝึกอา่ นรเู้ รือ่ ง สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มน่ั ใน การทางาน 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมท่ี 1 เร่อื งการอา่ นแจกลูกสะกดคา ( เวลา 3 ชวั่ โมง) ชัว่ โมงท่ี 1 การอ่านแจกลูกสะกดคาสระ เ-าะ มี/ไมม่ ีตัวสะกด 1.) ครูนาบัตรคาสระ เ-าะ ใหน้ กั เรยี นดูให้นกั เรียนทกุ คนออกเสียงพรอ้ มกัน 2.) ครสู นทนากบั นกั เรียน สระ เ-าะ เปน็ สระเสียงสั้นหรอื เสียงยาวครูออกเสยี งใหน้ ักเรียนฟังนกั เรยี นออกเสยี ง ตาม 3.) ครอู ธิบายหลักการประสมคาสระ เ-าะ ไม่มีตัวสะกด 4.1 ออกเสียงพยญั ชนะตน้ เช่น ก ออกเสยี งว่า กอ 4.2 ประสมกับเสียงสระ เ-าะ ออกเสยี งว่า เอาะ เช่น เกาะ อา่ นแจกลูกสะกดคาได้ว่า กอ-เอาะ-เกาะ นักเรยี นฝึกอ่านแจกลกู สะกดพรอ้ มกนั ทกุ คนจนคลอ่ ง เจาะ เคาะ เบาะ 4.3 ออกเสียงพยัญชนะทา้ ย คือ ตัวสะกด เชน่ แขง็ สะกดวา่ ลอ-เอาะ-กอ-ล็อก 4.) ครูอธิบายหลกั การประสมคาสระ เ-าะ มตี วั สะกดสระ เ-าะ จะเปลีย่ นเปน็ ไมไ้ ต่คู้ -็

5.) ครสู ุ่มนกั เรียนหลาย ๆคนบอกหลักการอา่ นแจกลกู สะกดคา และครอู ธิบายเพม่ิ เติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจยงิ่ ขน้ึ นกั เรยี นฝึกอา่ นแจกลกู สะกดพร้อมกนั ทุกคนจนคลอ่ ง 6.) ครทู ดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเป็นคาที่ไม่ซ้ากัน ทุกคนต้องอ่านให้ได้ 7 คาจาก 10 คาจึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าใครไมถ่ งึ 7 คาให้ฝึกอ่านแล้วมาสอบใหม่จนกวา่ จะผา่ น 7.) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปวธิ ีการอ่านแจกลกู สะกดคาพรอ้ มกันนักเรยี นฝึกอา่ นแจกลูกสะกดคาจากบตั รคา นอกตาราเรยี นท่คี รูเตรียมมาเป็นการสรปุ บทเรยี น ช่ัวโมงท่ี 2 การอ่านแจกลูกสะกดคาสระ -อ มี/ไมม่ ีตัวสะกด 1.) ครูนาบัตรคาสระ -อ ให้นกั เรียนดูให้นกั เรยี นทุกคนออกเสยี งพร้อมกัน 2.) ครูออกเสยี งสระ –อ ใหฟ้ งั นักเรียนออกเสียงตามครูสนทนากบั นักเรียนสระ -อ เปน็ เสียงส้นั หรือเสียงยาว ครู อธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟงั 3.) ครูอธบิ ายหลกั การประสมคาสระ -อ ไมม่ ตี วั สะกด เช่น กอ -ออ –กอ นักเรยี นฝึกอา่ นแจกลูกสะกดคาพรอ้ มกัน ทกุ คนจนคลอ่ ง 4.) ครูอธิบายหลกั การประสมคาสระ -อ มตี วั สะกด เช่น จอก สะกดวา่ จอ- ออ – กอ –จอก นกั เรยี นฝึกอา่ นแจก ลูกสะกดพร้อมกนั ทกุ คนจนคลอ่ ง 5.) ครูทดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเปน็ คาที่ไมซ่ า้ กัน ทุกคนต้องอา่ นให้ได้ 7 คาจาก 10 คาจึงจะผา่ นเกณฑ์ ถา้ ใครไมถ่ งึ 7 คาให้ฝกึ อา่ นแลว้ มาสอบใหม่จนกวา่ จะผา่ น 6.) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ วธิ กี ารอ่านแจกลูกสะกดคาพร้อมกนั นักเรยี นฝึกอ่านแจกลูกสะกดคาสระ -อ มี/ ไม่มตี วั สะกดจากบัตรคานอกตาราเรยี นทคี่ รูเตรียมมาเป็นการสรปุ บทเรียน ชวั่ โมงท่ี 3 การอา่ นแจกลกู สะกดคาจากเร่อื งที่อา่ น 1.) รว่ มกันสนทนากับนกั เรยี น จากบทเรียนท่เี รียนผา่ นมา เป็นการนาเขา้ ส่บู ทเรียนเรอื่ งตอ่ ไป 2.) ครูเขียนคาวา่ แถว เชอื ก กลว้ ย หมบู่ ้าน วงกลม ควาญชา้ ง ละ ทา ใช้ กี่ ซ้า เม่อื บนกระดานดาครนู า นักเรยี นอา่ นสะกดคา นักเรียนอ่านสะกดคาตามพรอ้ มกนั จนคลอ่ ง จากนนั้ ให้อา่ นทลี ะคน 3.) ครทู ดสอบอา่ นทีละคน นกั เรยี นตอ้ งอา่ นให้ไดร้ ้อยละ 70 ข้นึ ไปจงึ ผา่ นเกณฑ์ คนท่ไี ม่ผ่านตอ้ งฝึกอ่านจนคลอ่ ง แลว้ มาสอบใหมจ่ นกวา่ จะผ่าน 4.) นกั เรยี นทอี่ ่านผ่านเกณฑ์แลว้ ครใู ห้ทาแบบฝกึ หดั สง่ ครู ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ งและเฉลย 5.) นักเรียนอ่านออกเสียงคาเรื่อง โรงเรียนลกู ช้าง ต้งั แต่หนา้ แรกจนถงึ หนา้ สดุ ทา้ ยเปน็ การสรปุ บทเรยี น กจิ กรรมท่ี 2 เรอื่ ง การเขยี นสะกดคา ( เวลา 3 ชัว่ โมง) ชัว่ โมงที่ 1. การเขียนสะกดคาสระ เ-าะ มี/ไม่มีตวั สะกด 1.) ครูนาบัตรคาประสมสระ เ-าะ ม/ี ไมม่ ตี ัวสะกดให้นักเรียนอา่ นพร้อมกนั เป็นการทบทวน 2.) ครอู ธิบายหลักการเขียนสะกดคาและยกตวั อย่างการเขยี นใหน้ กั เรียนดเู ป็นตวั อย่างนกั เรียนสังเกต จดจา นักเรียนฝึกอ่านสะกดคาพรอ้ มกันอกี ครัง้ จนคล่อง 3.) ครใู หน้ กั เรยี นเขยี นตามคาบอกของครู 10 คา ครูตรวจผลงาน สาหรบั นักเรยี นท่ไี มผ่ า่ นให้คัดคาทเ่ี ขียนไมไ่ ด้ คาละ 2 ครง้ั แล้วมาสอบเขยี นใหม่จนกวา่ จะผา่ น 4.) ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปวิธกี ารเขยี นสะกดคาสระ เ-าะ ม/ี ไม่มีตัวสะกดเปน็ การสรุปบทเรยี น

ชวั่ โมงที่ 2. การเขยี นสะกดคาสระ -อ ม/ี ไมม่ ีตวั สะกด 1.) ครนู าบตั รคาประสมสระ -อ มี/ไม่มตี วั สะกดใหน้ กั เรยี นอา่ นพรอ้ มกนั เป็นการทบทวน นักเรยี นสงั เกตและ จดจาลักษณะของคาทปี่ ระสมสระ -อ มี/ไมม่ ีตัวสะกด 2.) ครูอธบิ ายหลักการเขียนสะกดคาและยกตวั อย่างการเขียนใหน้ กั เรียนดเู ป็นตวั อย่างนักเรยี นสงั เกต จดจา นักเรียนฝกึ อ่านสะกดคาพรอ้ มกันอีกครง้ั จนคล่อง 3.) ครูให้นกั เรียนเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครตู รวจผลงานนกั เรยี นต้องเขยี นสะกดคาถูกตอ้ ง 7 คา จาก10 คาจึงผา่ นเกณฑ์สาหรบั คนทีผ่ ่านเกณฑค์ รูให้ทาใบงานสง่ ครู ส่วนคนที่ไมผ่ า่ นให้ คดั คาที่ไม่ผ่าน 2 คร้ังและฝึก เขยี นใหม่จนกว่าจะผา่ น 4.) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ วิธีการเขียนสะกดคาประสมสระ -อ มี/ไมม่ ตี ัวสะกด เปน็ การสรุปบทเรยี น ช่ัวโมงท่ี 3. การเขยี นสะกดคาจากเรอื่ งท่ีอ่าน 1.) ครูให้นกั เรยี นอา่ นบทอา่ นจากเพอื่ นกัน เปน็ การทบทวน นกั เรยี นสังเกต จดจาลักษณะการเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ของคาแต่ละคา 2.) ครอู ธบิ ายหลักการเขียนสะกดคาและยกตวั อยา่ งการเขยี นใหน้ กั เรียนดเู ป็นตัวอย่างนกั เรียนสังเกต จดจา นกั เรียนฝกึ อ่านสะกดคาพรอ้ มกนั อีกครัง้ จนคล่อง 3.) ครใู ห้นกั เรยี นเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครตู รวจผลงานนกั เรยี นตอ้ งเขียนสะกดคาถกู ต้อง 7 คา 10 คา จึงผา่ นเกณฑ์ สาหรับคนที่ผา่ นเกณฑ์ครใู ห้ทาใบงานสง่ ครู สว่ นคนท่ีไม่ผ่านให้คัดคาทีไ่ มผ่ ่าน 2 คร้ังและ ฝกึ เขียน ใหม่จนกว่าจะผ่าน 4.) ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปวิธีการเขียนสะกดคาจากเร่ืองทอี่ ่าน เป็นการสรปุ บทเรยี น กิจกรรมท่ี 3 การอา่ นและบอกความหมายของคา เวลา 1 ช่ัวโมง 1.) ครูติดบตั รคาและรูปภาพจากร้จู ักคานาเรอ่ื ง บนกระดานดา ให้นักเรียนดูและช่วยกนั ตอบคาถาม 2.) นกั เรยี นอา่ นหนงั สือเรียน ชดุ ภาษาพาที หน้า 54 พร้อมกัน ครูสมุ่ อ่านทีละคนครูแนะนาแกไ้ ข ข้อผิดพลาด เป็นรายบคุ คล 3.) ร่วมกนั เล่นเกม “ ทายคาดว้ ยท่าทาง” วิธเี ล่นคอื ครกู าหนดภาษาท่าทางไวด้ งั นี้ แถว ใช้ท่า ทางให้อีกคนทาย เชอื ก ใช้ท่า ทางให้อีกคนทาย วงกลม ใช้ทา่ ทางใหอ้ ีกคนทาย ควาญชา้ ง ใชท้ ่า ทางให้อกี คนทาย 4.) นกั เรียนทาแบบฝึกหัด จบั คู่คากับภาพ จากน้นั นาส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอ้ ง 5.) ครแู ละนกั เรียนสรุปบทเรยี นเรือ่ งการอ่านวเิ คราะห์ คารว่ มกนั พร้อมกันเปน็ การสรุปบทเรยี น กจิ กรรมท่ี 4 การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด เวลา 1 ชั่วโมง 1.) ครสู นทนากับนกั เรียนเร่อื งรูปแบบตัวอักษร ครนู ารูปแบบตวั อกั ษรแบบกระทรวงศกึ ษาธิการใหน้ ักเรยี นดู นักเรยี นสงั เกตลกั ษณะตวั อกั ษร 2.) ครอู ธบิ ายหลกั ปฏิบัตใิ นการเขยี นตวั อกั ษรทถ่ี ูกตอ้ ง โดยใหค้ ลอบคลมุ ประเด็นตามท่กี าหนดดงั น้ี 2.1 ความถูกตอ้ งของรูปแบบตวั อักษร 2.2 มาตรฐานของตวั อักษร 2.3 การเว้นชอ่ งไฟ 2.4 การวางตาแหนง่ พยญั ชนะ สระและวรรณยุกต์

3.) จากน้นั เขียนเปน็ ตัวอย่างบนกระดานใหน้ ักเรยี นดู อย่างชา้ ๆ พรอ้ มอธิบายประกอบ 4.) ครูให้นกั เรยี นช่วยกันบอกหลกั เกณฑก์ ารคัดลายมือ ครสู มุ่ นกั เรียนยืนขน้ึ ตอบทีละคน นกั เรียนชว่ ยกันตอบถา้ เพื่อนตอบไมไ่ ด้ ครสู รุปเพ่มิ เตมิ 5.) ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตวั อักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการจากหนังสอื ภาษาพาทเี ร่อื งเพอ่ื นกันในหน้า 59 ความยาว 5 บรรทดั เสร็จแลว้ รวบรวมส่งครู 6.) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปหลักการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดเปน็ การสรุปบทเรียน กจิ กรรมท่ี 5 การแต่งประโยค เวลา 1 ช่วั โมง 1.) ครนู าแถบประโยคมาให้นักเรยี นดู นกั เรียนอ่านแถบประโยคพร้อมกัน 2.) ครนู าแถบประโยคติดบนกระดาน ครูอธิบายลักษณะของประโยค สว่ นประกอบของ ประโยคท่มี ี ใจความสมบูรณ์ ประโยคท่ีไมไ่ ด้ใจความประโยคสามส่วนประกอบด้วย ประธาน+ กรยิ า+กรรม เชน่ คนขี่ชา้ ง คน= ประธาน ข=ี่ กรยิ า ชา้ ง= กรรม ------เป็นประโยคท่มี ีใจความสมบูรณ์ 3.) ครยู กตัวอยา่ งรูปภาพบนกระดานให้นกั เรียนชว่ ยกนั แต่งใหไ้ ดป้ ระโยคทส่ี มบูรณ์ 4.) ครกู าหนดคาศัพท์ประกอบรูปภาพใหน้ ักเรียน 10 คาใหน้ ักเรยี นทกุ คนทาแบบฝกึ หัดแต่งประโยคจากคาท่ีครู กาหนดให้ เสรจ็ แล้วสง่ ครู ครตู รวจผลงานนักเรยี นเป็นรายบุคคล 5.) ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ บทเรียนเร่อื งการแต่งประโยคเป็นการสรปุ บทเรียน กิจกรรมท่ี 6 การรอ้ งเพลงฝกึ จูงหาง เวลา 1 ช่วั โมง 1.) ครูนารปู ช้างติดบนกระดานใหน้ ักเรยี นดู ครูและนักเรยี นสนทนาเกี่ยวกบั ทา่ ทางของชา้ ง เช่น ใครเคยเห็นช้าง แกว่งงวง ใครเคยเห็นชา้ งว่ิงเหยาะๆ ใครเคยรอ้ งเพลงช้างบา้ ง 2.) ครนู าบทเพลงฝึกจงู หาง มาติดบนกระดานให้นกั เรยี นดู นักเรยี นฝึกอา่ นบทเพลงพร้อมกนั จนคลอ่ ง ครูนา นักเรยี นร้องเพลงฝกึ จูงหาง เป็นทานองทไี พเราะ และฝึกร้องเพลงจนคลอ่ ง 3.) นกั เรยี นทดสอบร้องเพลงฝึกจูงหาง ทีละกล่มุ และครูทดสอบทีละคนจนครบทุกคน โดยทกุ คนต้องรอ้ งเพลง ฝกึ จูงหาง ใหถ้ กู ตอ้ งทั้งเนอื้ เพลงและทานองเพลงจึงจะผา่ นเกณฑ์ 4.) ครแู ละนกั เรียนร้องเพลงฝกึ จงู หาง ร่วมกนั เปน็ การสรุปบทเรียน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรียน ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1. 2) บตั รคา 3) รูปภาพ 4) เพลง 5) แบบฝกึ อ่านแจกลูกสะกดคา 6) แบบฝกึ เขยี นตามคาบอก 7) แบบฝกึ เขยี นคาประกอบภาพ 8) แบบฝึกแต่งประโยค 9) แบบฝกึ คัดลายมือ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) อินเทอรเ์ นต็

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 6 เรอื่ งโรงเรยี นลูกช้าง เวลา 3 ชัว่ โมง เร่ือง การอ่านแจกลูกสะกดคา 1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การอา่ นแจกลูกสะกดคาเปน็ กระบวนการขั้นพนื้ ฐานของการนา เสยี งพยญั ชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และเสียง ตวั สะกดมาประสมเสยี งกัน ทาใหอ้ อกเสียงคาตา่ ง ๆท่ีมคี วามหมาย ในภาษาไทยการแจกลูกและการสะกดคา บางครง้ั เรียก รวมกนั ว่า “การแจกลูกสะกดคา ” 2. ตวั ชีว้ ัด ท1.1ป.1/1 อ่านออกเสียงคาและขอ้ ความสน้ั ๆ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อา่ นแจกลูกสะกดคาสระ เ-าะ ม/ี ไมม่ ตี วั สะกดได้ถกู ตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา 2. อ่านแจกลูกสะกดคาสระ -อ มี/ไม่มตี วั สะกดได้ถกู ตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา 3. อ่านสะกดคาจากเรื่องที่อา่ นไดถ้ ูกต้องร้อยละ 70 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - หลักการอ่านแจกลูกสะกดคา 4.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น - เพลง 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 7. การวดั และประเมนิ ผล เครือ่ งมือ เกณฑ์ วธิ กี าร แบบฝกึ อ่าน อ่านไดถ้ ูกตอ้ ง7คาจาก10คา ประเมนิ การอา่ น หนังสือเรียนภาษาพาทีชน้ั ป.1 อา่ นเรอ่ื งไดถ้ กู ต้องร้อยละ 70 สังเกตการใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อเวลา มีความ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รบั ผิดชอบ และมงุ่ มัน่ ในการทางาน

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 การอา่ นแจกลกู สะกดคาสระ เ-าะ มี/ไมม่ ีตัวสะกด ใชว้ ธิ ีสอนแบบบนั ได 6 ขนั้ ; ข้ันท่ี 1 ฝึกอา่ นทกุ วนั จากง่ายไปยาก ขั้นนา 1.) ครนู าบัตรคาสระ เ-าะ ใหน้ ักเรยี นดูใหน้ ักเรยี นทุกคนออกเสยี งพร้อมกัน ขนั้ สอน 2.) ครสู นทนากับนักเรียน สระ เ-าะ เปน็ สระเสยี งสั้นหรือเสยี งยาวครอู อกเสียงให้นกั เรียนฟังนกั เรยี นออกเสียง ตาม 3.) ครอู ธบิ ายหลักการประสมคาสระ เ-าะ ไม่มีตัวสะกด 3.1 ออกเสียงพยญั ชนะต้นเช่น ก ออกเสยี งวา่ กอ 3.2 ประสมกบั เสยี งสระ เ-าะ ออกเสียงวา่ เอาะ เช่น เกาะ อา่ นแจกลกู สะกดคาไดว้ ่า กอ-เอาะ-เกาะ นกั เรยี นฝกึ อา่ นแจกลูกสะกดพร้อมกันทกุ คนจนคล่อง เจาะ เคาะ เบาะ 3.3 ออกเสียงพยญั ชนะทา้ ย คือ ตัวสะกด เช่น แข็ง สะกดว่า ลอ-เอาะ-กอ-ลอ็ ก 4.) ครอู ธบิ ายหลกั การประสมคาสระ เ-าะ มีตวั สะกดสระ เ-าะ จะเปล่ียนเปน็ ไม้ไต่คู้ -็ 5.) ครสู ุม่ นกั เรียนหลาย ๆคนบอกหลักการอ่านแจกลกู สะกดคา และครอู ธิบายเพ่ิมเติมใหน้ กั เรียนเข้าใจยิง่ ข้ึน นักเรยี นฝกึ อ่านแจกลูกสะกดพร้อมกนั ทุกคนจนคล่อง 6.) ครทู ดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเป็นคาท่ีไม่ซ้ากัน ทุกคนต้องอา่ นให้ได้ 7 คาจาก 10 คาจึงจะผา่ นเกณฑ์ ถา้ ใครไมถ่ ึง 7 คาให้ฝกึ อา่ นแลว้ มาสอบใหม่จนกวา่ จะผ่าน ขน้ั สรุป 7.) ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ วิธกี ารอ่านแจกลกู สะกดคาพร้อมกันนักเรียนฝกึ อ่านแจกลกู สะกดคาจากบัตรคา นอกตาราเรยี นที่ครเู ตรียมมาเป็นการสรุปบทเรียน ชั่วโมงท่ี 2 การอา่ นแจกลกู สะกดคาสระ -อ ม/ี ไมม่ ตี ัวสะกด ใชว้ ธิ ีสอนแบบบนั ได 6 ขั้น ; ขนั้ ที่ 1 ฝึกอ่านทกุ วันจากงา่ ยไปยาก ข้ันนา 1.) ครูนาบตั รคาสระ -อ ใหน้ กั เรียนดูใหน้ กั เรยี นทุกคนออกเสียงพร้อมกนั ข้นั สอน 2.) ครูออกเสียงสระ –อ ใหฟ้ งั นกั เรียนออกเสยี งตามครูสนทนากับนักเรียนสระ -อ เป็นเสียงสัน้ หรอื เสียงยาว ครู อธบิ ายให้นักเรียนฟัง 3.) ครอู ธบิ ายหลักการประสมคาสระ -อ ไมม่ ีตวั สะกด เชน่ กอ -ออ –กอ นกั เรยี นฝึกอา่ นแจกลกู สะกดคาพรอ้ มกัน ทกุ คนจนคลอ่ ง 4.) ครูอธิบายหลักการประสมคาสระ -อ มตี ัวสะกด เชน่ จอก สะกดวา่ จอ- ออ – กอ –จอก นักเรียนฝึกอ่านแจก ลกู สะกดพร้อมกนั ทุกคนจนคลอ่ ง 5.) ครทู ดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเป็นคาท่ีไมซ่ ้ากนั ทุกคนต้องอ่านให้ได้ 7 คาจาก 10 คาจึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าใครไมถ่ ึง 7 คาให้ฝกึ อา่ นแลว้ มาสอบใหม่จนกวา่ จะผ่าน ขั้นสรปุ 6.) ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปวธิ ีการอา่ นแจกลกู สะกดคาพรอ้ มกัน นักเรียนฝึกอ่านแจกลูกสะกดคา

สระ -อ มี/ไมม่ ีตัวสะกดจากบัตรคานอกตาราเรยี นท่ีครเู ตรียมมาเปน็ การสรุปบทเรียน ช่ัวโมงท่ี 3 การอ่านแจกลูกสะกดคาจากเร่ืองที่อ่าน ใชว้ ธิ สี อนแบบบนั ได 6 ข้นั ; ขน้ั ที่ 1 ฝึกอ่านทกุ วนั จากง่ายไปยาก กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นา 1.) ร่วมกนั สนทนากับนกั เรียน จากบทเรียนท่ีเรยี นผ่านมา เปน็ การนาเข้าสู่บทเรียนเรอ่ื งตอ่ ไป ขน้ั สอน 2.) ครูเขยี นคาว่า แถว เชือก กล้วย หมบู่ ้าน วงกลม ควาญช้าง ละ ทา ใช้ ก่ี ซ้า เมอื่ บนกระดานดาครูนา นกั เรียนอ่านสะกดคา นกั เรียนอา่ นสะกดคาตามพรอ้ มกันจนคล่อง จากนนั้ ให้อา่ นทีละคน 3.) ครูทดสอบอา่ นทีละคน นกั เรยี นต้องอา่ นใหไ้ ดร้ อ้ ยละ 70 ขน้ึ ไปจึงผ่านเกณฑ์ คนทไ่ี ม่ผ่านต้องฝึกอา่ นจนคลอ่ ง แลว้ มาสอบใหมจ่ นกว่าจะผ่าน 4.) นกั เรยี นทีอ่ า่ นผ่านเกณฑแ์ ลว้ ครใู หท้ าแบบฝึกหัดส่งครู ครตู รวจสอบความถกู ต้องและเฉลย ขน้ั สรปุ 5.) นกั เรียนอ่านออกเสยี งคาเรอื่ ง โรงเรยี นลูกชา้ ง ตั้งแตห่ น้าแรกจนถึงหนา้ สดุ ท้ายเป็นการสรปุ บทเรยี น 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน ภาษาพาทีช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2) แบบฝกึ อ่าน 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) อินเทอร์เนต็

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 3 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เรอ่ื งโรงเรียนลกู ช้าง เรือ่ ง การเขยี นสะกดคา 1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การเขียนสะกดคา ผู้เรยี นต้องเรยี นรู้ท้ังในดา้ นองคป์ ระกอบของคา หลักการเขยี นสะกดคา หลักการประสมคา การวางรูปพยญั ชนะต้น สระตวั สะกดและวรรณยกุ ตไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ต้องรูจ้ กั สังเกตจดจาลกั ษณะของคาท่ีอา่ น เพือ่ นาไปส่กู าร เขยี นคาทถี่ กู ต้อง 2. ตวั ชว้ี ัด ท 4.1ป.1/2 เขียนสะกดคาจากเรื่องทอี่ ่าน 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. เขียนคาสระ เ-าะ มี/ไมม่ ีตัวสะกดไดถ้ กู ต้อง 7 คาจาก 10 คา 2. เขียนคาสระ -อ ม/ี ไมม่ ีตัวสะกดไดถ้ กู ต้อง 7 คาจาก 10 คา 3. เขียนคาจากเรื่องท่ีอ่านได้ถูกต้อง 7 คาจาก 10 คา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - หลักการประสมคา 4.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน - บทอ่านวิเคราะห์ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคิด 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือ เกณฑ์ วิธีการ แบบฝกึ เขียนตามคาบอก เขียนสะกดคาถกู ตอ้ ง7คาจาก ตรวจแบบฝึกเขยี นตามคาบอก 10คา สังเกตการใฝ่เรยี นรู้ ตรงตอ่ เวลา มคี วาม แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รับผิดชอบ และม่งุ ม่นั ในการทางาน

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงที่ 1. การเขียนสะกดคาสระ เ-าะ มี/ไมม่ ีตวั สะกด ใช้วิธสี อนแบบบันได 6 ขนั้ ; ขน้ั ท่ี 2 เขียนตามคาบอกจากสง่ิ ที่อ่าน ขน้ั นา 1.) ครนู าบัตรคาประสมสระ เ-าะ ม/ี ไมม่ ีตัวสะกดให้นักเรยี นอ่านพร้อมกนั เปน็ การทบทวน ข้นั สอน 1.) ครูนาบัตรคาประสมสระ เ-าะ ม/ี ไมม่ ตี วั สะกดใหน้ ักเรียนอ่านพร้อมกนั เป็นการทบทวน 2.) ครอู ธิบายหลักการเขียนสะกดคาและยกตัวอยา่ งการเขียนให้นักเรียนดเู ป็นตัวอย่างนักเรียนสงั เกต จดจา นักเรียนฝกึ อา่ นสะกดคาพร้อมกันอกี ครง้ั จนคลอ่ ง 3.) ครใู ห้นักเรยี นเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครตู รวจผลงาน สาหรบั นกั เรยี นท่ีไมผ่ ่านให้คดั คาที่เขียนไมไ่ ด้ คาละ 2 ครัง้ แลว้ มาสอบเขียนใหม่จนกว่าจะผา่ น 4.) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปวธิ กี ารเขยี นสะกดคาสระ เ-าะ ม/ี ไมม่ ตี ัวสะกดเป็นการสรุปบทเรยี น ขัน้ สรปุ 4.) ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปวธิ ีการเขียนสะกดคาสระ เ-าะ มี/ไม่มตี วั สะกดเป็นการสรุปบทเรยี น ชว่ั โมงท่ี 2. การเขยี นสะกดคาสระ -อ มี/ไม่มีตัวสะกด ใชว้ ิธสี อนแบบบันได 6 ขน้ั ; ข้นั ท่ี 2 เขียนตามคาบอกจากส่งิ ท่อี ่าน ขั้นนา 1.) ครนู าบตั รคาประสมสระ -อ มี/ไมม่ ีตวั สะกดให้นักเรียนอ่านพร้อมกนั เป็นการทบทวน นักเรยี นสงั เกตและจดจา ลักษณะของคาที่ประสมสระ -อ ม/ี ไมม่ ีตัวสะกด ข้ันสอน 2.) ครูอธบิ ายหลักการเขยี นสะกดคาและยกตวั อยา่ งการเขยี นให้นกั เรียนดูเปน็ ตัวอย่างนักเรยี นสงั เกต จดจา นักเรยี นฝกึ อ่านสะกดคาพร้อมกันอีกคร้ังจนคลอ่ ง 3.) ครูใหน้ ักเรยี นเขยี นตามคาบอกของครู 10 คา ครูตรวจผลงานนักเรียนตอ้ งเขียนสะกดคาถูกตอ้ ง 7 คา จาก10 คาจงึ ผา่ นเกณฑ์สาหรบั คนทผี่ ่านเกณฑ์ครใู ห้ทาใบงานสง่ ครู ส่วนคนที่ไม่ผ่านให้ คัดคาท่ีไมผ่ ่าน 2 คร้งั และฝึกเขยี น ใหมจ่ นกวา่ จะผ่าน ข้นั สรปุ 4.) ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปวิธกี ารเขยี นสะกดคาประสมสระ -อ ม/ี ไม่มีตัวสะกด เปน็ การสรุปบทเรยี น ชัว่ โมงที่ 3. การเขียนสะกดคาจากเรอ่ื งที่อา่ น ใช้วิธสี อนแบบบันได 6 ขั้น ; ข้นั ท่ี 2 เขียนตามคาบอกจากสิ่งทีอ่ ่าน ขัน้ นา 1.) ครใู หน้ ักเรียนอ่านบทอา่ นจากเรอ่ื งทีผ่ ่านมาเปน็ การทบทวน นักเรยี นสังเกต จดจาลักษณะการเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกตข์ องคาแต่ละคา ขน้ั สอน 2.) ครูอธิบายหลกั การเขียนสะกดคาและยกตวั อยา่ งการเขียนใหน้ กั เรียนดเู ป็นตัวอยา่ งนกั เรียนสังเกต จดจา นักเรยี นฝึกอ่านสะกดคาพรอ้ มกันอกี ครงั้ จนคลอ่ ง

3.) ครใู ห้นกั เรียนเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครตู รวจผลงานนกั เรยี นต้องเขียนสะกดคาถูกต้อง 7 คา จาก 10 คาจงึ ผา่ นเกณฑ์ สาหรับคนท่ีผา่ นเกณฑ์ครูให้ทาใบงานสง่ ครู ส่วนคนท่ีไม่ผา่ นให้คัดคาทไ่ี มผ่ ่าน 2 ครัง้ และ ฝึก เขียนใหม่จนกวา่ จะผ่าน ขั้นสรปุ 4.) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ วธิ ีการเขียนสะกดคาจากเรอื่ งท่ีอ่าน เป็นการสรปุ บทเรียน 9. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี น ภาษาพาทชี นั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 2) แบบฝึกอ่าน 3) แบบฝกึ เขียนตามคาบอก 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) อินเทอร์เน็ต

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 3 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 1 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 เรือ่ งโรงเรียนลูกชา้ ง เรื่อง การอา่ นและบอกความหมายของคา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ความหมายของคา คือ สิ่งท่คี าจะบอกถึงว่าหมายถงึ อะไร คา มีความหมายวา่ เสียงทีเ่ ปล่งออกมาแล้วตอ้ งมี ความหมายด้วย ดงั นนั้ คาจงึ ประกอบดว้ ย เสียงและความหมายถ้ามแี คเ่ สยี งไมม่ ีความหมายจงึ เรียกว่า พยางค์ สาหรับ นักเรยี นทพ่ี ง่ึ เรม่ิ ฝกึ อา่ นใหมต่ อ้ งศึกษาความหมายของคาไปด้วย เพ่ือนาไปสู่การใช้คาภาษาไทยที่ถกู ตอ้ ง 2. ตวั ช้วี ัด ท 1.1ป.1/2 บอกความหมายของคาท่ีอ่าน 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อา่ นและบอกความหมายของคาจากเรอ่ื งทอ่ี า่ นได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง - การวิเคราะหค์ า - การบอกความหมายของคา 4.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน - บทอา่ นวิเคราะห์ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน 7. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หดั จับคู่คากับภาพ จบั คู่คาไดถ้ กู ตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา สงั เกตการใฝเ่ รยี นรู้ ตรงต่อเวลา มีความ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รบั ผดิ ชอบ และมุ่งม่นั ในการทางาน

8. กิจกรรมการเรียนรู้ เวลา 1 ช่ัวโมง เร่ืองที่ การอา่ นและบอกความหมายของคา ใช้วิธสี อนแบบบันได 6 ข้นั ; ขัน้ ที่ 3 เขยี นคาประกอบภาพ ข้นั นา 1.) ครูติดบตั รคาและรปู ภาพจากร้จู กั คานาเร่อื ง บนกระดานดา ใหน้ ักเรยี นดูและช่วยกนั ตอบคาถาม ขน้ั สอน 2.) นักเรยี นอา่ นหนงั สือเรยี น ชดุ ภาษาพาที หน้า 44 พร้อมกัน ครูสมุ่ อา่ นทีละคนครูแนะนาแก้ไข ขอ้ ผิดพลาด เป็นรายบุคคล 3.) รว่ มกันเลน่ เกม “ ทายคาด้วยทา่ ทาง” วิธีเล่นคอื ครูกาหนดภาษาท่าทางไวด้ งั น้ี แถว ใชท้ า่ ทางใหอ้ ีกคนทาย เชือก ใช้ท่า ทางใหอ้ กี คนทาย วงกลม ใช้ท่า ทางใหอ้ กี คนทาย ควาญช้าง ใช้ท่า ทางใหอ้ ีกคนทาย 4.) นกั เรียนทาแบบฝกึ หัด จบั คูค่ ากับภาพ จากนน้ั นาสง่ ครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ข้นั สรุป 5.) ครูและนักเรยี นสรุปบทเรยี นเรอ่ื งการอ่านวิเคราะห์ คารว่ มกัน พร้อมกันเปน็ การสรปุ บทเรยี น 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน ภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) แบบฝึกหดั จบั คู่คากับภาพ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ห้องสมุด 2. อนิ เทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 เรอื่ งโรงเรียนลูกช้าง เวลา 1 ชัว่ โมง เร่อื ง การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด 1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การคดั ลายมือ เป็นการเขยี นฝึกเขียนตวั อกั ษรไทยใหถ้ กู ต้องตามหลกั การเขียนโดยการเขียนให้อ่านง่าย มีช่องไฟ และวรรคตอนเหมาะสม ตัวอักษรเสมอกัน วางพยญั ชนะ สระและวรรณยุกตถ์ ูกที่ ตวั สะกดการันต์ถูกต้องและลายมือ สวยงามเปน็ ระเบยี บ 2. ตวั ชว้ี ัด ท 2.1 ป.1/1 คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทยได้ถกู ตอ้ งและสวยงาม 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทย 4.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ - เพลง 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน 7. การวัดและประเมินผล วิธกี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด คัดลายมือไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม สงั เกตการใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อเวลา มคี วาม แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รับผิดชอบ และมุ่งม่นั ในการทางาน

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้วิธีสอนแบบบนั ได 6 ขั้น ; ข้ันที่ 4 คัดลายมือ ขัน้ นา 1.) ครสู นทนากับนักเรียนเร่ืองรูปแบบตัวอกั ษร ครูนารูปแบบตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธกิ ารให้นักเรยี นดู นกั เรยี นสังเกตลักษณะตัวอักษร ขัน้ สอน 2.) ครอู ธบิ ายหลักปฏิบัตใิ นการเขยี นตัวอักษรท่ถี ูกตอ้ ง โดยใหค้ ลอบคลุมประเด็นตามที่กาหนดดังน้ี 2.1 ความถกู ตอ้ งของรูปแบบตัวอักษร 2.2 มาตรฐานของตัวอกั ษร 2.3 การเวน้ ช่องไฟ 2.4 การวางตาแหนง่ พยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ต์ 3.) จากน้ันเขียนเป็นตัวอยา่ งบนกระดานใหน้ ักเรยี นดู อยา่ งชา้ ๆ พร้อมอธบิ ายประกอบ 4.) ครใู หน้ กั เรยี นช่วยกนั บอกหลักเกณฑ์การคัดลายมือ ครูสุ่มนกั เรียนยนื ขึ้นตอบทลี ะคน นกั เรยี นช่วยกนั ตอบถ้า เพือ่ นตอบไมไ่ ด้ ครูสรุปเพิม่ เตมิ 5.) ครมู อบหมายให้นักเรียนแต่ละคนคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตัวอกั ษรแบบกระทรวงศกึ ษาธิการจาก หนังสือภาษาพาทีเร่อื งภผู าในหน้า 59 ความยาว 5 บรรทดั เสรจ็ แลว้ รวบรวมสง่ ครู ข้นั สรุป 6.) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ หลักการคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เป็นการสรปุ บทเรียน 9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน ภาษาพาทีชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 2) แบบฝกึ คัดลายมอื 3) ตัวอย่างรปู แบบตวั อกั ษรกระทรวงศกึ ษาธิการ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) อินเทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เรือ่ งโรงเรียนลูกชา้ ง เวลา 1 ช่ัวโมง เรอื่ ง การแตง่ ประโยค 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ประโยคคอื คาทีน่ ามาเรียงกันและได้ใจความสมบูรณ์ทาให้ผูฟ้ ังเขา้ ใจว่า ใครทาอะไรทไี่ หน ทาอาการอยา่ งไร ประโยคประกอบดว้ ยสองส่วนสาคญั คือ 1. ภาคประธานไดแ้ ก่ผ้กู ระทากรยิ า 2. ภาคแสดงได้แก่ส่วนทเี่ ป็นกรยิ า คือแสดง การกระทาของประธาน 2. ตวั ช้วี ัด ท 4.1 ป.1/3 เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ 3.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. แตง่ ประโยคจากภาพได้ถกู ตอ้ ง 7 ประโยคจาก 10 ประโยค 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - สว่ นประกอบของประโยค - การแตง่ ประโยค 4.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ - บทอ่านวิเคราะห์ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. การวดั และประเมินผล เคร่อื งมอื เกณฑ์ วธิ กี าร แบบฝกึ แต่งประโยค แต่งประโยคได้ถกู ตอ้ ง ตรวจแบบฝึกหัด 7 ประโยคจาก 10 ประโยค สังเกตการใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อเวลา มีความ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รบั ผดิ ชอบ และมุ่งมนั่ ในการทางาน

8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ใชว้ ิธสี อนแบบบันได 6 ข้นั ; ขั้นที่ 5 แต่งประโยค ขั้นนา 1.) ครูนาแถบประโยคมาให้นักเรียนดู นกั เรยี นอา่ นแถบประโยคพร้อมกัน ขน้ั สอน 2.) ครูนาแถบประโยคติดบนกระดาน ครูอธบิ ายลักษณะของประโยค ส่วนประกอบของ ประโยคทม่ี ี ใจความสมบูรณ์ ประโยคท่ไี ม่ไดใ้ จความประโยคสามสว่ นประกอบด้วย ประธาน+ กริยา+กรรม เช่น คนข่ชี ้าง คน= ประธาน ข=่ี กริยา ชา้ ง= กรรม ------เปน็ ประโยคทีม่ ใี จความสมบรู ณ์ 3.) ครยู กตวั อยา่ งรปู ภาพบนกระดานใหน้ กั เรียนช่วยกนั แต่งให้ไดป้ ระโยคที่สมบูรณ์ 4.) ครูกาหนดคาศัพทป์ ระกอบรปู ภาพให้นกั เรียน 10 คาใหน้ กั เรยี นทุกคนทาแบบฝึกหัดแต่งประโยคจากคาท่ีครู กาหนดให้ เสร็จแล้วส่งครู ครูตรวจผลงานนักเรียนเป็นรายบุคคล ขน้ั สรุป 5.) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ บทเรียนเรือ่ งการแต่งประโยคเปน็ การสรุปบทเรยี น 9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน ภาษาพาทชี ้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 2) แบบฝึกแต่งประโยคจากภาพ 3) แถบประโยค 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมดุ 2) อนิ เทอรเ์ น็ต

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เรอื่ งโรงเรียนลกู ชา้ ง เวลา 1 ช่ัวโมง เรือ่ ง การอา่ นและร้องเพลง 1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เพลงชา้ งป่านา่ รักเปน็ เพลงทีม่ ีความสาคญั เพราะการร้องเพลง การปรบมือ และการเคาะจงั หวะเปน็ พนื้ ฐานของ การเรียนรู้ การขบั ร้องและดนตรีเพ่อื ใหน้ ักเรียนได้รู้จกั และซาบซงึ้ ในในเพลงไทย เมื่อผู้ร้องขับรอ้ งเพลงก็สร้างความ สนกุ สนานให้กบั ทั้งผ้รู ้องและผฟู้ ังอกี ทง้ั ยังร้องง่ายและเปน็ พื้นฐานให้กบั ผูเ้ ริม่ ฝึกอา่ นเป็นอย่างดี 2. ตัวชี้วัด ป.1/2 ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่าตามความสนใจ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.รอ้ งเพลงลากันไปโรงเรยี นได้ถกู ตอ้ งตามทานองสนกุ สนาน 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การรอ้ งเพลง 4.2 สาระการเรียนรูท้ ้องถน่ิ - เพลง 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มั่นในการทางาน 7. การวัดและประเมินผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ วธิ กี าร เนอื้ เพลง - อา่ นและร้องเพลงช้างไดถ้ กู ต้องตาม ทดสอบร้องเพลง ทานองสนุกสนาน สงั เกตการใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อเวลา มีความ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รับผดิ ชอบ และมงุ่ ม่ันในการทางาน ประสงค์

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ใชว้ ธิ กี ารสอนแบบ การร้องเพลง ข้นั นา 1.) ครูนารปู ชา้ งตดิ บนกระดานใหน้ กั เรยี นดู ครแู ละนกั เรียนสนทนาเกี่ยวกับทา่ ทางของช้าง เช่น ใครเคยเหน็ ช้าง แกว่งงวง ใครเคยเหน็ ชา้ งว่ิงเหยาะๆ ใครเคยร้องเพลงช้างบา้ ง ขั้นสอน 2.) ครูนาบทเพลงฝกึ จูงหางมาติดบนกระดานให้นักเรยี นดู นักเรยี นฝกึ อา่ นบทเพลงพรอ้ มกันจนคลอ่ ง ครูนา นักเรียนร้องเพลงฝกึ จูงหางเปน็ ทานองทไี พเราะ นกั เรียนรอ้ งเพลงฝึกจูงหางตามครแู ละฝึกรอ้ งเพลงจนคล่อง 3.) นกั เรยี นทดสอบรอ้ งเพลงฝึกจูงหางทีละกล่มุ และครูทดสอบทีละคนจนครบทกุ คน โดยทกุ คนต้องร้องเพลงฝกึ จูงหางให้ถกู ตอ้ งทัง้ เน้ือเพลงและทานองเพลงจึงจะผ่านเกณฑ์ ขน้ั สรปุ 4.) ครแู ละนกั เรยี นร้องเพลงฝึกจูงหางร่วมกนั เป็นการสรปุ บทเรียน 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น ภาษาพาทชี ั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) เพลง 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) อินเทอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมดุ

แบบฝกึ อ่านท่ี 1.1 การอา่ นแจกลกู สะกดคาสระ เ-าะ ม/ี ไม่มีตวั สะกด คาชแี้ จง 1. ใหน้ กั เรียนอ่านสะกดคา ภายในเวลา ๕ นาที 2. ครูยกตวั อย่างการอา่ นสะกดคา ตวั อย่าง เกาะ สะกดว่า กอ – เอาะ – เกาะ ล็อก สะกดวา่ ลอ – เอาะ -กอ – ล็อก ขอ้ ท่ี คา ผลการประเมิน อา่ นได้ อ่านไมไ่ ด้ 1 เคาะ 2 เจาะ 3 เปาะ 4 เยาะ 5 เพาะ 6 เหาะ 7 เสาะ 8 เมาะ 9 ช็อก 10 ฟ็อก ชอื่ ผรู้ ับการประเมนิ …………………………………………………………………………….ช้นั ……………เลขที่………… คะแนนทไ่ี ด้……………………………………ผ่าน………………ไมผ่ า่ น………………. ผปู้ ระเมนิ ………………………………………. ช่วงคะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ตา่ กวา่ 7 ระดับคณุ ภาพ 7- 10 ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์

แบบฝกึ อ่านที่ 1.2 การอ่านแจกลกู สะกดคาสระ -อ มี/ไม่มตี วั สะกด คาชแ้ี จง 1. ใหน้ ักเรยี นอา่ นสะกดคา ภายในเวลา 5 นาที 2. ครูยกตัวอยา่ งการอ่านสะกดคา ตัวอยา่ ง คอ สะกดวา่ คอ – ออ– คอ กอก สะกดวา่ กอ – ออ -กอ – กอก ข้อท่ี คา ผลการประเมิน อา่ นได้ อา่ นไมไ่ ด้ 1 ตอ 2 สอ 3 ปอ 4 จอบ 5 ขอด 6 นอน 7 บอม 8 คอย 9 มอง 10 ลอก ชื่อผู้รับการประเมนิ …………………………………………………………………………….ชนั้ ……………เลขที่………… คะแนนทีไ่ ด้…………………………………….ผ่าน……………..ไม่ผา่ น……………… ผู้ประเมนิ ………………………………………. ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ตา่ กวา่ 7 ระดบั คณุ ภาพ 7- 10 ไม่ผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์