Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัสดุและสสาร

วัสดุและสสาร

Published by nankunita_1151, 2022-03-05 15:56:23

Description: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วัสดุและสสาร เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา นวัตกรรมการศึกษา

Search

Read the Text Version

วัสดุและสสาร ระดับชั้นป.4

วัสดุและสสาร สมบัติทางกายภาพของวัสดุ ความแข็งของวัสดุ สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ การนำความร้อนของวัสดุ การนำไฟฟ้าของวัสดุ สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

วัสดุ วัสดุ คือ สิ่งที่นำมาใช้ทำวัตถุหรือสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่เราพบเห็นและ ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน วัสดุแต่ละชนิด ถูกนำไปใช้ทำสิ่งของแตกต่างกัน ตามความเหมาะสมและการ ใช้งาน วัสดุมีหลายชนิด เช่น ไม้ แก้ว ยางพารา พลาสติก ฝา ย เส้นใยสังเคราะห์ โลหะต่าง ๆ เป็นต้น เราสามารถจำแนก ประเภทของวัสดุได้ ดังนี้ 1.วัสดุธรรมชาติ 2.วัสดุสังเคราะห์

ประเภทของวัสดุ วัสดุแบ่งตามแหล่งที่มาได้ 2 ประเภท คือ 1.วัสดุธรรมชาติ วัสดุที่ได้มาจากธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย ไม้ เปลือกหอย ขนสัตว์ ใยไหม ยางธรรมชาติ เป็นต้น ใยไหม เปลือกหอย ขนสัตว์

ประเภทของวัสดุ วัสดุแบ่งตามแหล่งที่มาได้ 2 ประเภท คือ 2.วัสดุสังเคราะห์ เป็นวัสดุที่เกิดจากกระบวนการสารเคมี เช่น พลาสติก ใย สังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ โฟม กระเบื้องยาง วัสดุหลายสิ่งนี้นำมา ใช้ทดแทนวัสดุธรรมชาติ ขวดพลาสจิก โฟม กระเบื้อง

สมบัติของวัสดุ วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกัน จึงนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิต ประจำวันได้แตกต่างกัน ซึ่งสมบัติทางกายภาพของวัสดุมีดังนี้ 1. ความแข็ง 2. สภาพยืดหยุ่น 3. การนำความร้อน 4.การนำไฟฟ้า

สมบัติของวัสดุ 1.ความแข็ง เมื่อนำวัสดุชนิดหนึ่งขีดลงบนพื้นผิวของวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ถ้าวัสดุที่ถูกขีดเป็นรอย นั่นแสดงว่า วัสดุนั้นมีความแข็งน้อย กว่าวัสดุที่นำมาขีด ถ้าวัสดุที่ถูกขีดไม่เป็นรอย นั่นแสดงว่า วัสดุนั้นมีความแข็งมากกว่าวัสดุ ที่นำมาขีด

สมบัติของวัสดุ ความเหนียว ความทนทานต่อแรงที่มากระทำ (ทุบ กระตุก ดึง ฉีก หรือรับน้ำ หนัก) โดยที่เนื้อสัสดุไม่เกิดการฉีกขาดหรือแตกแยกออกจากกัน วัสดุที่มีความเหนียวมากจะทนต่แรงดึง แรงลาก หรือสามารถรับน้ำ หนักของสิ่งต่างๆได้มากกว่าวัสดุที่มีความเหนียวน้อย สมบัติความ เหนียวของวัสดุสามารถนำไปประดิษฐ์ของใช้ต่างๆ เช่น เชือก ตาข่าย เส้นเอ็น เป็นต้น Ex. เส้นเอ็นมีความเหนียว สามารถทนแรงดึงของปลาได้

สมบัติของวัสดุ 2.สภาพยืดหยุ่น สมบัติของวัตถุที่เมื่อถูกแรงกระทำให้รูปร่างเปลี่ยนไปแล้ว เมื่อแรงหยุด กระทำ วัตถุจะคืนรูปร่างสู่สภาพเดิมได้ เช่น การดึงหนังยางแล้วเมื่อหยุด ออกแรง หนังยางจะคืนสู่สภาพเดิม หรือการบีบฟองน้ำแล้วเมื่อหยุด ออกแรงบีบ ฟองน้ำจะคืนกลับรูปร่างเดิม แสดงว่าหนังยางแลพฟองน้ำมี สภาพยืดหยุ่น เป็นต้น

สมบัติของวัสดุ 3.การนำความร้อน การส่งผ่านความร้อนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังจุดทีมี อุณหภูมิต่ำกว่า มีวัตถุเป็นตัวกลางโดยวัตถุจะอยู่กับที่ แต่ความ ร้อนจุค่อยๆ แผ่กระจายไปตามเนื้อวัตถุนั้น เช่น เราจับแก้วน้ำร้อน ตอนแรกๆจะไม่รู้สึกร้อน แต่จะค่อยๆ ร้อนจนจับไม่ได้ ช้อนโลหะ หม้ออลูมิเนียม ทัมพี

สมบัติของวัสดุ วัสดุที่นำความร้อน แหวนเงิน สร้อยทอง ตะกร้อตีไข่ วัสดุที่ไม่นำความร้อน หนังยาง ไม้ ขันพลาสติก

สมบัติของวัสดุ 4.การนำไฟฟ้า เป็นสมบัติในการยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่านได้ วัสดุที่กระแสไฟฟ้า ผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า เช่น เงิน ทองแดง เหล็ก อะลูมิเนียม แกรไฟต์ เป็นต้น ส่วนวัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ไม่ดีหรือผ่านไม่ได้ เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า เหล็ก ทองแดง เงิน

สมบัติของวัสดุ วัสดุที่นำไฟฟ้า แหวนเงิน สร้อยทอง ตะกร้อตีไข่ วัสดุที่ไม่นำไฟฟ้า ไม้บรรทัดเหล็ก ประแจ ตะปู

สสาร สสาร คือ สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถ สัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มี ตัวตน ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือมองไม่ เห็นก็ได้ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา นั้น ล้วนเป็น สสาร ทั้งสิ้น เช่น อากาศ หิน ดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์ บ้าน รถ หรือแม้กระทั้งตัวเราเองเป็นต้น

สสาร เมื่อจำแนกสารโดยใช้การจัดเรียงตัวของ อนุภาคที่เป็นองค์ประกอบเป็นเกณฑ์ สารแบ่ง ออกเป็น 3 สถานะ ดังนี้ ของแข็ง (Solid) ของเหลว (Liquid) แก๊ส (Gas)

สสาร 1.ของแข็ง (Solid) คือ สถานะหนึ่งของสสารที่ภายนอกมีลักษณะเป็นก้อน ของแข็งเป็น ปริมาตรคงที่ สามารถวัดได้โดยใช้เครื่องมือวัดปริมาตร เป็นสารที่มี รูปร่างและปริมาณคงที่ อนุภาคภายในอยู่ชิดติดกัน

สสาร 2.ของเหลว (Liquid) สถานะหนึ่งของสสารซึ่งมีปริมาตรคงตัว เพราะยังมีแรงยึด เหนี่ยวหลวม ๆ ระหว่างโมเลกุล แต่รูปร่างจะเปลี่ยนไปได้ตามภาชนะ ที่รองรับ, สถานะระหว่างแก๊สกับของแข็ง

สสาร 3.แก๊ส (gas) สถานะหนึ่งของสสาร ไม่มีรูปร่าง และปริมาตรที่แน่นอนขึ้นอยู่กับ ภาชนะที่บรรจุอนุภาคเคลื่อนที่ตลอดเวลาได้อย่างมีอิสระ ไม่มี ทิศทางที่แน่นอน

สสาร อนุภาคของสสาร 1.ของแข็ง 2.ของเหลว 3.แก๊ส (solid) (liquid) (Gas)

สสาร การเปลี่ยนสถานะของสสาร





จัดทำโดย นางสาวคุณิตา เผือกบัวขาว นางสาวอารินี ยีอาแว 6110941105 6110941126

ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่>>>>


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook