Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Living Healthy

Living Healthy

Published by twentyhavenoclue, 2021-12-16 21:58:37

Description: Healthy

Search

Read the Text Version

TO LEARN MORE ABOUT LIVING MENTAL HEALTH HEALTHY CONTENT ABOUT MENTAL HEALTH AND HOW TO EAT FOR HAVING A GOOD HEALTH. ณิชนันทน์ หวานคำพร ม.6/7 27

Living healthy ทำไม? เด็กและวัยรุ่นก็เสี่ยงเป็นเบาหวานได้ นางสาว ณิชนันทน์ หวานคำพร ม.6/7 เลขที่ 27

โรคเบาหวาน (Diabetes) เป็นภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือด สูงผิดปกติจากการที่ร่างกายไม่สามารถหลั่งสารอินซูลินใน ปริมาณที่เพียงพอเพื่อมาจัดการกับระดับน้ำตาล หรือเกิด “ภาวะดื้ออินซูลิน” ที่สารอินซูลินที่ร่างกายหลั่งมานั้นมี ประสิทธิภาพไม่ดีพอต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ที่จะส่งผลต่อไปต่อกระบวนเผาผลาญหรือกระบวนการ เปลี่ยนอาหารและเครื่องดื่มที่บริโภคเข้าไปให้กลายเป็น พลังงานโดยเฉพาะน้ำตาล โดยหากระดับน้ำตาลในเลือดไม่ สามารถถูกควบคุมให้อยู่ในระดับปกติจะส่งผลกระทบที่ สามารถทำลายหัวใจ หลอดเลือด ไต และระบบประสาท

สาเหตุโรคเบาหวานชนิดที่ 1 สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเพศทุกวัย และพบได้บ่อย สำหรับโรคเบาหวานเด็กและวัยรุ่น สาเหตุเกิจาก:ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำลายเซลที่ผลิตอินซูลินในตับอ่อน โดยสาเหตุ ยังไม่เป็นที่แน่ชัดซึ่งวงการแพทย์ได้ทำการ วิเคราะห์หาสาเหตุต่อไป เมื่อเกิดสภาวะนี้ ร่างกายจะไม่สามารถเผาผลาญและนำน้ำตาล (Glucose) ที่อยู่ภายในกระแสเลือดไปใช้เป็น พลังงานได้อย่างเหมาะสม รวมถึงไม่สามารถขับ ออกทางปัสสาวะได้อย่างเป็นปกติ จึงทำให้เกิด สภาวะน้ำตาลในร่างกายมากเกินไป

สาเหตุโรคเบา หวานชนิดที่ 2 ●มีโอกาสพบได้ในวัยรุ่น สาเหตุเกิดจาก: ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เพียงพอและเซลล์ไม่สามารถ ●นำน้ำตาล (Glucose) มาใช้ในการสร้างพลังงานได้ดีนัก ในวัยรุ่นที่มีน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน และมีประวัติครอบครัวที่ เคยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 นี้ จึงส่งผลให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ● ผู้ที่มีชาติพันธ์ุที่เป็นชาวเอเชียใต้ที่มีมีอายุ 25 ปีขึ้นไป ● จะมีความเสี่ยงมากขึ้นเมื่อมีอายุ 40 ปีขึ้นไป

ทำความรู้จักยา พาราเซตามอล ยาพาราเซตามอลสามารถใช้สำหรับบรรเทาอาการปวดในระดับเล็ก น้อยถึงปานกลาง และมีคุณสมบัติในการช่วยลดไข้ โดยยามีฤทธิ์ใน การยับยั้งสารเคมีบางชนิดในสมอง ซึ่งเชื่อมโยงกับอาการปวดและ ทำให้เกิดกลไกการลดอุณหภูมิในร่างกาย เป็นผลทำให้อาการปวดได้ รับการบรรเทาและไข้ลดลง โดยถือเป็นยาที่ไม่มีอันตราย แต่ถึงอย่าง นั้นก็ควรใช้ยาด้วยปริมาณที่ถูกต้องและเหมาะสม เนื่องจากในระยะ ยาวอาจส่งผลข้างเคียงต่อตับ ซึ่งหากใครที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือ ต้องการตรวจเช็คความผิดปกติ สามารถตรวจค่าการอักเสบของค่า ตับและควรเลือกศูนย์ตรวจสุขภาพที่น่าเชื่อถือเท่านั้น

ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น ย า พ า ร า เ ซ ต า ม อ ล ที่ ถู ก ต้ อ ง เ นื่ อ ง จ า ก เ ป็ น ย า ที่ ใ ช้ ล ด •ปริมาณที่เหมาะสม คือปริมาณ อ า ก า ร ป ว ด แ ล ะ ล ด ไ ข้ ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ ทำ ใ ห้ ห ล า ย ยา 10-15 มิลลิกรัมต่อน้ำหนัก ค น นิ ย ม บ ริ โ ภ ค เ มื่ อ มี อ า ก า ร ป ว ด บ ริ เ ว ณ ต่ า ง ๆ แ ล ะ เ มื่ อ ตัว 1 กิโลกรัม ในการรับ เ กิ ด อ า ก า ร เ ป็ น ไ ข้ โ ด ย ไ ม่ ท ร า บ ถึ ง อั น ต ร า ย ข อ ง ย า ป ร ะ ท า น ต่ อ ค รั้ ง ช นิ ด นี้ ที่ จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ตั บ ห า ก มี ก า ร ใ ช้ • ค ว ร เ ว้ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร รั บ เ กิ น ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม บ า ง ร า ย เ กิ ด ภ า ว ะ ไ ต ว า ย ประทานยาอย่างน้อย 4-6 เ ฉี ย บ พ ลั น แ ล ะ นำ ไ ป สู่ ก า ร เ สี ย ชี วิ ต ห รื อ บ า ง ร า ย ห า ก ชั่วโมง โดยไม่ควรทานเกินครั้ง ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร ต ร ว จ สุ ข ภ า พ อ ย่ า ง ส ม่ำ เ ส ม อ อ า จ รู้ ตั ว อี ก ละ 2 เม็ด ที เ มื่ อ เ กิ ด โ ร ค เ รื้ อ รั ง ที่ ตั บ ไ ป แ ล้ ว ดั ง นั้ น ก า ร ไ ด้ รั บ ก า ร •ควรเว้นระยะเวลาในการรับประทาน ต ร ว จ เ ช็ ค ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง ยาอย่างน้อย 4-6 ชั่วโมง โดยไม่ ล ะ เ อี ย ด จ า ก ศู น ย์ ต ร ว จ ควรทานเกินครั้งละ 2 เม็ด สุ ข ภ า พ ที่ น่ า เ ชื่ อ ถื อ ร่ ว ม กั บ ก า ร ท า น ย า ใ น ป ริ ม า ณ ที่ •สามารถรับประทานยาได้ทั้งก่อน เ ห ม า ะ ส ม จ ะ ช่ ว ย ล ด ค ว า ม และหลังอาหาร เ สี่ ย ง นี้ ไ ด้ สำหรับผู้ที่ต้องทานต่อเนื่องควรอยู่ใน การดูแลของแพทย์และไม่ควรเกิน 2,500-2,600 มิลลิกรัม •ผู้ป่วยโรคตับหรือดื่มสุรา ไม่ควร รับประทานเกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม

เส้นทางสุขภาพ กับการเลือกกิน การกินถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของ 5 โรคไม่ติดต่อเรื้อรังยอดนิยม ในอาหารหรือเครื่องดื่มทุกชนิดที่คุณเลือกกินนั้นอะไรที่มีรสชาติสุด โต่งจนเกินไป ได้แก่ หวานจัด เค็มจัด มันจัด (ยกเว้นจืดจัดๆ จะส่ง ผลดีมากกว่า) จะเป็นเหมือนฉนวนระเบิดที่ถูกตั้งเวลาไว้ เมื่อเลือกกินอาหารหรือเครื่องดื่มประเภทดังกล่าวเป็นประจำต่อ เนื่อง จะทำให้เกิดการเสพติดจนเป็นพฤติกรรมที่ให้โทษ ไม่ต่างจาก การเสพติดบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ก็ส่งผลต่อการเกิดโรค เรื้อรังได้เช่นกัน

หวานจัด การกินอาหารหรือเครื่องดื่มรสหวานจัดอย่างต่อเนื่อง จะ ทำให้ได้รับน้ำตาลมากเกินไป จนทำให้ร่างกายควบคุม น้ำตาลได้ไม่ดี สังเกตได้จากปัสสาวะที่ขับออกมาแล้วมี กลิ่นหวานหรือมดตอม นั้นชี้ให้เห็นถึงการที่ร่างกายมี น้ำตาลปริมาณมากเกินไปจนร่างกายไม่สามารถขับออก ได้หมด ซึ่งน้ำตาลเหล่านี้จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมันประเภท ไตรกลีเซอร์ไรด์ ส่งผลให้เกิดภาวะโรคอ้วน ทำให้เกิด อัตราเสี่ยงต่อโรคหัวใจ โรคไต และโรคเบาหวาน

เค็มจัด การกินอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีรสชาติเค็มอย่างต่อ เนื่อง จะทำให้ร่างกายได้รับเกลือมากเกินไป จน ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหลอดเลือด โรคกระดูกพรุน และโรค มะเร็งในกระเพาะอาหาร

มันจัด การกินอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีความมันจัดอย่างต่อ เนื่อง จะทำให้ร่างกายได้รับไขมันสะสมที่อวัยวะ ภายในต่างๆ ได้เช่น หัวใจ ตับ และไต จนทำให้ อวัยวะดังกล่าวอาจเกิดอาการอักเสบจนส่งผลต่อการ เกิดมะเร็งได้ เช่น มะเร็งตับ รวมถึงโรคหัวใจขาด เลือด โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น และยังเสี่ยงต่อ โรคเบาหวาน โรคอัมพาต อีกด้วย

การดื่มเครื่อง ดื่มแอลกอฮอล์ เมื่อดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างต่อเนื่อง จะส่งผลต่อระบบ หลอดเลือดหัวใจ ที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอด เลือดหัวใจอุดตัน เส้นเลือดในสมองแตก อัมพาต อัมพฤกษ์ เป็นต้น หากคุณเลือกแล้วว่าคุณจะทำทุกวิถีทางเพื่อให้ได้มาซึ่งสุขภาพที่ ดี คุณก็ไม่จำเป็นต้องอ่านเพื่อศึกษาเส้นทางต่อไปเพราะนี่ไม่ใช้ เส้นทางของคุณ และพาธแล็บขอยินดีด้วยที่คุณได้เลือกเส้นทาง สายสุขภาพแล้ว

การตรวจสุขภาพ ควร ตรวจอะไรบ้าง? สำหรับโปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีของบุคคลทั่วไปจะมีการตรวจ ชีพจร การวัดดัชนีมวลกาย วัดความดันโลหิตตรวจความสมบูรณ์ของ เม็ดเลือด ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด เพื่อดูแนวโน้มการ เกิดโรคหัวใจ นอกจากนี้ยังตรวจหาภาวะความดันโลหิตสูง เนื่องจากมี ผลต่อการเกิดอัมพฤกษ์อัมพาตในอนาคต ตรวจค่าตับ ค่าไต ตรวจระดับ กรดยูริคเพื่อตรวจหาโอกาสการเกิดโรคไขข้ออักเสบ โดยการตรวจขั้น พื้นฐานเหล่านี้ ศูนย์ตรวจสุขภาพจะนำผลที่ได้ไปใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อค้นหาความผิดปกติและหากตรวจพบความเสี่ยงการเกิดโรคใน อนาคตจะให้คำแนะนำเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนต่อไป

สำหรับความถี่ในการตรวจนั้น ควรได้รับการตรวจ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงอาจ ตรวจซ้ำได้ทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน เพื่อติดตามผลอ ย่างสม่ำเสมอ ประโยชน์ของการตรวจสุขภาพ 1 หากตรวจพบความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มในการเกิดโรคในอนาคตจะ ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ชีวิตต่าง ๆ ได้อย่างทัน 2 ท่วงที ลดภาวะลุกลาม ทำให้การรักษามีแนว โน้มที่จะประสบความสำเร็จสูง 3 ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมา 4 ลดความสูญเสีย เนื่องจากได้รับการรักษาแต่เนิ่น ๆ 5 หากไม่พบความผิดปกติ ผู้เข้ารับการตรวจสามารถดำเนินชีวิตได้ อย่างไร้กังวล

อาการเวียนหัว อาการเวียนห ัวหรือ อาการวิงเวียนศีรษะ สามารถอธิบายเป็นความรู้สึกได้ที่หลากหลาย เช่น อาการมึนงงบ้านหมุน หรือสิ่งรอบตัวแกว่งไปมา อย่างยุ่งเหยิง มีเสียงในหูอื้อๆ จนถึงความรู้สึกเบา หวิวจนเป็นลมวูบหมดสติไป และเป็นเรื่องยากที่จะ อธิบายอาการวิงเวียนหัวของแต่ละบุคคล โดยสาเหตุ การเกิดอาการเวียนหัวมีมากมายจึงไม่สามารถระบุได้ อย่างแน่ชัดจากการสังเกต จึงต้องได้รับการวินิจฉัย จากแพทย์

ร่างกายขาดน้ำ การขาดน้ำหรือดื่มน้ำไม่เพียงพอจะทำให้ ความร้อนภายในร่างกายสูงเกินไป และ ส่งผลทำให้ของเหลวภายในระบบโลหิตมี ปริมาณน้อย จะส่งผลให้เลือดหนืด ก่อให้เกิดความดันโลหิตสูงและทำให้เกิด อาการเวียนหัว

ขาดธาตุเหล็ก — IRON— การขาดธาตุเหล็กอาจทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ซึ่งทำให้ร่างกายมีเม็ดเลือดแดงที่มีลักษณะไม่ สมบูรณ์หรือมีปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อร่างกาย จึงไม่สามารถลำเลียงออกซิเจนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และอาจเกิดจากการกินอาหารที่ ขาดส่วนประกอบของธาตุเหล็ก

ภาวะน้ำตาลใน เลือดต่ำ จะทำให้เกิดอาการเวียนหัวไปจนถึงขั้นเป็นลม หน้ามืดได้ อาจเกิดจาการอดอาหารหรือกิน อาหารไม่ตรง

ความสำคัญ ของปอด ปอดมีหน้าที่หลัก 2 ประการ 1.ทำหน้าที่รับก๊าซออกซิเจนจากอากาศ เข้าสู่ร่างกาย ซึ่งร่างกายของคุณต้องการ ออกซิเจนเพื่อใช้ในกระบวนการต่างๆ ภายในร่างกาย 2. ทำหน้าที่ขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกจากร่างกาย ซึ่งเป็นของเสียที่ ร่างกายผลิตขึ้นหลังจากร่างกายได้ใช้ ออกซิเจนในกระบวนการต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของกระดูก และกล้ามเนื้อ หน้าอกและกระดูกสันหลัง เมื่ออายุมากขึ้นกระดูกจะบางลงและอาจมีการเปลี่ยนแปลงโครงร่างของกระดูก ซี่โครงของคุณที่จะส่งผลให้กระดูกซี่โครงของคุณไม่สามารถขยายและหดตัวได้ อย่างสะดวกในระหว่างการหายใจ กล้ามเนื้อที่รองรับการหายใจของคุณหรือ กะบังลมจะอ่อนแอลง ความเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้คุณหายใจเข้าหรือออกไม่ได้ดี เท่าที่เคย

การเปลี่ยนแปลง ของเนื้อเยื่อปอด กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่ออื่น ๆ ที่อยู่ใกล้ทางเดินหายใจอาจ สูญเสียความสามารถในการเปิดทางเดินหายใจได้อย่าง เต็มที่ ทำให้ทางเดินหายใจปิดได้ง่าย ความชราภาพยัง ทำให้ถุงลมเสียรูปร่างหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงของ เนื้อเยื่อปอดอาจทำให้ได้รับออกซิเจนน้อยเกินไปและการ กำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อยลง ทำให้หายใจ ลำบาก การเปลี่ยนแปลงของ ระบบประสาท สมองส่วนที่ควบคุมการหายใจจะสูญเสียประสิทธิภาพการทำงานบาง ส่วนไป เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ปอดของคุณจะไม่สามารถรับออกซิเจนได้ เพียงพอ และการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อย การหายใจอาจทำได้ ยากขึ้น เส้นประสาทในระบบทางเดินหายใจที่กระตุ้นอาการไอมีความไว น้อยลงในการช่วยกำจัดสิ่งปนเปื้ อนในอากาศ เช่น ฝุ่น PM 2.5 ควัน สารเคมีหรือธาตุโลหะหนัก และเชื้อโรคต่างๆ ที่จะเพิ่มโอกาสให้สิ่งปน เปื้ อนสะสมในปอดได้ง่ายขึ้น

การเปลี่ยนแปลงของ ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบภูมิคุ้มกันข องคุณจะอ่อนแอลง ซึ่งหมายความว่า ร่างกาย ของคุณไม่สามารถต่อสู้กับการติดเชื้อในปอดและโรคติดเชื้ออื่นๆ ได้ ปอดของคุณจะฟื้ นตัวได้ช้าลงหลังจากสัมผัสกับสิ่งปนเปื้ อนใน อากาศที่จะก่ออันตรายต่อสุขภาพของคุณได้ การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งที่เป็นภัยจากธรรมชาติ เช่น โลก ร้อน ปรากฎการณ์เอลนีโญ และลานีญา เชื้อโรคกลายพันธุ์ หรือจากภัยจากที่มนุษย์เป็นผู้สร้าง

MENTAL HEALTH IS JUST AS IMPORTANT AS PHYSICAL HEALTH


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook