Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือซ่อมรถตักหน้าขุดหลัง JCB รุ่น 4CX

คู่มือซ่อมรถตักหน้าขุดหลัง JCB รุ่น 4CX

Published by Mosquito Yung, 2022-10-09 17:58:26

Description: คู่มือซ่อมรถตักหน้าขุดหลัง JCB รุ่น 4CX

Search

Read the Text Version

คมู ือซอ มรถตกั หนา ขุดหลัง ยี่หอ JCB รนุ 4CX สํานกั เครอ่ื งกลและสื่อสาร กรมทางหลวง



สารบญั หนา คํานาํ 6....................................................................................................................................................... 1 บทที่ 1 ความรเู บ้อื งตน ที่เก่ียวของ6.......................................................................................................... 2 รถตักหนา - ขุดหลัง JCB............................................................................................................................ 2 ขอ กําหนดในการใชเครื่องจักร6 .................................................................................................................... 2 สว นประกอบตา งๆ ของเคร่ืองจักร6 ............................................................................................................. 2 บทที่ 2 การวเิ คราะหหาสาเหตกุ ารขดั ของ ชํารุด และการทาํ งานผิดปกติ6 ............................................... 3 สาเหตทุ ่สี ําคญั ของการเกดิ ปญหาเคร่ืองจักร6............................................................................................... 3 กระบวนการวิเคราะหส าเหตรุ ากของขอขัดขอ ง6.......................................................................................... 3 จดุ มุงหมายของการบํารุงรักษา6................................................................................................................... 4 บทที่ 3 การซอมและแกไ ข (การรือ้ และการปรับประกอบ) ...................................................................... 5 การถอดประกอบกระบอกไฮดรอลคิ เพ่อื ทําการเปล่ยี นซลี 6 .......................................................................... 5 การประกอบทอรกคอนเวอรเตอร6............................................................................................................... 9 การถอดประกอบเฟองทา ยเพ่ือซอ มระบบเบรก6....................................................................................... 12 การทํางานของโซลนิ อยดเ กยี รและการตรวจสอบระบบเกียร6 ................................................................... 19 การลอคเพลา ปม นํ้ามันเชือ้ เพลิง, ลูกเบย้ี ว และขอเหวีย่ ง กอนการถอกประกอบเคร่ืองยนต6 .................. 22 ภาคผนวก6 .............................................................................................................................................24 ภาคผนวก ก. คณะทาํ งานยอยโครงการจัดการความรูฯ6........................................................................... 24 ภาคผนวก ข. เอกสารอางอิง6.................................................................................................................... 24

คาํ นาํ คมู ือซอ มรถตักหนาขุดหลัง ยี่หอ JCB รนุ 4CX เลม นี้จดั ทําขึ้นภายใตโครงการการจัดการความรูของ เงนิ ทุนหมนุ เวยี นคาเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง ตามแผนยทุ ธศาสตรเ งนิ ทนุ หมนุ เวียนฯ พ.ศ.2561- 2565 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 เพื่อเผยแพรข้ันตอน วธิ กี ารในการซอมและแกไขบางชนิ้ สวนอุปกรณ (มไิ ดครอบคลุมการซอมบาํ รงุ ท้ังหมดทุกระบบ) เพ่ือเปน แนวทางการซอมบาํ รุงและแกไ ข สาํ หรบั ชางปรับซอ ม ตามหนวยงานภมู ิภาคของกรมทางหลวง คณะทาํ งานยอยฯ หวังเปนอยางยิง่ วา การจดั ทาํ คูมือซอมรถตกั หนา ขุดหลัง ยี่หอ JCB รนุ 4CX จะมี ขอมลู ที่เปน ประโยชนต อผูท สี่ นใจศึกษาและนําไปปฏบิ ตั ิเปนอยา งดี คณะทาํ งานยอยโครงการการจดั การความรู (การซอมบาํ รงุ รักษารถตักหนาขุดหลงั ย่ีหอ JCB) กรกฎาคม พ.ศ.2565 1

บทที่ 1 ความรเู บือ้ งตน ทเี่ กย่ี วของ รถตกั หนา - ขดุ หลงั JCB รถตัก หนา- ขุดหลังสามารถเคล่ือนท่ีดวยตนเองดานหนาติดต้ังบังก๋ีสําหรับตักเท สวนคานหลังติดตั้ง บงุ กส๋ี ําหรบั ขดุ เม่ือใชง านแบบขดุ หลัง ใหข ดุ ลงไปใต ระดับพน้ื ดนิ ดว ยบุงกี๋ โดยเคร่ืองจักรจอดอยูกับที่ ซ่ึงการขุดหลัง จะมีรอบการทํางานประกอบไปดว ย การขดุ เจาะแลวยกขึน้ สวิงเขาหาตวั รถ และเทวัสดุ เม่ือใชงานแบบตักหนา ใหตักหรือขุดไปทางคานหนาของตัวรถ ซึ่งการตักหนาจะมีรอบการทํางาน ประกอบไปดวยการตักดวยบุงกีแ๋ ลว ยกขน้ึ จากนั้นทําการขนยายและเทวสั ดุ ขอ กาํ หนดในการใชเคร่อื งจกั ร เคร่ืองจักรน้ีถูกสรางข้ึนเพ่ือใชงานในสภาวะปกติ ตามลักษณะการใชงานที่ไดอธิบายไวในคูมือน้ี ถา เคร่ืองจักรถูกใชงานผิดประเภทหรือในสภาวะแวดลอมที่เปนอับตราย เชน บรรยากาศท่ีสามารถติดไฟได หรือ บริเวณที่มีฝุน แรใยหิน จะตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับเพ่ือความปลอดภัยเปนพิเศษ และเคร่ืองจักร ตอ งมกี ารตดิ ต้งั อปุ กรณเ พอื่ ใชงานในสภาวะแวดลอมดังกลาว สวนประกอบตา งๆ ของเครอื่ งจักร 1. แขนอารม (Loader arm) 2. โครงหลงั คาหอ งเกง (Cab) 3. ถังนา้ํ มนั ไฮดรอลกิ 4. ท่ีเกบ็ แบตเตอรี่ 5. บูม (Boom) 6. ถงั น้ํามนั เชือ้ เพลิง 7. ขาชาง (Stabilisers) 8. เสาตงั้ คาน (Kingpost) 9. แขนตอบุงก๋ี (Dipper) 10.กลองเก็บเครื่องมือ (ถามี) 11.เคร่อื งขันลอและประแจบล็อก (T-bar) 2

บทที่ 2 การวิเคราะหห าสาเหตุการขดั ของ ชาํ รดุ และการทาํ งานผดิ ปกติ สาเหตุที่สําคญั ของการเกดิ ปญ หาเครื่องจกั ร ปญหาของเคร่ืองจักรขัดของท่ีเกิดเรื้อรังมักมีตนเหตุหลายประการ Kiyoshi Suzuki ไดสรุปสาเหตุ หลัก ท้ัง 5 ของการเกดิ ความชํารุดหรือขดั ของของเครื่องจักร ดังน้ี ๑. ความเส่ือมสภาพและการชํารุดของช้ินสวน เชน เกียร ลูกปน เบรก สายพาน เปนตน ท่ีสงผลตอ การปฏิบตั ิการขณะทาํ การเดนิ เครื่อง ๒. การใชงานอุปกรณที่ผิดวตั ถปุ ระสงค โดยท่ัวไปเครอ่ื งจักรหรืออุปกรณจะถูกออกแบบเพื่อใชงานใน วัตถปุ ระสงคเฉพาะ (Specific Purpose) แตในการใชงานจริงมักใชเครื่องจักรหรืออุปกรณในงาน ท่ีหลากหลาย ท่ีสงผลตอภาระการทํางาน (Load) และเปนสาเหตุหนึ่งที่เรงการเสื่อมสภาพของ เครือ่ งจักรใหเ ร็วขึ้น ๓. ขาดการบํารุงรักษาท่ีเปนระบบ เชน ไมมีการเปล่ียนถายนํ้ามัน ขาดการทําความสะอาดทําใหเกิด ความสกปรกของเคร่อื ง เปนตน ๔. ขาดการปรับเงื่อนไขการทํางาน ที่มีการปฏิบัติการในสภาวะที่เกินจากปจจัยขอกําหนดของการ ออกแบบ ปจจัยท่มี ผี ลตอ การเสื่อมสภาพ ไดแ ก ความเรว็ อณุ หภูมิ ความดนั เปน ตน ๕. ผูป ฏบิ ตั ิการขาดทักษะในการทํางาน โดยเฉพาะบคุ ลากรทางดา น ชางซอมบํารุง ชางตั้งเคร่ือง เปน ตน ซงึ่ ผปู ฏบิ ตั กิ ารขาดความเขาใจในมาตรฐานและวิธีการปฏิบัติการ (Operating Procedure) ที่ สงผลใหไมสามรถตรวจจับหรือดูแลปญหาเครื่องจักรท่ีเกิดข้ึน เชน พนักงานซอมบํารุงจะทําการ ถอดเปลี่ยนช้ินสว น แตย ังไมท ราบสาเหตทุ แ่ี ทจ ริงของการขดั ของ คนตั้งเครื่อง (Setup) ใชเรื่องมือ ทผ่ี ิดประเภทในการปรบั ต้ัง ทาํ ใหเ กดิ การเย้ืองศูนยและเกิดของเสียข้นึ เม่ือทําการเดินเคร่ือง เปน ตน กระบวนการวเิ คราะหสาเหตุรากของขอขดั ของ กอนจะเริ่มกระบวนการวิเคราะหสาเหตุรากของขอขัดของก็จะตองรูวาขอขัดของที่ควรจะนํามา วเิ คราะหน ัน้ คืออะไร ซงึ่ จากการสาํ รวจที่ไดมีการทํากันในประเทศอุตสาหกรรมพบวา 20 เปอรเซ็นตของ ขอขัดของท่ีถือวาเปนปญหาเรื้อรัง (ขอขัดของท่ีเกิดขึ้นมาจากสาเหตุเดียวกันมากกวาหน่ึงคร้ัง) ของ จํานวนทั้งหมดในแตละปจะทําใหเกิดการสูญเสีย (คาใชจายในการบํารุงรักษาทั้งทางตรงและทางออม) เทากับ 80 เปอรเซ็นตของการสูญเสียที่เกิดข้ึนท้ังหมด น่ันก็แสดงวาถาสามารถทําการวิเคราะหสาเหตุ รากของขอขัดของ (หาสาเหตุรากและทําการแกไข) จํานวน 20 เปอรเซ็นตท่ีทําใหเกิดการสูญเสีย 80 เปอรเซ็นตดังกลาวแลวก็จะทําใหไดรับประโยชนอยางมากในชวงเวลาส้ันๆ ซ่ึงขอขัดของจํานวน 20 เปอรเ ซน็ ตนน้ี ับไดวาเปน ขอขดั ของเรือ้ รังสาํ คญั ทคี่ วรอยางยงิ่ ทจี่ ะตองระบุใหไดวาคือขอขัดของหรือปญหา อะไรบางและจัดลําดับตามผลกระทบที่มีตอการสูญเสียที่เกิดข้ึน แลวนํามาวิเคราะหหาสาเหตุรากและทํา การแกไ ขตามลาํ ดับท่จี ดั ไว เมื่อสามารถเลอื กขอ ขัดของหรือปญหาท่ีสมควรจะนํามาวิเคราะหไดแลว (ขอขัดของเร้ือรังสําคัญ) ซ่ึง โดยทั่วไปจะตองทําการวิเคราะหครั้งละปญหา ไมควรนําปญหาหลายปญหามาวิเคราะหในเวลาเดียวกัน เพราะอาจจะทําใหสับสนและขาดความมุงมั่นในการดําเนินงาน สําหรับกระบวนการของการวิเคราะหหา 3

สาเหตุรากสามารถทาํ ไดห ลายวธิ ี แตวธิ ที จี่ ะนําเสนอในที่นี้เปนวิธีที่ไดมีการนําไปใชจนประสพความสําเร็จ มาแลว ซง่ึ ประกอบดว ยขน้ั ตอนตา ง ๆ ดังตอไปน้ี ๑. การเก็บรวบรวมขอมูลของขอ ขดั ของ ๒. การจัดทีมทจ่ี ะทําการวเิ คราะห ๓. การวิเคราะหขอมลู ๔. การรายงานผลการวิเคราะหแ ละขอ เสนอแนะ ๕. การแกไขสาเหตรุ ากและประเมนิ ผล จดุ มงุ หมายของการบํารงุ รกั ษา ๑. เพื่อใหเครื่องมือเครื่องใช ทํางานไดอยางมีประสิทธิผล คือ สามารถใชเคร่ืองมือเครื่องใชตาม ความสามารถและตรงกับวตั ถุประสงคท ่ีจดั หามากท่สี ุด ๒. เพ่ือใหเคร่ืองมือเครื่องใช มีสมรรถนะในการทํางานสูงและชวยใหเครื่องมือเคร่ืองใชมีอายุการใช งานยาวนาน เพราะเม่ือเคร่ืองมือไดใชงานไประยะเวลาหนึ่ง จะเกิดการสีกหรอ ถาไมมีการ ปรับแตงหรอื ซอ มแซมแลว เคร่ืองมืออาจเกิดการขดั ขอ ง ชาํ รดุ เสียหาย หรือทํางานผดิ พลาด ๓. เพอ่ื ใหเคร่อื งมอื เครื่องใช มีความเท่ียงตรง นาเช่ือถือ คือ การทําใหเครื่องมือเครื่องใช มีมาตรฐาน ไมม คี วามคาดเคลื่อนใดๆเกิดขึน้ ๔. เพอ่ื ความปลอดภัย ซึ่งเปนจุดมุงหมายท่ีสําคัญ เครื่องมือเคร่ืองใชจะตองมีความปลอดภัยเพียงพอ ตอผูใชงาน ถาเครื่องมือเคร่ืองใชทํางานผิดพลาด ชํารุดเสียหาย ไมสามารถทํางานไดตามปกติ อาจจะกอใหเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บตอผูใชงานได การบํารุงรักษาที่ดีจะชวยควบคุมการ ผดิ พลาด ๕. เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดลอม เพราะเครื่องมือเครื่องใชที่ชํารุดเสียหาย เกาแก ขาดการ บํารุงรกั ษาจะทําใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอม เชน มีฝุนละอองหรือไอของสารเคมีออกมา มีเสียง ดัง เปน ตน ซ่งึ จะเปนอันตรายตอ ผูปฏบิ ัติงานและผูเก่ียวขอ ง 4

บทท่ี 3 การซอมและแกไข (การรื้อและการปรบั ประกอบ) การถอดประกอบกระบอกไฮดรอลคิ เพือ่ ทําการเปลย่ี นซีล ชิน้ สว นประกอบกระบอกไฮดรอลคิ ขนั้ ตอนการถอดประกอบ ในการเปลีย่ นซีลกระบอกไฮดรอลิคจะตองทาํ การเปล่ียนเน่ืองจากเกิดการร่ัวของซีลหรือมีการชํารุด ของอุปกรณตางๆจากการใชงานหรือครบกําหนดการบํารุงรักษาน้ัน โดยข้ันตอนแรกจะตองทําการ ถอดสายนํ้ามันไฮดรอลิคและถายน้ํามันในกระบอกไฮดรอลิคออกกอน หลังจากน้ันใหถอดกระบอกไฮ ดรอลิค ทง้ั ชดุ ออกมาจากรถและทาํ ความสะอาดเพื่อทาํ การถอดเปล่ียนซีล 5

1. ใชป ระแจถอดฝากระบอกไฮดรอลคิ ฝากระบอกไฮดรอลคิ 2. ดึงกา นสูบหรือแกนของกระบอกไฮดรอลิคออกจากกระบอกสบู จากน้ันใหตรวจเชค็ สภาพของแกน กระบอกไฮดรอลิค ดงั น้ี • สภาพผิวแกนกระบอกไฮดรอลิคมีรอยหรือไม • ความคดของแกนตองไมเ กนิ 3 ฟล เลอร (0.003 นว้ิ ) 3. ถอด Guide ring ตวั ท1ี่ ออก แลว ถอดสลักลอ็ กลูกสูบออก กอ นทําการถอดลูกสูบถาไมถอดสลักล็ อกออกจะทําใหเ กลยี วของแกนเสยี หาย 6

4. ถอดลูกสบู และฝากระบอก โดยใหท ําความสะอาดชิ้นสว นตา งๆเพื่อทําการเปลี่ยนซลี ชุดลูกสูบ ฝากระบอกไฮดรอลคิ 5. เมื่อทําการเปลี่ยนซีลลูกสูบและฝากระบอกเรียบรอยแลว จึงทําการประกอบฝากระบอกเขากับ แกน และประกอบลูกสูบเขากับแกน โดยมีจุดสําคัญคือการประกอบลูกสูบตองประกอบใหรูสลัก ล็อกลูกสบู กบั แกนตรงกันเพื่อจะใสส ลักลอ็ กลูกสูบ รูสลกั ลอ็ กลูกสูบ 6. เมอ่ื ทําการประกอบลกู สบู เรียบรอ ยแลว ใหใชนํ้ามันไฮดรอลิคชโลมซีลลูกสูบและลูกสูบกอนนําชุด ลกู สบู ประกอบเขากับกระบอกสูบ โดยการประกอบควรตั้งกระบอกสูบในลักษณะตั้งข้ึนแลวใสชุด ลูกสูบกับแกนในแนวดิง่ โดยใชน ํ้าหนักของตัวแกนเปนตัวกด 7

7. ใชประแจขันฝากระบอกใหแนน แลว นาํ กระบอกไฮดรอลิคไปประกอบกับตัวรถเพื่อทําการประกอบ สายไฮดรอลิคและทาํ การทดสอบการทํางานของกระบอกไฮดรอลิคตอไป ขอ ควรระวัง • การถอดและประกอบลกู สบู ควรเชค็ รสู ลกั ลอ็ กลกู สบู ใหตรง • การใสซ ีลหรือโอรงิ ควรชโลมช้นิ สว นดว ยนํา้ มนั หลอล่นื เพอ่ื ปองกนั การฉีกขาด • การประกอบแกนเขา กับกระบอกสูบควรประกอบอยางระมดั ระวังเนื่องจากปากกระบอกมี ลกั ษณะเปนเกลยี วอาจทําใหซลี ฉีกขาดได 8

การประกอบทอรก คอนเวอรเตอร ชน้ิ สวนประกอบชดุ เกียร (Gearbox) ชน้ิ สว นประกอบทอรกคอนเวอรเตอร (Torque Converter) 9

ข้ันตอนการประกอบ 1. ตรวจสอบหนา สัมผสั ฟลายวีล ลกู ทอรก และชิน้ สวนตางๆ ใหมีสภาพสมบูรณและสะอาด ไมมีเศษ เสยี้ นวัสดแุ ละความไมส มบรู ณของพ้นื ผวิ กอนการประกอบ 2. ทาํ การสวมประกอบลกู ทอรก เขากบั ปมทอรก โดยใหส ังเกตตําแหนงเข้ียวของลูกทอรก จะตองสวม เขา ระหวางรอ งบา ของปมทอรก โดยคอย ๆ ขยับใสเ ขาไป 3 ขน้ั เขยี้ ว ร่องบ่า 3. เม่ือสวมประกอบลูกทอรกเขากับปมทอรกแลว ใหทดลองหมุนท้ังทวนเข็มและตามเข็มนาฬิกา เพื่อฟง เสยี งเข้ยี วของลูกทอรก หากมีเสยี งดงั “แกก” คือ สวมประกอบถูกตอง 4. ประกอบชุดเกียรที่ไดสวมประกอบลูกทอรกกับปมทอรกเรียบรอยแลวเขากับฟลายวีลเครื่องยนต โดยหมนุ ทอรก ใหตําแหนงรูรอยนอตอยูดานลาง และควรเปนรูรอยนอตท่ีหางจากนอตส่ีตัวดานใน เพ่อื ทาํ ใหงา ยตอการขันนอต และสวนดา นฟลายวลี เครอ่ื งยนต หมุนฟลายวีลใหตําแหนงรูรอยนอต อยูด านลา ง และควรเปน รรู อยนอตทห่ี างจากหลมุ หัวนอตสีห่ ลมุ ดา นใน (ภาพที่ 4) 10

ตาํ แหน่ง รูร้อยนอต ตาํ แหน่ง รูร้อยนอต 5. เม่ือประกอบชุดเกียรเขากับฟลายวีลเคร่ืองยนต ใหสังเกตทอรกกับฟลายวีลเครื่องยนต ตองแนบ สนิทกนั ไมม ีชองวา ง 6. เปดชองสําหรับขันนอตดานลางหองเกียร จากน้ันใสและขันนอตในตําแหนงท่ีไดตั้งไว (ขั้นตอนท่ี 4) เมอื่ ขนั นอตแนน แลว ใหห มุนฟลายวีลไปยังตําแหนงรรู อ ยนอตถดั ไป ใสแ ละขันนอตจนครบ 6 ตัว ช่องสําหรับ ขันนอต 11

การถอดประกอบเฟอ งทายเพ่ือซอ มระบบเบรก ความจําเปน ในการถอดประกอบเฟองทาย ระบบเบรกมีความสําคัญกับการใชรถตักหนาขุดหลัง เน่ืองจากเปนระบบท่ีเกี่ยวของกับความ ปลอดภยั ของการใชงาน โดยระบบเบรกมีช้ินสวนอุปกรณท่ีตอ งเปล่ยี นตามระยะเวลาและการใชงาน คือ แผนเบรกและโอริงลูกสูบเบรก โดยชิ้นสวนอุปกรณ 2 ชนิด อยูดานในเฟองทายของรถตักหนาขุดหลัง จึงจาํ เปนตอ งถอดชดุ ชนิ้ สว นเฟองทาย สาํ หรับการตรวจเช็คและเปล่ยี นแผน เบรก และโอริงลูกสูบเบรก อะไหลและชน้ิ สว นท่ีตองเปลี่ยน 1. แผน เบรก 2. โอรงิ ลูกสูบเบรก ข้ันตอนการถอดประกอบ การถอดเฟองทายเพ่ือตรวจสอบชุดเบรก และเปลยี่ นโอรงิ ลกู สบู เบรก เรม่ิ จากถอดเฟองทายรถตกั หนาขุดหลัง จากตวั รถ 12

การถอดแผน เบรกออกจากเสือ้ เพลา 1. ถอดน็อตเบอร 24 โดยรอบเฟอ งทา ยรถตักหนา ขดุ หลงั โดยใชรอกยกเฟองใหล อยแลว ให ชา งซอ มถอดน็อต 2. ถอดแยกช้นิ สวนเฟองทายออกจากกนั 13

3. ถอดแยกชนิ้ สวน ชุดแผน เบรกออกจากเพลาขา ง (การสวมใสเ ฟอ งเบรกจะหนั ดา นท่มี ี เทเปอรส ําหรับสวมเขา กับเพลาขาง 4. ใชคีมถางแหวนออกจากเฟองทีถ่ อดออกมา 14

5. แยกแผนเบรกและแผน เพลทออกจากกนั 6. ตรวจสอบความเสียหายของแผนเบรกและแผนเพลท (หากใชน าํ้ มนั เกียรท ี่ไมถ ูกตอง จะ กอใหเ กิดความเสยี หายตอแผนเบรกและแผน เพลท ดงั นนั้ ควรใชน า้ํ มันเกยี รของ JCB หรอื น้าํ มนั เกยี รแ บบ Limited slip 15

การถอดลกู สูบเบรกออกจากเสอื้ เพลา 1. ใชหกเหล่ียมคลายน็อต จาํ นวน 4 ตัว ออกจากเสื้อเพลา 2. ถอดชดุ ลูกสบู เบรกออกจากเส้ือเพลา โดยการใชคอ นตอกกระแทก 16

3. ใชค ีมถางแหวน ท้ัง 3 ตวั ออก 4. ถอดน็อตทง้ั 3 ตวั ออกจากชุดลูกสูบเบรก 5. ใชลมอัดเขา ทอนํ้ามนั เบรกเพื่อดนั ลูกสบู เบรกออกจากเสอื้ เพลา 17

6. ถอดโอริงออกจากชุดลูกสูบเบรก 7. ตรวจสอบความเสียหายของโอรงิ ลูกสูบเบรกเพื่อปรับซอมตอไป 18

การทํางานของโซลินอยดเ กียรแ ละการตรวจสอบระบบเกียร ชุดโซลนิ อยดเ กียร เกยี ร์ 2 เดนิ หน้า เกยี ร์ 1 ถอยหลัง เกยี ร์ 1 เดนิ หน้า เกยี ร์ 2 ถอยหลงั ระบบขบั 2 หรือ 4 เกยี ร์ High เกยี ร์ Low ตารางแสดงการทาํ งานของชุดโซลินอยดเกียร (ถอยหลัง) (เดนิ หน้า) การทาํ งานของโซลินอยดเกียรแ ละการตรวจสอบระบบเกยี ร 1. การทาํ งานของชดุ โซลนิ อยดเ กยี ร 1.1. สมมตใิ ชเกยี ร 1 เดนิ หนา → โซลนิ อยด T และ โซลินอยด Z จะทํางานคกู นั 1.2. สมมตใิ ชเกียร 4 ถอยหลัง → โซลินอยด V และ โซลนิ อยด Y จะทาํ งานคูกนั 19

2. สวิตชแรงดันน้ํามันเกียรจะมีคาแรงดันอยูประมาณ 100 psi ถาต่ํากวาจะน้ีจะมีสัญลักษณแจง เตอื นทหี่ นาปด 3. สวิตชความรอ นนํ้ามนั เกยี ร ถา อุณหภมู สิ ูงเกนิ มาตรฐานจะมีสญั ลกั ษณแจง เตือนท่หี นา ปด 4. จดุ เช็คคาแรงดนั ของปม ทอรค จะตองมีอุปกรณวัดคาแรงดันตอเขาไป โดยคาแรงดันปมทอรคควร อยูทีป่ ระมาณ 190 psi 20

5. โซลนิ อยดเ กียร มีคา ความตานทานไฟฟามาตรฐานอยทู ี่ 7.5 โอหม +/- ไดไมเกิน 0.5 โอหม หาก มากหรือนอยกวา นี้ ถือวาชาํ รุด 21

การลอคเพลา ปมน้าํ มนั เชอื้ เพลิง, ลกู เบ้ยี ว และขอเหวี่ยง กอ นการถอกประกอบเครือ่ งยนต ข้ันตอนการล็อกปมนํา้ มนั เช้ือเพลงิ แรงดันสูง 1. หมุนเคร่อื งยนตใหล กู สูบท่ี 1 อยูในตําแหนงศนู ยตายบนจังหวะอัดสดุ 2. ดึงสลักและแหวนล็อกปม ออกมา โดยลกั ษณะของแหวนจะมีรูดา นแคบและดานกวา ง 2.1. หากตองการล็อกปมใหรอ ยสลกั ผานรดู านกวาง 2.2. หากไมต องการลอ็ กปม (ทํางานปกติ) ใหรอยสลักผา นรูดา นแคบ แหวนสําหรับรอ ยสลกั กรณีไมลอ็ กปม (รอยสลกั ผานรดู านแคบ) กรณีลอ็ กปม (รอยสลกั ผา นรูดานกวาง) ขอ ควรระวงั หามใสสลักลอ็ กปม โดยทไี่ มใสแหวนเขา ไปดวย เพราะอาจทําใหป ลายสลักล็อก ปมขาดเมื่อสตารท เครอ่ื งยนต ข้ันตอนการล็อกตําแหนงเพลาลูกเบ้ยี วและเพลาขอเหวี่ยง 1. หมุนเครอ่ื งยนตใหลูกสบู ที่ 1 อยใู นตําแหนงศูนยต ายบนจังหวะอัดสุด 2. สงั เกตตําแหนงรดู า นในและดา นนอกจะอยตู รงกนั ตําแหนงล็อกเพลาลูกเบี้ยว 22

3. รอ ยสลกั เพื่อล็อกตาํ แหนง เพลาลกู เบย้ี ว 4. รอยสลักเพือ่ ลอ็ กตําแหนงเพลาขอ เหว่ียง 5. เม่ือล็อกตําแหนงเพลาลูกเบ้ียวและเพลาขอเหวี่ยงแลว ตัวเครื่องยนตก็จะไมหมุน ทําใหสามารถ ถอดประกอบช้ินสว นอ่ืน ๆ ไดงา ย 23

ภาคผนวก ภาคผนวก ก. คณะทาํ งานยอ ยโครงการจดั การความรูฯ คณะทํางานยอยโครงการการจดั การความรูของเงินทุนหมุนเวียนคาเคร่อื งจักรกลของกรมทางหลวง (การซอ มบาํ รุงรกั ษารถตักหนา ขดุ หลงั ยี่หอ JCB) ๑. ผอู าํ นวยการสว นพฒั นาเคร่ืองจกั รกล ประธานคณะทาํ งานยอ ย ๒. นายเกษม คชาสัมฤทธิ์ นายชา งเคร่อื งกลอาวุโส คณะทาํ งานยอย ๓. นายจกั รพงค แกลว กลา วศิ วกรเครือ่ งกลชาํ นาญการ คณะทํางานยอย ๔. นายภานุวฒั น เน่ือยทอง วศิ วกรเครื่องกลชํานาญการ คณะทาํ งานยอย ๕. น.ส.ธนภร มาลยั ศรี นกั วชิ าการสถิติชาํ นาญการ คณะทํางานยอย ๖. นายศรณั ย มลู ทองนอย วิศวกรเคร่ืองกลปฏิบตั ิการ คณะทาํ งานยอยและเลขานุการ ๗. นายชัยวัตร ชยั ขุนพล นายชางเคร่ืองกลปฏบิ ัติงาน คณะทํางานยอยและผูชว ยเลขานกุ าร ๘. น.ส.ศิรขิ วญั จนั พฤกษ นกั จดั การงานทว่ั ไป คณะทํางานยอยและผชู วยเลขานุการ ภาคผนวก ข. เอกสารอางองิ 1. คูมือการใชงานและการบํารงุ รกั ษาเคร่ืองจักร 3CX 4CX ECO BACKHOE LOADER 2. Service Manual 3CX 4CX BACKHOE LOADER 3. PARTS MANUAL 4CX 24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook