Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยกรอง

วิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยกรอง

Published by natarika_joy, 2023-02-13 10:53:16

Description: การอ่านออกเสียงร้อยกรอง

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การอ่านออกเสียงร้อยกรอง วชิ าภาษาไทย๖ ท๒๓๑๐๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ผ้สู อน นางสาวณฐั ริกา ช่ืนบาน 42

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ การพฒั นาทักษะการอ่าน การอ่านออกเสียงร้อยกรอง 43

ร่วมสนทนา แผนผงั โคลงสี่สุภาพ แผนผงั กลอนสุภาพ แผนผงั กาพย์ยานี ๑๑ แผนผงั อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ 44

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง การอ่านออกเสียงร้อยกรอง เป็นการอ่านตามจงั หวะ ลีลา และท่วงทานอง ตามลกั ษณะของบทร้อยกรองแต่ละชนิด โดยมุ่งใหเ้ กิดความเพลิดเพลิน ไพเราะ ซาบซ้ึง และทาใหผ้ ฟู้ ังไดอ้ รรถรสทางภาษา วธิ ีการอ่านออกเสียงร้อยกรอง ออกเสียงอย่างร้อยแก้ว ออกเสียงอย่างทานองเสนาะ 45

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง วธิ ีการอ่านออกเสียงร้อยกรอง ออกเสียงอย่างร้อยแก้ว เป็นการอา่ นออกเสียงเหมือนเสียงพดู ปกติ แต่มีจงั หวะวรรคตอน เนน้ สัมผสั ตามลกั ษณะบงั คบั ของร้อยกรองชนิดน้นั ออกเสียงอย่างทานองเสนาะ เป็นการอา่ นท่ีมีสาเนียงสูง–ต่า หนกั –เบา ส้นั –ยาว มีการเอ้ือนเสียง ทอดเสียง เนน้ เสียง ลีลา และท่วงทานองของบทร้อยกรองชนิดน้นั 46

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง 47 หลกั การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๑. อา่ นออกเสียงใหด้ งั พอเหมาะกบั สถานที่และจานวนผฟู้ ัง ๒. อา่ นคล่อง ร่ืนหู ออกเสียง ร ล และอกั ษรควบถูกตอ้ ง ชดั เจน ๓. อ่านถูกตอ้ งตามวรรคตอนและฉนั ทลกั ษณ์ของคาประพนั ธ์น้นั ๔. ใชน้ ้าเสียงใหส้ ัมพนั ธ์กบั เน้ือหา ๕. อ่านดว้ ยความรู้สึกซาบซ้ึงและช่ืนชมในคุณค่าของบทร้อยกรองน้นั

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง กาพย์ การอ่านออกเสียงร้อยกรอง กลอน โคลง ฉันท์ ร้อยกรองปัจจุบัน 48

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๑ กลอน กลอนบทละคร กลอนบทละคร เป็นกลอนท่ีแต่งข้ึนเพ่อื ใชแ้ สดงละครรา มีลกั ษณะ บงั คบั เช่นเดียวกบั กลอนสุภาพ 49

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๑ กลอน กลอนเสภา กลอนเสภา เป็นกลอนลานาสาหรับขบั ร้อง มีลกั ษณะบงั คบั เช่นเดียวกบั กลอนสุภาพ แต่คาข้ึนตน้ กลอนเสภาจะใชอ้ ยู่ ๒ คา คือ คราน้นั กบั จะกล่าวถึง 50

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง 51 ๒.๑ กลอน กลอนสุภาพ การอ่านกลอนบทละครและกลอนเสภามีวธิ ีการอ่านเช่นเดียวกบั กลอนสุภาพ วธิ ีการอ่านกลอนสุภาพ ๑. แบ่งจงั หวะการออกเสียงแต่ละวรรคเป็น ๓ จงั หวะ คือ ๓/๒/๓ ๒. คาสุดทา้ ยวรรคที่เป็นคาเสียงจตั วาตอ้ งเอ้ือนเสียงใหส้ ูงเป็นพิเศษ ๓. คาสุดทา้ ยบทตอ้ งเอ้ือนเสียงต่าเป็นพิเศษ ๔. ในกรณีที่มีคาพยางคเ์ กินแผนผงั บงั คบั ตอ้ งรวบเสียงคาน้นั ใหส้ ้ันเขา้

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๑ กลอน ตัวอย่าง กลอนสุภาพ/แปดคา/ประจาบ่อน อา่ นสามตอน/ทุกวรรค/ประจกั ษแ์ ถลง ตอนตน้ สาม/ตอนสอง/สองแสดง ตอนสามแจง้ /สามคา/ครบจานวน กาหนดบท/ระยะ/กะสัมผสั ใหฟ้ าดฟัด/ชดั ความ/ตามกระสวน วางจงั หวะ/กะทานอง/ตอ้ งกระบวน จึงจะชวน/ฟังเสนาะ/เพราะจบั ใจ (ประชุมลำนำ ของ หลวงธรรมำภิมนฑ์ (ถึก จิตรกถึก)) 52

เร่ืองน่ารู้ ว่าด้วยประชุมลานา ประชุมลานา เป็นงานประพนั ธ์ที่รวบรวมและเรียบเรียงข้ึนตามรับส่ังของ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ โดยมีลกั ษณะการแต่ง เป็นคาอธิบาย แตง่ เป็นร้อยแกว้ ตวั อยา่ งการใชค้ าประพนั ธ์ประเภทต่าง เน้ือหา กลา่ วถึงบญั ญตั ิการแต่งคาประพนั ธ์ประเภทต่าง โดยแสดงแผนผงั บงั คบั ตวั อยา่ งคาประพนั ธ์แตล่ ะชนิด พร้อมเคร่ืองหมายวรรคตอนกากบั คาประพนั ธ์ น้นั 53

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๒ โคลง โคลงส่ีสุภาพ โคลงส่ีสุภาพ เป็นโคลงที่กวนี ิยมแตง่ มากท่ีสุด และเป็นโคลงที่ใชแ้ ตง่ วรรณกรรมไดต้ ลอดเรื่อง โดยไม่ตอ้ งแต่งร่วมกบั คาประพนั ธ์ชนิดอ่ืน 54

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๒ โคลง โคลงส่ีสุภาพ วธิ ีการอ่านโคลงส่ีสุภาพ ๑. อา่ นออกเสียงใหต้ รงตามจงั หวะของแต่ละวรรค ๏ วรรคหนา้ แต่ละบาท มี ๒ จงั หวะ จงั หวะ ๒ คา และ ๓ คา ๏ วรรคหลงั บาทท่ี ๑ และบาทที่ ๓ มี ๑ จงั หวะ เป็นจงั หวะ ๒ คา ถา้ มีคาสร้อยกเ็ พม่ิ อีก ๑ จงั หวะ เป็นจงั หวะ ๒ คา ๏ วรรคหลงั บาทท่ี ๒ มี ๑ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา ๏ วรรคหลงั บาทที่ ๔ มี ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา ๒. คาทา้ ยวรรคที่ใชค้ าเสียงจตั วาตอ้ งเอ้ือนเสียงใหส้ ูงเป็นพเิ ศษ 55

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๒ โคลง โคลงสี่สุภาพ วธิ ีการอ่านโคลงสี่สุภาพ ๓. เอ้ือนวรรคหลงั บาทท่ี ๒ ใหเ้ สียงต่ากวา่ ปกติ ๔. คาประพนั ธ์ทุกชนิดกาหนดจานวนคาแต่ละวรรคและแตล่ ะบทไวต้ ายตวั โคลงส่ีสุภาพบทหน่ึงจะมี ๔ บาท บาทหน่ึงมี ๒ วรรค วรรคหนา้ ของแตล่ ะ บาทมี ๕ คา วรรคหลงั บาทที่ ๑–๓ มี ๒ คา แตอ่ าจมีคาสร้อยจานวน ๒ คา ตรง ทา้ ยบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ เพิ่มข้ึนกไ็ ด้ วรรคหลงั บาทท่ี ๔ มี ๔ คา ฉะน้นั โคลงสี่สุภาพบทหน่ึงจึงมี ๓๐ คา หากมีคาสร้อยจะมี ๓๒ คา หรือ ๓๔ คา 56

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๒ โคลง ตัวอย่าง เจด็ วนั /เวน้ ดีดซอ้ ม/ ดนตรี อกั ขระ/หา้ วนั หนี/ เนิ่นชา้ สามวนั /จากนารี/ เป็ นอ่ืน วนั หน่ึง/เวน้ ลา้ งหนา้ / อบั เศร้า/ศรีหมอง (โคลงโลกนิติ ของ สมเดจ็ พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำเดชำดิศร) 57

เร่ืองน่ารู้ โคลงโลกนิติ โคลงโลกนิติ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ โลกนิติคาโคลง เป็นโคลงสุภาษิตของเก่าที่มีมาแต่คร้ังกรุงศรีอยธุ ยา ถอดความจากคาถาภาษาบาลีและสนั สกฤตซ่ึงไดจ้ าก คมั ภีร์ต่าง ของอินเดียโบราณ นาคาถาสุภาษิตมาต้งั แลว้ แปลแต่งเป็นโคลงแต่ละคาถา โดยเม่ือคร้ัง พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงปฏิสังขรณ์ วดั พระเชตุพนฯ ไดม้ ีพระราชประสงคจ์ ะใหจ้ ารึก โคลงโลกนิติบนแผน่ ศิลา ติดไวเ้ ป็นวทิ ยาทานในวดั พระเชตุพนฯ 58

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๓ กาพย์ กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ 59

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง 60 ๒.๓ กาพย์ กาพย์ฉบงั ๑๖ วธิ ีการอ่านกาพย์ฉบงั ๑๖ ๑. แบ่งจงั หวะการออกเสียง วรรคแรก ๖ คา แบ่งเป็น ๓ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา วรรคสอง ๔ คา แบ่งเป็น ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา วรรคสาม ๖ คา แบ่งเป็น ๓ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา ๒. คาสุดทา้ ยวรรคที่เป็นคาเสียงจตั วาตอ้ งเอ้ือนเสียงใหส้ ูงเป็นพิเศษ ๓. ในกรณีท่ีมีคาพยางคเ์ กินแผนผงั บงั คบั ตอ้ งรวบคาน้นั ใหส้ ้นั เขา้

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๓ กาพย์ กาพย์ฉบงั ๑๖ ตัวอย่าง เห็นกวาง/ยา่ งเย้อื ง/ชาเลืองเดิน เหมือนอยา่ ง/นางเชิญ พระแสง/สาอาง/ขา้ งเคียง (กำพย์พระไชยสุริยำ ของ สุนทรภู่) 61

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง 62 ๒.๓ กาพย์ กาพย์ยานี ๑๑ วธิ ีการอ่านกาพย์ยานี ๑๑ ๑. แบ่งจงั หวะการออกเสียง ดงั น้ี วรรคหนา้ ๕ คา แบ่งเป็น ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา และ ๓ คา วรรคหลงั ๖ คา แบ่งเป็น ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๓ คา ๒. คาสุดทา้ ยวรรคท่ีเป็นคาเสียงจตั วาตอ้ งเอ้ือนเสียงใหส้ ูงเป็นพิเศษ ๓. ในกรณีที่มีคาพยางคเ์ กินแผนผงั บงั คบั ตอ้ งรวบคาน้นั ใหส้ ้นั เขา้

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๓ กาพย์ กาพย์ยานี ๑๑ ตัวอย่าง มสั มนั่ /แกงแกว้ ตา/ หอมยหี่ ร่า/รสร้อนแรง ชายใด/ไดก้ ลืนแกง แรงอยากให/้ ใฝ่ ฝันหา (กำพย์เห่ชมเคร่ืองคำวหวำน ของ รัชกำลที่ ๒) 63

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๓ กาพย์ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ วธิ ีการอ่านกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ๑. แบ่งจงั หวะการออกเสียง ดงั น้ี บทหน่ึงมี ๗ วรรค แบ่งเป็นวรรคละ ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา ๒. คาสุดทา้ ยวรรคท่ีเป็นคาเสียงจตั วาตอ้ งเอ้ือนเสียงใหส้ ูงเป็นพิเศษ ๓. ในกรณีท่ีมีคาพยางคเ์ กินแผนผงั บงั คบั ตอ้ งรวบคาน้นั ใหส้ ้นั เขา้ 64

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๓ กาพย์ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ตวั อย่าง วนั น้นั /จนั ทร มีดา/รากร เป็นบ/ริวาร เห็นสิ้น/ดินฟ้า ในป่ า/ท่าธาร มาลี/คลี่บาน ใบกา้ น/อรชร (กำพย์พระไชสุริยำ ของ สุนทรภู่) 65

คาประพนั ธ์ชนิดใด สชื่นารชพะ/นัผ/จะนกั าอ/ิน/// รเวยื่นาน็ยกฉพุ ล่าา//ิ่นนข/เ้จากฟรส/้า//ร/ แตนตอ่ /คลอร่อน// วา้ วอ่ น/เวยี นระวนั // กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ 66

คาประพนั ธ์ชนิดใด สังคีต/ประจจโะกัครจม่า/น่ั/อส/แาตั จรวัวญ้ ใ์แ/น/จ/ไว้ /พจบรั สใจัณ//ฑ์ จาดจา้ /แจ่มใส// จะนบั /จะตรวจ/เหลือตา// อเนก/อนนั ต/์ / กาพยฉ์ บงั ๑๖ 67

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๔ ฉันท์ ฉันท์ ฉันท์ เป็นคาประพนั ธ์ท่ีบงั คบั สมั ผสั และจานวนคาเช่นเดียวกบั คาประพนั ธ์ทว่ั ไป แตเ่ พม่ิ ครุ ลหุ แทนคาธรรมดาเป็นลกั ษณะบงั คบั เฉพาะ คาครุ คาลหุ คือ พยางคท์ ่ีประสมสระเสียงยาวในแม่ ก กา คือ พยางคท์ ี่ประสมสระเสียงส้ันในแม่ ก กา ประสมสระอา ใอ ไอ เอา และมีตวั สะกด และไม่มีตวั สะกด รวมถึงคา บ บ่ ยกเวน้ คาครุ ใชส้ ัญลกั ษณ์ ( ) เม่ืออยใู่ นแผนผงั บงั คบั พยางคท์ ี่ประสมสระอา ใอ ไอ เอา คาลหุ ใชส้ ัญลกั ษณ์ ( ) เม่ืออยใู่ นแผนผงั บงั คบั 68

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง แผนผงั บงั คบั ๒.๔ ฉันท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ 69

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ตวั อยา่ ง ๒.๔ ฉันท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ พรรณพฤกษ/ทรงผล ตะละตน้ /จะอ่อนเอียง พวงยอ้ ย/ระยา้ เพยี ง จะเผดจ็ /สะดวกดาย สุกเหลือง/อร่ามลิ้ม รสเลิศ/อร่อยหลาย หลากหลาก/และมากมาย บมิรู้/จะราพนั (อิลรำชคำฉันท์ ของ พระยำศรีสุนทรโวหำร (ผนั สำลกั ษณ์)) 70

เร่ืองน่ารู้ ท่มี าของอลิ ราชคาฉันท์ อิลราชคาฉนั ท์ แตง่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ โดยได้ เคา้ โครงเร่ืองมาจากนิทานเร่ือง อิลราชในอุตรกณั ฑ์ แห่งรามายณะ ซ่ึงอยใู่ นพระราชนิพนธ์เรื่อง บ่อเกิด แห่งรามเกียรต์ิ ในรัชกาลท่ี ๖ แต่งข้ึนเพื่อสนอง พระราชปณิธานในรัชกาลที่ ๖ ท่ีทรงสนบั สนุน กวนี ิพนธ์แบบแผนเดิมของไทย โดยมีลกั ษณะ การแต่งเป็นฉนั ทแ์ ละกาพย์ 71

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง คณะ ๒.๔ ฉันท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ บทหน่ึงมี ๒ บาท บาทหน่ึงมี ๒ วรรค วรรคหนา้ มี ๕ คา (ลหุ ๑ คา ครุ ๔ คา) วรรคหลงั มี ๖ คา (ลหุ ๓ คา ครุ ๓ คา) 72

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง สัมผสั ๒.๔ ฉันท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๑ ส่งสมั ผสั ไปยงั คาที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ คาสุดทา้ ยของวรรคที่ ๒ ส่งสมั ผสั ไปยงั คาสุดทา้ ยของวรรคที่ ๓ คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๔ ส่งสมั ผสั ระหวา่ งบทไปยงั คาสุดทา้ ย ของวรรคที่ ๒ ในบทต่อไป 73

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง วธิ ีการอ่านอนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ๒.๔ ฉันท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ๑. ตอ้ งรู้คาครุ ลหุ และคณะของฉนั ทเ์ สียก่อน จึงจะอา่ นไดถ้ ูกตอ้ ง ๒. การอ่านฉนั ทท์ ่ีเป็นคาลหุหลายพยางค์ ควรถือเอาคาอา่ นที่เป็นสามญั เป็นหลกั แลว้ จึงอา่ นไปใหเ้ ป็นเสียงส้ันตามคณะฉนั ท์ ๓. อา่ นใหถ้ ูกจงั หวะวรรคตอน ๔. อ่านออกเสียงใหถ้ ูกตอ้ งตามเสียงครุ ลหุ ของคณะฉนั ท์ 74

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง วธิ ีการอ่านอนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ๒.๔ ฉันท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ๕. ไม่เอ้ือนเสียงคาลหุเพราะมีเสียงส้ันและเบา ๖. อ่านใหถ้ ูกทานองและทอดเสียงคาทา้ ยวรรคใหย้ าวข้ึนอีกเลก็ นอ้ ย ๗. อ่านใหไ้ ดอ้ ารมณ์ตามเน้ือหาของเรื่อง พยายามไวจ้ งั หวะในบทและบาท ของฉนั ท์ ๘. อา่ นเอ้ือนเสียงตอนจะจบบทและทอดจงั หวะใหช้ า้ ลงจนกระทงั่ จบบาท 75

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๕ ร้อยกรองปัจจุบัน บทร้อยกรองสมยั ปัจจุบนั ของนกั เขียนร่วมสมยั บางคน มีวธิ ีเขียนผดิ แผกไป เช่น ไม่เคร่งครัดตามแผนผงั บงั คบั ของ คาประพนั ธ์ด้งั เดิมท้งั ในดา้ นจานวนคาและสมั ผสั ในการอ่าน จาเป็นตอ้ งรวบเสียงหรือยดื เสียงใหใ้ กลเ้ คียงกบั จานวนคา ตามแผนผงั บงั คบั ของคาประพนั ธ์แต่ละชนิด 76

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๕ ร้อยกรองปัจจุบัน ตวั อย่าง ท้องนา้ ยามสายณั ห์ งามเอย/งามทอ้ งน้า ยามใกลค้ ่า/ยา่ สุริยศ์ รี ลดลอย/ถอยรัศมี อาลาพราก/จากทอ้ งธาร เรืองรอง/ดุจทองทาบ วะวบั วาบ/ซาบตาลาน มือมนุษย/์ สุดบนั ดาล ตอ้ งเทพฤทธ์ิ/ประดิษฐส์ วรรค์ คล่ืนนอ้ ย/เพยี งฝอยทอง เรืองรังรอง/ท่องตามกนั เหลือนบั /จบั ตาทนั กระทบฝั่ง/กระทง่ั ใจ (เสนีย์ วิลำวรรณ) 77

๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๒.๕ ร้อยกรองปัจจุบัน ตวั อย่าง ตามปกติกาพยย์ านีจะมีจงั หวะการออกเสียงแน่นอน คือ วรรคหนา้ ๒ จงั หวะ จงั หวะ ๒ คา และจงั หวะ ๓ คา วรรคหลงั ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๓ คา การอา่ นบทร้อยกรองเรื่อง ทอ้ งน้ายามสายณั ห์ ควรแบ่งวรรคหนา้ และวรรคหลงั ออกเป็น ๒ จงั หวะเช่นเดียวกบั กาพยย์ านี แตจ่ านวนคา แต่ละจงั หวะอาจไม่เท่ากบั กาพยย์ านี จงั หวะใดมีคานอ้ ยตอ้ งยดื เสียง ใหย้ าวเตม็ จงั หวะ จงั หวะใดมีคามากกต็ อ้ งรวบเสียงใหพ้ อดีกบั จงั หวะ ท่ีควรจะเป็น โดยลงจงั หวะที่คารับสัมผสั 78

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ โคลงสี่สุภาพ เป็นคาประพนั ธ์ท่ีมีลกั ษณะบงั คบั คาเอก คาโท มีวธิ ีการเขียนท่ีผดิ แผกไปจากเดิม ร้อยกรองปัจจุบัน คาข้ึนตน้ กลอนใชอ้ ยู่ ๒ คา คือ คราน้นั กบั จะกล่าวถึง กลอนเสภา เป็นคาประพนั ธ์ท่ีมีลกั ษณะบงั คบั คาครุ ลหุ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ 79

ลกั ษณะคาประพนั ธ์ บทหน่ึงมี ๗ วรรค แบ่งเป็นวรรคละ ๒ จงั หวะ จงั หวะละ ๒ คา กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ วรรคหนา้ มี ๕ คา วรรคหลงั มี ๖ คา กาพย์ยานี ๑๑ แบ่งจงั หวะการอ่านในแตล่ ะวรรค เป็น ๓/๒/๓ กลอนบทละคร และกลอนเสภา ปางพระศาสดาจอมไตร เสดจ็ ประดิษฐานใน ดุสิตมิ่งแมนสวรรค์ กาพย์ฉบัง ๑๖ 80

คาประพนั ธ์ชนิดใด นดนื่น้าน่ั เดชา่ีย//ณวแ/แนอลา่ะโชะบนเี-ขอ่นียกวบ/ก่งแล/น///่ะยาวกวา้ ง// กณะรจะะหดาว/แา่ งส/ทดะงเสลี วน// โวปะ๊เะพปรราะะมปงล/ปา/แระหมลาะณอมาจ/ี /ิณ// อินทรวิเชียรฉนั ท์ 81

คาประพนั ธ์ชนิดใด รเรอื่อนยรเรอ่ือนย//จลริตบอั จนเามรนรอุงล/นง///ส/ุริยโอ/้ / อสั ดงค/์ / เร่ือยเร่ือย/เรียมคอยแกว้ // คน่าุชแพลี่/ว้ เพยี งแม/่ / /คลบั คลา้ ยเรียมเหลียว โคลงสี่สุภาพ 82

คาประพนั ธ์ชนิดใด คปเหรร็น้ันะแกควาลบยา/พวไทดบรั ึ/ก้ใง้ัล/นเดบัทึกกลียเลนงด/าต่นดง/รบคัขง/้ืนึนศน/พกัเยัหล็ทน็น่ืนเ์าส/ดห/ียวลงง//ุดส/าเนียงเงียบ// ปดตเยองั้รน็ โงอยคจทะมบั มเ/ยชจายี/ุด่วส/บงธูบ/โนูปซช้าเ่ึทงตค//นิกียา้ ง้านว/พ/ผา่เ้วงบึรยรี่ารนวงรพงบด/ฤ/าวดกงาสษว/รา/วง// กลอนสุภาพ 83

ฝึ กอ่านออกเสียงร้อยกรอง ฝึกอา่ นออกเสียงบทร้อยกรองต่อไปน้ี • กลอนสุภาพ • โคลงส่ีสุภาพ • กาพยย์ านี ๑๑ • กาพยฉ์ บงั ๑๖ • กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ • อินทรวิเชียรฉนั ท์ • ร้อยกรองปัจจุบนั 84

ประเมนิ การอ่านออกเสียง แบบประเมินการอ่านออกเสียงร้อยกรอง รายการประเมิน ระดบั คะแนน ๑. ออกเสียงถูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์ ๔๓๒๑ ๒. ออกเสียงชดั เจนถูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี ๓. การแบ่งวรรคตอนในการอา่ น ๔. ความคลอ่ งแคล่ว ชดั เจน ๕. การใชน้ ้าเสียง ลีลา อารมณ์ ความรู้สึก รวม เกณฑ์การประเมนิ ๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = ปานกลาง ๑ = ตอ้ งปรับปรุง 85

คาถามทบทวนความรู้ ๑. การอ่านบทร้อยกรองแบบธรรมดากบั การอ่านเป็นทานองเสนาะ นกั เรียนคิดวา่ การอ่านแบบไหนน่าฟังกวา่ กนั เพราะเหตุใด แนวคาตอบ การอ่านแบบทานองเสนาะ เพราะเป็นการอ่านท่ีมีสาเนียงสูงต่า หนกั เบา ส้นั ยาว มีการเอ้ือนเสียง ทอดเสียง เนน้ เสียง ลีลา และท่วงท่าของบทร้อยกรอง ทาใหเ้ กิด เสียงไพเราะน่าฟัง 86

คาถามทบทวนความรู้ ๒. บทร้อยกรองปัจจุบนั หรือบทร้อยกรองร่วมสมยั มีลกั ษณะอยา่ งไรบา้ ง คาตอบ มีวิธีเขียนผดิ แผกไปจากคาประพนั ธข์ องกวรี ุ่นเก่าในบางประการ เช่น ไม่เคร่งครัด ตามแผนบงั คบั ของคาประพนั ธ์ด้งั เดิม 87

คาถามทบทวนความรู้ ๓. การอ่านบทร้อยกรองปัจจุบนั มีวธิ ีการอ่านอยา่ งไร แตกต่าง จากบทร้อยกรองสมยั ก่อนอยา่ งไร คาตอบ บทร้อยกรองปัจจุบนั กวไี ม่เคร่งครัดตามแผนบงั คบั ดา้ นจานวนคาและสมั ผสั ทาใหบ้ างวรรคท่ีจานวนคามากกวา่ และสมั ผสั อาจเลื่อนไม่ตรงตามแผนบงั คบั จึงตอ้ งอ่านโดยรวบเสียงหรือยดื เสียงใหใ้ กลเ้ คียงกบั จานวนคาตามแบบบงั คบั ของคาประพนั ธ์แต่ละชนิด ซ่ึงแตกต่างจากบทร้อยกรองสมยั ก่อนท่ีเคร่งครัด เร่ืองแผนบงั คบั จึงตอ้ งอ่านและแบ่งวรรคตอนการอ่านตามจานวนคา 88

คาถามทบทวนความรู้ ๔. นกั เรียนรู้จกั บทร้อยกรองปัจจุบนั ประเภทใดบา้ ง นกั เรียนมีความคิดเห็น อยา่ งไรกบั บทร้อยกรองในปัจจุบนั แนวคาตอบ รู้จกั กาพยย์ านี ๑๑ และกลอนสุภาพ ซ่ึงบทร้อยกรองปัจจุบนั กวสี ่วนใหญ่ตอ้ งการ นาเสนอความคิดและแนวทางใหม่ ในการเขียนร้อยกรอง ท้งั ดา้ นรูปแบบและ เน้ือหาถือวา่ เป็นการพฒั นาหรือเปลี่ยนแปลงบทร้อยกรองจากแบบด้งั เดิมมาสู่ รูปแบบใหม่ท่ีก่อใหเ้ กิดความน่าสนใจและมีความหลากหลายมากยงิ่ ข้ึน 89

สรุปความรู้ วธิ ีการออกเสียง ออกเสียงอยา่ งร้อยแกว้ กลอน ออกเสียงอยา่ งทานองเสนาะ การอ่านออก โคลง กลอนบทละคร เสียงร้อยกรอง กาพย์ กลอนเสภา ฉนั ท์ กลอนสุภาพ ร้อยกรองปัจจุบนั โคลงสี่สุภาพ กาพยฉ์ บงั ๑๖ กาพยย์ านี ๑๑ กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ อินทรวเิ ชียรฉนั ท์ 90

การมอบหมายงาน ทบทวนบทอาขยานท่ีเคยท่องจาในช้นั มธั ยมศึกษา ปี ท่ี ๑ หรือ ๒ แลว้ สรุปขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากบทอาขยาน 91


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook