Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่นแม่ลาน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นแม่ลาน

Published by nasmee5869, 2021-02-17 15:56:12

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่นแม่ลาน

Search

Read the Text Version

ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ อาเภอแม่ลาน จงั หวดั ปตั ตานี

จกั สานใบตาล การนาใบตาลวัสดใุ นท้องถ่ินมาใชป้ ระโยชน์ คือภมู ิปญั ญาท่ีสืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ นางหะลีเม๊าะ ปาลอฆง คือ ผู้ที่เรียนรู้ การทาหมวกและเสอื่ จากใบตาล จากคณุ ยายตั้งแต่อายุ 9 ปี เนื่องจากเป็นอาชีพจากบรรพบุรุษในครอบครัว ใบตาลท่ีนามาใช้ก็มาจาก ตน้ ตาลในนาของคุณตาและคณุ ยายที่ปลกู เอาไว้ ยามวา่ ง นางหะลีเม๊าะ ปาลอฆง ก็นาใบตาลมาจักสาน เป็นหมวกและเสื่อ นิยมใช้กัน อยู่ในภาคใต้สาหรับใช้งานเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทาไร่ทานา หมวกและเส่ือ ปักษ์ใต้ทั้งสองชนิดเป็นลักษณะเฉพาะท่ีต่างไปจากหมวก และเสื่อภาคอ่ืนอย่างเห็นได้ชัด ทั้งด้านรูปแบบและลวดลายของภาคใต้เกี่ยวเนื่องกับคติความเชื่อของชาวใต้ท่ียึดถือสืบต่อกันมาแต่โบร าณ ด้วย จะต้องเกบ็ รกั ษาหมวกและเส่ือไวใ้ ห้ดี ถือว่าเปน็ ของสาคัญต้องเกบ็ ไว้ในท่ีสูงการทาเคร่ืองจักสานพื้นบ้านในแต่ละภาคของไทยมีปัจจัย หลายอย่างเป็นองค์ประกอบกาหนดรูปแบบของเครื่องจักสาน โดยเฉพาะสภาพทางภูมิศาสตร์และวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ินซ่ึงเป็น องค์ประกอบสาคัญในการสร้างเครื่องจกั สานพ้ืนบา้ นภาคตา่ งๆ เคร่อื งจักสานพืน้ บา้ นของภาคใตก้ ็เช่นเดยี วกัน ลักษณะภมู ศิ าสตร์ของภาคใต้ ท่ีแตกต่างไปจากภาคอื่นๆ และภาคใต้ก็เป็นแหล่งที่มีวัตถุดิบท่ีนามาใช้ในการทาเคร่ืองจักสานได้หลายชนิด เช่น ไม้ไผ่ หวาย กระจูด แล ะ ย่านลิเภา บรเิ วณชายฝ่ังตะวันออกของภาคใต้ตงั้ แต่จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ลงไป จะเปน็ แหลง่ สาคญั ของการผลิตเคร่ืองจักสานของภาคใต้ มี เคร่ืองจักสานหลายอย่างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตนที่ต่างไปจากเครื่องจักสานอื่นๆ เช่นเครื่องจักสานย่านลิเภาท่ีทากันมากในบริเวณจังหวั ด นครศรีธรรมราช เครื่องจกั สานกระจดู ทากันมากในหลายทอ้ งถิ่นในเขตจงั หวดั พัทลงุ สงขลา และปัตตานี นอกจากน้ีก็มีเครื่องจักสานไม้ไผ่ที่ ทากนั ท่วั ไปแทบทกุ จงั หวดั แต่การทาจักสานทม่ี ีอยกู่ ันแพรห่ ลายกค็ ือหมวกและเส่อื

จกั สานใบขลา การนาใบขลาวสั ดใุ นท้องถนิ่ มาใชป้ ระโยชน์ คือภูมปิ ญั ญาที่สืบทอดมาตง้ั แต่บรรพบุรษุ นางแมะ ปูลา คือ ผู้ ทเี่ รียนรู้การทาเสอ่ื จากใบขลา จากคณุ ยายต้งั แต่อายุ 11 ปี เน่ืองจากเป็นอาชีพจากบรรพบุรุษในครอบครัว ได้นา ใบขลามาใช้ประโยชน์ซง่ึ ต้นขลาอยู่ในนาของคณุ ตาและคณุ ยายที่ปลกู เอาไว้ ยามว่าง นางแมะ ปูลา ก็นาใบขลามา จักสาน เป็นเสื่อ ซึ่งนิยมใช้กันอยู่ในภาคใต้สาหรับใช้งานเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทาไร่ทานา ชาวปักษ์ใต้ได้นา เส่ือซ่ึงแตกต่างจากภาคอ่ืนอย่างเห็นได้ชัด ท้ังด้านรูปแบบและลวดลายของภาคใต้เกี่ยวเนื่องกับคติความเช่ือของชาว ใต้ท่ียึดถือสบื ตอ่ กันมาแตโ่ บราณดว้ ย จะตอ้ งเก็บรกั ษาเส่อื ไว้ให้ดี ถือว่าเป็นของสาคัญต้องเก็บไว้ในที่สูงการทาเคร่ือง จกั สานพ้ืนบ้านในแตล่ ะภาคของไทยมีปัจจัยหลายอย่างเป็นองค์ประกอบกาหนดรูปแบบของเคร่ืองจักสาน โดยเฉพาะ สภาพทางภูมิศาสตร์และวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นซ่ึงเป็นองค์ประกอบสาคัญในการสร้างเค ร่ืองจักสานพ้ืนบ้านภาค ต่างๆ เคร่ืองจักสานพ้ืนบ้านของภาคใต้ก็เช่นเดียวกัน ลักษณะภูมิศาสตร์ของภาคใต้ที่แตกต่างไปจากภาคอ่ืนๆ และ ภาคใต้ก็เป็นแหล่งท่ีมีวัตถุดิบท่ีนามาใช้ในการทาเครื่องจักสานได้หลายชนิด เช่น ไม้ไผ่ หวาย กระจูด และ ย่านลิเภา จะเป็นแหล่งสาคัญของการผลิตเคร่ืองจักสานของภาคใต้ มีเครื่องจักสานหลายอย่างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตนท่ีต่างไป จากเคร่ืองจกั สานอ่นื ๆ เช่นเครื่องจักสานย่านลเิ ภาทที่ ากนั มากในบรเิ วณจังหวัดนครศรีธรรมราช เครื่องจักสานกระจูด ทากนั มากในหลายทอ้ งถิ่นในเขตจังหวัดพทั ลุง สงขลา และปัตตานี นอกจากน้ีกม็ เี ครื่องจักสานไม้ไผ่ท่ีทากันทั่วไปแทบ ทุกจงั หวดั แตก่ ารทาจกั สานทีม่ อี ยกู่ ันแพรห่ ลายก็คือหมวกและเสอื่

จกั สานใบเตย การนาใบขลาวสั ดใุ นท้องถนิ่ มาใชป้ ระโยชน์ คอื ภมู ิปัญญาที่สืบทอดมาตง้ั แต่บรรพบุรษุ นางแมะ ปูลา คือ ผู้ ทเี่ รียนรู้การทาเสอ่ื จากใบขลา จากคุณยายต้ังแตอ่ ายุ 11 ปี เน่ืองจากเป็นอาชีพจากบรรพบุรุษในครอบครัว ได้นา ใบขลามาใช้ประโยชน์ซง่ึ ต้นขลาอยู่ในนาของคุณตาและคุณยายที่ปลกู เอาไว้ ยามว่าง นางแมะ ปูลา ก็นาใบขลามา จักสาน เป็นเสื่อ ซึ่งนิยมใช้กันอยู่ในภาคใต้สาหรับใช้งานเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทาไร่ทานา ชาวปักษ์ใต้ได้นา เส่ือซ่ึงแตกต่างจากภาคอ่ืนอย่างเห็นได้ชัด ทั้งด้านรูปแบบและลวดลายของภาคใต้เกี่ยวเนื่องกับคติความเช่ือของชาว ใต้ท่ียึดถือสบื ตอ่ กันมาแตโ่ บราณดว้ ย จะตอ้ งเกบ็ รักษาเสอ่ื ไว้ให้ดี ถือว่าเป็นของสาคัญต้องเก็บไว้ในที่สูงการทาเคร่ือง จกั สานพ้ืนบ้านในแตล่ ะภาคของไทยมีปัจจัยหลายอย่างเป็นองค์ประกอบกาหนดรูปแบบของเคร่ืองจักสาน โดยเฉพาะ สภาพทางภูมิศาสตร์และวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นซ่ึงเป็นองค์ประกอบสาคัญในการสร้างเค ร่ืองจักสานพ้ืนบ้านภาค ต่างๆ เคร่ืองจักสานพ้ืนบ้านของภาคใต้ก็เช่นเดียวกัน ลักษณะภูมิศาสตร์ของภาคใต้ที่แตกต่างไปจากภาคอ่ืนๆ และ ภาคใต้ก็เป็นแหล่งท่ีมีวัตถุดิบท่ีนามาใช้ในการทาเครื่องจักสานได้หลายชนิด เช่น ไม้ไผ่ หวาย กระจูด และ ย่านลิเภา จะเป็นแหล่งสาคัญของการผลิตเครื่องจักสานของภาคใต้ มีเครื่องจักสานหลายอย่างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตนท่ีต่างไป จากเคร่ืองจกั สานอ่นื ๆ เช่นเครื่องจกั สานย่านลิเภาทีท่ ากนั มากในบรเิ วณจังหวัดนครศรีธรรมราช เครื่องจักสานกระจูด ทากนั มากในหลายทอ้ งถิ่นในเขตจังหวัดพัทลงุ สงขลา และปตั ตานี นอกจากน้ีกม็ เี ครื่องจักสานไม้ไผ่ท่ีทากันทั่วไปแทบ ทุกจงั หวดั แตก่ ารทาจกั สานทีม่ อี ยกู่ ันแพรห่ ลายกค็ อื หมวกและเสอื่

หมอพ้นื บา้ นรกั ษากระดูกแตกหกั นายดอแม็ง สาแมง็ ภูมปิ ัญญาหมอกระดูกพน้ื บ้านท่ีได้รับมาจากการสืบทอดของบรรพบุรุษ และจากสัมผัส ที่หก จึงไม่มีตาราเรียน ใช้วิธีการสอนแบบตัวต่อตัวรวมท้ังใช้ประสบการณ์ของผู้สอนจากการรักษา กระดูกหักที่พบบ่อย ได้แก่ แขนหกั ขาหกั และหัวไหลห่ ลุด มขี ้ันตอนการรักษาท่สี อดคล้องกนั ตามลาดับ ดังนี้ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การใชผ้ ลการตรวจของแพทยแ์ ผนปัจจุบัน และการประเมินผลการรักษา นอกจากน้ียังควบคุมอาหารที่ควรงดบริโภค และ เน้นการดแู ลสขุ ภาพผูส้ งู อายุแบบองค์รวม ส่วนการรักษาที่แตกต่างกัน ได้แก่ การใช้สมุนไพรร่วมกับน้ามันประสานกระดูก ที่มีสูตรเฉพาะและมีคาถากากับ การใช้เฝือกไม้ไผ่ และด้านทัศนคติและความเช่ือ พบว่า กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีทัศนคติท่ีดี และ ภมู ใิ จต่อการเปน็ หมอกระดกู พนื้ บา้ น เนื่องจากได้ชว่ ยเหลอื เพื่อนมนษุ ยใ์ ห้พ้นทกุ ข์จากโรคและอาการเจ็บป่วย

หมอพ้นื บา้ น(แกไ้ สยศาสตร์ มนตด์ า รกั ษาโรคหดั ) นายมดู อ บากา หมอธรรม คอื ผทู้ าหนา้ ท่ีรกั ษาคนในชมุ ชนทีโ่ ดนกระทาจากส่งิ เหนือธรรมชาติ ไม่ว่าจะโดน ผเี ข้าหรอื โดนผีหลอก มกั จะให้หมอธรรมทาการรักษาหรือปัดเป่าให้หาย ด้วยการรดน้ามนต์ โรคหัด และผูกข้อมือเด็ก ฯลฯ เมื่อหายเป็นปกติแล้ว ก็จะมาปงคาย(การถวายเคร่ืองค่าครู) ถือเป็นการตอบแทนค่ารักษาแก่หมอธรรม ซ่ึงผู้ท่ี เปน็ หมอธรรมจะไมเ่ รียกค่ารกั ษาทีเ่ กนิ กวา่ กาหนด เพราะจะถอื ว่าเป็นการผิดครู อีกประการหนึ่งผู้ที่เป็นหมอธรรมต้อง มีจรรยาบรรณของหมอ ต้องรักษาโดยไม่ได้หวังสิ่งตอบแทนใดๆ จากผู้ป่วยอีกด้วยส่ิงนี้เองท่ีทาให้คนในชุมชนเคารพ นับถอื เป็นปราชญ์ของชาวบ้าน และการช่วยเหลือเกือ้ กลู ซ่ึงกันและกันของคนในชุมชน ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมอันดีงามของ ชุมชน ทส่ี บื ทอดกันมาต้งั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบนั

ปลาสม้ ปลาส้ม คือวิธีการถนอมอาหารรูปแบบหน่ึงของชาวบ้านโดยเฉพาะในชุมชน หมู่ 1 ตาบลม่วงเตี้ย อาเภอแม่ ลาน จังหวัดปัตตานี คือ นางสาววรรณา พรมจันทร์ เป็นชาวบ้าน บ้านปลักปรือได้รับสืบทอดภูมิปัญญาปลาส้มจากบรรพ บุรษุ ทไ่ี ด้ตกทอดมาถงึ รนุ่ ลูกและหลานในปัจจุบนั จากการถนอมอาหารไว้รับประทานภายในครัวเรือนกลายมาเป็นแปรรูป เพอ่ื สรา้ งรายได้สู่พ่ีน้องในชุมชนได้เป็นอาชีพเสริม ในปัจจุบันปลาส้มก็ยังคงอยู่และได้รับการสืบทอดไปอย่างแพร่หลายทั้ง ในและนอก จงั หวัด ทั้งนี้ด้วยบุคคลดังกล่าวท่ีนับได้ว่าเป็น เซียนปลาส้ม แห่งบ้านปลักปรือ ด้วยประสบการณ์ได้รับการสั่ง สมมาช้านานอย่างมีคุณค่า และได้ถ่ายทอดให้ลูกหลานและบุคคลท่ัวไปท่ีต้องการได้รับความรู้เพื่อเป็นวิทยาทาน นางสาว วรรณา พรมจันทร์ ผู้ผลิตปลาส้ม ผู้สืบทอดภูมิปัญญาปลาส้ม และได้มีหน่วยงานของพัฒนาชุมชนเข้ามาสนับสนุนในด้าน งบประมาณและไดม้ ีการจดทะเบยี นเป็นสินค้าโอทอปของตาบลจนถึงปัจจุบนั

การทาเฟอรน์ ิเจอรไ์ ม้ การทาเฟอร์นิเจอร์ไม้ คือภูมปิ ัญญาทส่ี บื ทอดมาตงั้ แต่สมัยบรรพบุรุษ นายมะยโู ซ๊ะ อมู า คอื ผทู้ ี่เรยี นรู้การ ทาเฟอร์นเิ จอรไ์ ม้ทุกรปู แบบและทกุ ชนดิ ต้งั แต่อายุ ๒๐ ปี จนถงึ ปัจจุบนั เนอ่ื งจากเป็นอาชีพทช่ี อบและถนัด พอทา เสร็จสามารถนามาขายให้กับบุคคลในชมุ ชนและพ้นื ที่ใกลเ้ คยี ง ไมว่ า่ จะเป็นตูค้ รวั โต๊ะกินขา้ วและชุดรับแขก และที่ อ่านคตุ บะห์สาหรับละหมาดวนั ศุกรข์ องชาวไทยมุสลิม ปัจจบุ ันนายมะยโู ซ๊ะ อมู า รับทาทกุ อย่างทเี่ ก่ียวข้องเกี่ยวกับ การทาเฟอรน์ ิเจอร์ไม้ในครวั เรือน กรอบรูปทท่ี าจากผลภิ ัณฑ์จากไม้ และอื่นๆตามท่ีลูกคา้ ต้องการ

ศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามแนวทางทฤษฎใี หม่(บา้ นม่วงหวาน) การนาองค์ความรู้ในเร่ือง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจที่ทาได้จริง คือการนาเศรษฐกิจ พอเพียง เปน็ กรอบแนวคิด ซงึ่ มุง่ ให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดียิ่งข้ึน จนเกิดความยั่งยืน คา วา่ พอเพียง คือ การดาเนินชีวติ แบบทางสายกลาง โดยต้งั อยูบ่ นหลักสาคัญสามประการ คือ ความพอประมาณ ความ มีเหตผุ ล และการมภี มู ิคุ้มกนั ท่ีดี ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ชิ ติ หลักทรพั ย์ คือหลกั จากการเกษยี ณอายรุ าชการ ในตาแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา จึงได้นาองค์ความรู้ ความเข้าใจ มาสร้างศูนย์การเรียนรู้ตามแนวทางทฤษฎีใหม่(บ้านม่วงหวาน) เพื่อ เป็นการสร้าง งานสรา้ งอาชพี ใหค้ นในชมุ ชน และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชน ในพ้ืนท่ี 25 ไร่ ปลูกพืชตามแนวพระราช ดารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร การปลูกพืชสามอย่าง ได้ประโยชน์ส่ีอย่าง การปลูกพืชที่มีรายได้ประจาวัน ปลูกพืชผลไม้ที่หลากหลายชนิด ชุมชนต้องการ ตลาดต้องการ เพ่อื เป็นการสรา้ งรายไดเ้ สริมในยุกต์เศรษฐกิจปัจจุบัน ด้านการถ่ายทอดความรู้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชิต หลักทรัพย์ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ให้กับนักเรียน นกั ศกึ ษา ทัง้ ในและนอกระบบ ผทู้ ี่สนใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และยังส่งเสริมการทาปุ๋ยอัดเม็ด ปุ๋ยหมักจากวัชพืช การทานา้ สม้ ควนั ไม้ การเล้ยี งปลา ฯลฯ

นวดแผนไทย การกดจุด เป็นวิธีการกดจุดแบบผสมผสานของศาสตร์จีนโบราณ และแนวแผนไทยโบราณ เข้าดว้ ยกัน ซ่ึงมีผู้ทรงความรูไ้ ดน้ ามาใชใ้ นการรกั ษาโรคต่างๆและได้ผลดีอย่างเหลือเชื่อ โดยใช้นิ้วและอุปกรณ์ช่วยใน การกดจุด ซง่ึ จะทาให้สามารถกดจุดได้ ตรงจดุ แมน่ ยา และ เปน็ วงกว้าง สามารถกาจัดการลุกลามของอาการโรค ที่ เกี่ยวกบั ระบบเลอื ดลม ระบบกลา้ มเนื้อ ระบบประสาทและระบบโครงสร้างกระดูกและข้อตอ่ อื่นๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี นายเนียม พรหมชยั คือ ได้รบั การนวดแผนไทย จากการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ และมีความต้ังใจในเรื่อง การนวดเปน็ ทุนเดมิ อยแู่ ล้ว มกี ารฝึกฝนการนวดแผนไทยการนวดตามจดุ โดยใช้การนวดโดยใช้น้ามันที่ใช้สมุนไพรใน ชมุ ชนมาสกัดเป็นน้ามัน ในการนวดแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับว่านวดแบบใด เช่น นวดเฉพาะจุด ชั่วโมงละ 100 บาท และ การนวดท้งั ตวั ชัว่ โมงละ 200 บาท เท่านน้ั สนใจ วิธีนวดกดจุดน้ัน ไม่ใช่เร่ืองยากท่ีจะเรียนรู้เลย และเมื่อกดจุดเรียบร้อยแล้ว ก็อย่าลืมไปผ่อนคลาย ความเครียดและความเหนื่อยล้าด้วยการเปลี่ยนอิริยาบถ หรือเดินไปทาอย่างอ่ืนบ้าง เพราะถ้าไม่ได้เคล่ือนไหวไปไหน เลย ตอ่ ให้กดจุดทั่วทงั้ ตัว ก็ไม่สามารถชว่ ยอะไรได้ “ลุงเนียม ฝากมา”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook