30204-2201 ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล DIGITAL-DESIGN เ ม ธ า วี ห อ ม รื่ น 94-
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล สารบัญ 1.การออกแบบสื่ อดิจิทัล 2.ประโยชน์ 3.สรุ ป 4.หลักเบื้องต้นของสื่ อดิจิทัล 5.เทคนิ คการตัดต่อภาพด้วยสื่ อดิจิทัล
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล การออกแบบสื่ อดิจิทัล (Digital Media Design) การออกแบบสื่ อดิจิทัลเป็นหนึ่ งในการสื่ อสารแบบ Visual Communication Arts หรือ นิ เทศศิ ลป์ ซึ่งเป็นศิ ลปะที่ เกี่ยวข้องกับการ สื่ อสารทางการมองเห็น (Visual Communication) เพราะเป็นการสื่ อสารไป ยังผู้รับสารด้วยภาพเป็นสํ าคัญ (Visual Image) แม้จะมีบางองค์ประกอบจะมี การสื่ อสารทางเสี ยง มาประกอบก็ตาม แต่สื่ อหลักก็ยังเป็นการ สื่ อสารด้วย ภาพ โดยเสี ยงเป็นตัวเสริมให้ภาพนั้ นสมบูรณ์ ขึ้น ทั้งนี้ เพราะการรับรู้ของ มนุษย์เรานั้ น รับรู้จาก จักษุประสาทมากที่สุด (รับรู้ทางตา83% หู 11%) Communication Arts หรือ นิ เทศศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ศิ ลปะในการสื่ อสาร โดยให้ความสํ าคัญกับการ สื่ อสาร จากองค์ประกอบ ของการสอสาร กล่าวคือ ผู้สงสาร สาร สื่ อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้สงสารอาจ เป็นตัวบุคคล องค์กร หรือ บริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้ อหาสาระที่ ผู้ส่ งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนไดรับทราบ สื่ อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการ กระจายข่าวสารต่างๆ ไปสู่ กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ ง และผู้รับสาร หรือกลุ่มเป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้ นได้ โดยผู้สงสารจะต้องหาวิธีการทำให้ ข่าวสารที่ส่ งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุด Visual Communication คือ การสื่ อสารด้วยการมองเห็น เป็นการ สื่ อสารที่ มุ่งที่จะให้ความคิดความเข้าใจของผู้อื่น ให้เหมือนกับความคิด ความเข้าใจของเรา หรือทำอย่างไรจึงจะเอาความรู้สึ กนึ กคิดของผู้อื่นได้ โดยให้มีความรู้สึ กนึ กคิด เช่นเดียวกับเรา เพราะธรรมชาติมนุษย์ได้รับ ข่าวสารอย่างเดียวกันมา แต่จะมีความเข้าใจและความรู้สึ กนึ กคิด แตก ต่างกัน ออกไป การสื่ อสารที่ดีก็ต้องมีการวางแผน โดยสิ่ งที่ Visual Communication เห็นนั้ นได้สื่ อสารผ่านภาพ (Image), เครื่องหมาย (signs), ตัวพิมพ์ (Typography), ภาพวาด (Drawing), ออกแบบกราฟฟิค (Graphic Design), ภาพประกอบ (Illustration), สี (Color) และ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Resources) เป็นต้น
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล Visual Communication Arts หรือ นิ เทศศิ ลป์ หมายถึง งานศิ ลปะเพื่อ การนาเสนอให้ปรากฎ ในรูปแบบต่างๆ ผ่าน การมองเห็นเป็นสํ าคัญ นอกจาก จะเกี่ยวของกับการสอสารแล้ว ยังต้องเกี่ยวของ กับวิชาการ สาขาต่าง ๆ อีกก็คือ จิตวิทยา ธุรกิจ เทคโนโลยี ระบวนการสร้างสรรค์ และศิ ลปะ Digital Media Design หรือ การออกแบบสื่ อดิจิทัล จึงหมายถึงการส รางสรรค์ผลงานในเชิงนิ เทศศิ ลป์เพื่อสื่ อสารสง ต่างๆ ให้กับผู้รับสาร โดยใช้สื่ อระบบดิจิทัลในกระบวนการออกแบบและ การสื่ อสาร การออกแบบด้วยสื่ อดิจิทัลแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ผลงานการออกแบบสิ่ งพิมพ์ด้วยสื่ อดิจิทัล เช่น หนั งสื อ ( Book), นิ ตยสาร ( Magazine), วารสาร ( Periodical), ภาพโฆษณา ( Poster), เครื่องหมายและการค้า (Trademark & Logo), ตราสั ญลักษณ์ (Logo), บรรจุภัณฑ์ (Packaging) เป็นต้น 2. ผลงานการออกแบบเพื่อนำไปใช้สอดิจิทัลโดยตรง เช่น Web Page, Banner, Animation, E-Newsletter, Blog, E-Book, Wallpaper, VDO เป็นต้น ป ร ะ โ ย ช น์ ข้อดีของสื่ อดิจิตอล 1. ความคงทน คุณภาพของสิ่ งที่อยู่ใน “ Digital Media ” การเสื่ อม สภาพจะใช้เวลานานกว่า เพราะรูปแบบของข้อมูลที่จัดเก็บแบบ . สอง ระดับ ” (0 กับ 1) โอกาสที่จะผิดเพี้ยนจะเกิดขึ้นได้ยากกว่า ข้อมูลแบบต่อ เนื่ อง เช่น การบันทึกภาพลงในวีดิทัศน์ แบบอนาลอก กับการบันทึกภาพ ลงวีดิทัศน์ ในระบบดิจิตอล เมื่อเส้ นเทปยืด การอ่านข้อมูลกลับมาใน แบบดิจิตอลนั้ น จะทำได้ง่ายกว่า และสามารถทำให้ได้ข้อมูลกลับมาได้ เหมือนเดิมได้ง่ายกว่า แต่สำหรับอนาลอก จะให้คุณภาพของภาพ ที่ลดลง โดยทันที
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล 2. รูปแบบของการนำไปใช้งานทำได้หลากหลายวิธี ข้อมูลที่จัดเก็บใน แบบดิจิตอล ถือได้ว่า เป็นข้อมูลกลาง ที่สามารถแปลงไปสู่ รูปแบบอื่นได้ ง่ายเช่น ถ่ายรูปด้วยกล้องดิจิตอล เมื่อได้เป็น ข้อมูลภาพออกมาแล้ว จาก นั้ น สามารพิมพ์ภาพลงบนกระดาษหรือการแสดงภาพบนจอ คอมพิวเตอร์ หรือแสดงภาพบนจอทีวี ก็ได้เช่นกัน 3. การนำไปผสมผสานกับสื่ อรูปแบบอื่น เช่น ภาพถ่าย นำมารวมกับเสี ยง มีการแสดงแบบ Multi-Media 4. การปรับแต่ง (Edit) เป็นการปรับแต่งสื่ อที่เป็นภาพถ่าย วิดีโอ เสี ยง นกร้อง … นำมาปรับแต่งให้ดีขึ้นกว่าเดิม การสอดแทรก สิ่ งเหล่านี้ ทำให้ น่ าดู น่ าฟัง มากกว่าปกติ มีความวิจิตรพิสดาร ข้อเสี ยของสื่ อดิจิตอล เป็นสิ่ งที่ง่ายต่อการกระทำผิดศิ ลธรรม การละเมิดในสิ ทธิของผู้อื่น เช่น การนำเอาภาพของบุคคลหนึ่ ง มาตัดต่อกับภาพเปลือยกายของอีก คนหนึ่ ง หรือ การทำซ้ำ (Copy) กับ งานสื่ อ ที่มีลิขสิ ทธิ์ถูกต้อง เป็นต้น ถึงอย่างไรก็ตาม จากข้อดี ที่มีคุณสมบัติเด่นมากมายเหล่านี้ ทำให้แนว โน้ มของอุปกรณ์ สื่ อในอนาคต สามารถพัฒนาขึ้นเป็นสื่ อดิจิตอล (Digital Media) และมีแนวทางของการพัฒนา ให้มีคุณภาพดีขึ้นทุกขณะ และราคาถูกลงอย่างเหลือเชื่อ …
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล สรุ ป “มัลติมีเดีย” หมายถึง การนาองค์ประกอบของสื่ อดิจิตอลชนิ ดต่างๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกัน ซึ่งประกอบด้วย ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ ง (Still Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสี ยง (Sound) และวิดีโอ โดยผ่านกระบวนการทางระบบ(V คidอeมoพิ)วเตอร์เพื่อสื่ อความหมายกับผู้ ใช้อย่างมีปฏิสั มพันธ์ (Interactive Multimedia) และได้บรรลุผล ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ในส่ วนของแต่ละองค์ประกอบของ มัลติมีเดียทั้ง 5 คชุณนิ ดลัจกะษมีณทั้ะงแข้ ลอะดีวิ-ธขี้กอาเสรี ใยชท้ีง่แาตนกต่างกันไปตาม สาหรับประโยชน์ ที่จะได้รับจากมัลติมีเดียมีมากมาย นอกจากจะช่วย เพิ่มประสิ ทธิภาพในการดาเนิ นงานแล้ว ยังเพิ่มประสิ ทธิผลของความ คุ้มค่าในการลงทุนอีกด้วย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับวิธีการนามาประยุกต์ใช้เพื่อ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด โดยสรุ ป สื่ อดิจิทัล หมายถึง สื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ ซึ่งทำงานโดยใช้รหัส ดิจิทัล ในปัจจุบัน การเขียนโปรแกรม ตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลขฐานสอง ในกรณี นี้ ดิจิทัล หมายถึงการแยกแยะระหว่าง \"0\" กับ \"1\" ในการแสดง ข้อมูล คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องจักรที่มักจะแปลข้อมูลดิจิทัลฐานสองแล้ว จึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้นของข้อมูลดิจิทัลที่เหนื อกว่า Digital Media (สื่อดิจิทัล) M U L T I M E D I A ( มั ล ติ มี เ ดี ย ) N E W M E D I A ( สื่ อ ใ ห ม่ ) อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง สื่ อ ดิ จิ ทั ล เ บื้ อ ง ต้ น ข้ อ ค ว า ม , เ สี ย ง , ภ า พ นิ่ ง , ภ า พ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว , วี ดิ โ อ “ มั ล ติ มี เ ดี ย ”
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล การนำองค์ประกอบของสื่ อดิจิทัลชนิ ดต่างๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกัน ซึ่ง ประกอบด้วย ตัวอักษร (Text) ภาพนิ ง (Still Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสี ยง (Sound) และวดีโอ (Video) โดยผ่านกระบวนการทาง ระบบคอมพิวเตอรเพื่อสื่ อ ความหมายกับผู้ใช้อย่างมีปฏิสั มพันธ์ (Interactive Multimedia) และได้บรรลุผลตรงตามวลวัตถุประสงค์การ ใช้ง าน Visual Communication Arts การสื่ อสารด้วยการมองเห็น เป็นการสื่ อสารที่มุ่งที่จะให้ความคิด ความเข้าใจของผู้อื่น ให้เหมือนกับความคิดความเข้าใจ ของเรา หรือทำ อย่างไรจึงจะเอาความรู้สึ กนึ กคิดของผู้อื่นได้ โดยให้มีความรู้สึ กนึ กคิด เช่นเดียวกับเรา เพราะธรรมชาติมนุษย์ ได้รับข่าวสารอย่างเดียวกันมา แต่ จะมีความเข้าใจและความรู้สึ กนึ กคิด แตกต่างกันออกไป 1. ผลงานการออกแบบสิ่ งพิมพ์ด้วยสื่ อดิจิทัล เช่น หนั งสื อ ( Book), นิ ตยสาร ( Magazine), วารสาร ( Periodical), ภาพโฆษณา ( Poster), เครื่องหมายและการค้า (Trademark & Logo), ตราสั ญลักษณ์ (Logo), บรรจุภัณฑ์ (Packaging) เป็นต้น 2. ผลงานการออกแบบเพื่อนำไปใช้สื่ อดิจิทัลโดยตรง เช่น Web Page, Banner, Animation, E-Newsletter, Blog, E-Book, Wallpaper, VDO เป็นต้น. Digital Media Design หรือ การออกแบบสื่ อดิจิทัล จึงหมาย ถึง การสร้างสรรค์ผลงานในเชิงนิ เทศศิ ลป์เพื่อสื่ อสารสิ่ ง ต่างๆ ให้กับ ผู้รับสาร โดยใช้สื่ อระบบดิจิทัลในกระบวนการออกแบบและการสื่ อสาร
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล หลักเบื้องต้นของสื่ อดิจิทัล สื่ อดิจิตอล (ตรงกันข้ามกับสื่ ออนาล็อก) มักหมายถึงสื่ อ อิเล็กทรอนิ กส์ ซึ่งทํางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ในปัจจุบัน การเขียน โปรแกรมต้องอยู่บนพื้นฐานของเลขฐานสอง ในกรณี นี้ ดิจิตอล หมาย ถึงการแยกแยะระหว่าง \"0\" กับ \"1\" ในการ แสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็น เปครรื่ะอมงวจลักผรลทีช่ัม้นักขจอะงแปข้อลมขู้ลอดมูิลจิตดิอจิลตทอี่ลเ หฐนาืนอกสวอ่างแสื่ลอ้วดิจจึิงตแอสลดเงช่ชนั้นเดขียอวงกเัคบรืส่ือ่ อง เสี ยง วิดีโอ หรือเนื้ อหาดิจิตอลอื่น ๆ สามารถถูกสร้างขึ้น อ้างอิงถึง และ ได้รับการแจกจ่ายผ่านทางเครื่องประมวลผลข้อมูลดิจิตอล สื่ อดิจิตอลได้ นํ ามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง เมื่อเทียบกับสื่ ออนาล็อก Digital Media (สื่ อดิจิตอล) และ มัลติมีเดีย (Multimedia) ทั้งสองคํา นี้ เป็นเรื่องของสื่ อทั้งหมดหรืออาจจะเรียกรวมว่า สื่ อใหม่(New media) ก็พอจะนั บรวมไปได้ ทั้งสอง คําต่างก็มีความเกี่ยวโยงกัน ถ้าลองคิดถึง สื่ อประเภทใดบ้างที่มีลักษณะเป็นดิจิตอลหลายๆ คนคงพอนึ กได้ เนื่ อง ด้วย ส่ วนใหญ่ล้วนเป็นสิ่ งที่เราได้เคยใช้อยู่แล้วในชีวิตประจําวัน เช่น การพิมพ์ข้อความเพื่อส่ งเมล์ การเปิดฟังเพลงด้วย คอมพิวเตอร์ การชม ภาพถ่ายที่เก็บในฮาร์ดดิสก์ การชมภาพเคลื่อนไหวผ่านจอคอมพิวเตอร์ การดูวิดีโอ หรือการติดต่อสื่ อสาร ในยุคปัจจุบัน ทั้งหมดนี้ เรารับข้อมูล ผ่านสื่ อที่เป็นดิจิตอลทั้งสิ้ น และถ้าหากเรานํ าสื่ อดิจิตอลทั้งหมดนี้ มารวม เข้าด้วยกัน เราจะได้เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่งถือเป็นสื่ อใหม่ (New media) ที่กําลังมีอิทธิพลต่อการสื่ อสารในยุคปัจจุบัน องค์ประกอบของสื่ อดิจิตอลเบื้องต้น เป็นอย่างเดียวกันกับองค์ประกอบเบื้องต้นของมัลติมีเดียด้วย ประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิ ดได้แก่ 1. ข้อความ เป็นส่ วนที่เกี่ยวกับเนื้ อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้ อหาของเรื่องที่นํ าเสนอ ถือว่า เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สํ าคัญ ของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นํ าเสนอผ่านจอภาพของเครื่อง คอมพิวเตอร์ นอกจาก
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล จะมีรูปแบบและสี ของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยัง สามารถกําหนดลักษณะของการปฏิสั มพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนํ า เสนอได้อีกด้วย ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่ 1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการ พิมพ์ด้วย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII 1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้ จากการนํ าเอกสารที่พิมพ์ไว้แล้ว (เอกสารต้นฉบับ) มาทําการสแกน ด้วย เครื่องสแกนเนอร์ ( Scanner) ซึ่งจะได้ผลออกมาเป็นภาพ (Image) 1 ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศั ย โปรแกรม OCR ข้อความอิเล็กทรอนิ กส์ เป็น ข้อความที่พัฒนาให้อยู่ใน รูปของสื่ อ ที่ใช้ประมวลผลได้ 1.3 ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext) เป็นรูปแบบของข้อความ ที่ได้รับ ความนิ ยมสูงมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของ เอกสารเว็บ เนื่ องจากสามารถใช้เทคนิ ค การ Link หรือเชื่อมข้อความไป ยัง ข้อความ หรือจุดอื่นๆ ได้ 2. เสี ยง ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสั ญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้ำกลับ ไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ ออกแบบมาโดยเฉพาะสํ าหรับทํางาน ด้านเสี ยง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสี ยงที่เร้าใจและสอดคล้องกับ เนื้ อหาใน การนํ าเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้ นเกิดความสมบูรณ์ แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยสร้างความน่ าสนใจและ น่ าติดตามใน เรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ เนื่ องจากเสี ยงมีอิทธิพลต่อผู้ใช้ มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่ งดังนั้ น เสี ยง จึงเป็นองค์ประกอบที่จําเป็น สํ าหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนํ าเข้าเสี ยงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดี ดีวีดี เทป และวิทยุ เป็นต้น
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล 3. ภาพนิ่ ง เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และ ภาพลายเส้ น เป็นต้น ภาพนิ่ งนั บว่ามี บทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดีย มากกว่าข้อความหรือตัวอักษร เนื่ องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้ หรือรับรู้ด้วยการ มองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ ยังสามารถถ่ายทอดความ หมายได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษรซึ่งข้อความหรือ ตัวอักษรจะ มีข้อจํากัดทางด้านความแตกต่างของ แต่ละภาษา แต่ภาพนั้ นสามารถสื่ อ ความหมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่ งมักจะแสดงอยู่บนสื่ อชนิ ดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนั งสื อพิมพ์หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น 4. ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือ ปรากฏ การณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่ อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบ ของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจ จากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะ ทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของ ไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ใน การจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่ งหลายเท่า 5.วิดีโอ เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสํ าคัญเป็นอย่างมาก เนื่ องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถนํ าเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่ งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสี ยงได้สมบูรณ์ มากกว่าองค์ ประกอบ ชนิ ดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบ มัลติมีเดียก็คือ การสิ้ นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บน หน่ วยความจําเป็น จํานวนมาก เนื่ องจากการนํ าเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง ( Real-Time) จะต้องประกอบด้วย จํานวนภาพไม่ตํ่ากว่า 30 ภาพต่อ วินาที (Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่าน กระบวนการ บีบอัดขนาดของสั ญญาณมาก่อน การนํ าเสนอภาพเพียง 1 นาที อาจต้องใช้หน่ วยความจํามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทํา ให้ไฟล์มีขนาด ใหญ่เกินขนาดและมีประสิ ทธิภาพในการทํางานที่ด้อยลง สรุปได้ว่าคําว่า “มัลติมีเดีย” หมายถึง การนํ าองค์ประกอบของสื่ อดิจิตอลชนิ ดต่างๆ มา ผสมผสานเข้าด้วยกัน ซึ่งประกอบด้วย ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ ง (Still Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสี ยง (Sound) และวิดีโอ (Video) โดยผ่านกระบวนการทางระบบ
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล คอมพิวเตอร์เพื่อสื่ อความหมายกับผู้ใช้อย่างมีปฏิสั มพันธ์ ( Interactive Multimedia) และได้บรรลุผลตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ในส่ วน ของแต่ละองค์ประกอบของมัลติมีเดียทั้ง 5 ชนิ ดจะมีทั้งข้อดี - ข้อเสี ยที่ แตกต่างกันไปตามคุณลักษณะและวิธีการใช้งาน สํ าหรับประโยชน์ ที่จะ ได้รับจากมัลติมีเดียมีมากมาย นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการดํา เนิ นงานแล้ว ยังเพิ่มประสิ ทธิผลของ ความคุ้มค่าในการลงทุนอีกด้วย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับวิธีการนํ ามาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เทคนิ คการตัดต่อภาพด้วยสื่ อดิจิทัล การตัดต่อภาพยนตร์ เป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ งในการสร้าง ภาพยนตร์ ซึ่งหมายถึง การลำดับภาพจากภาพยนตร์ที่ถ่าย ทำไว้ โดยนำ แต่ละฉากมาเรียงร้อยกันตามโครงเรื่อง จากนั้ นก็จะใช้เทคนิ คการตัดต่อ ให้ภาพและเสี ยงมีความสั มพันธ์ต่อเนื่ องกัน เพื่อให้ได้ภาพยนตร์ที่มีความ สมบูรณ์ เต็มรูปแบบ ก่อนที่จะนำไปเผยแพร ต่อไป การตัดต่อลำดับภาพ หมายถึง การเชื่อมต่อกันระหว่างช็อต 2 ช็อต เพื่อเล่าเรื่องราวต่างๆ ด้วยภาพ ซึ่งสามารถกระทำได้ทั้ง ภาพนิ่ งและภาพ เคลื่อนไหว โดยการนำชิ้นงานแต่ละช็อต แต่ละฉากมาเรียงกัน เพื่อให้ เกิดความต่อเนื่ องและกลมกลืนกันด้วยเทคนิ ค วิธีต่างๆ จนกระทั่ง สามารถเล่าเรื่องราวได้ตามบท (Script) ที่เขียนไว้ ดังนั้ นผู้ตัดต่อที่ดี ต้องคิดสรรช็อตที่ดีและฉากที่ดีมาเรียงต่อกัน โดยจะ ต้องคำนึ งถึงความยาว จังหวะ รวมถึงอารมณ์ ที่ ต้องการสื่ อให้ผู้ รับสาร ได้ รับรู้ และที่สำคัญก็คือ ต้องคำนึ งถึงความเป็นเอกภาพของเรื่องนั้ นๆ ด้วย การตัดต่อภาพและเสี ยง หมายถึง กระบวนการนำภาพต่างๆ ที่บันทึก ไว้มาลำดับเป็นเรื่องราวโดยอาศั ยเครื่องมือตัดต่อ รวมถึง การซ้อนตัว หนั งสื อ หรือการสร้างภาพพิเศษต่างๆ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ ของ รายการในการสื่ อความหมาย ตลอดจนการใส่ เสี ยง บรรยาย เสี ยง ประกอบ ตามรูปแบบของรายการนั้ นๆ
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ความสำคัญ การตัดต่อลำดับภาพมีความสำคัญในส่ วนที่ทำให้ผู้ดูเข้าใจเรื่องราวที่นํ า เสนอและได้อารมณ์ อย่างต่อเนื่ องตั้งแต่เริ่ม จนจบเรือง 1. การดึงผู้ดูให้เข้าไปเกี่ยวของและเป็นส่ วนหนึ่ งกับเหตุการณ์ ในเรื่อง ทำให้ผู้ดูเกิดสภาพอารมณ์ ตามที่ผู้ตั ดต่อต้องการ 2. การสร้างเรื่องราวอย่างต่อเนื่ อง 3. การเชื่อมต่อภาพให้ดูลื่นไหล 4. การแก้ไขจุดบกพร่องที่อาจจะเกิดมาจากการถ่ายทำ 5. การกำหนดเวลา หรือ การกําจัดเวลา ประเภทของการตัดต่อ การตัดต่อแบบ Linear เป็นการตัดต่อในรูปแบบเดิม คือ ตัดต่อจาก เทปวีดิโอ โดยผู้ตัดต่อจะต้องเริ่มตัดต่อด้วยการนำเทปมา เรียงตามลำดับ เรื่อง ผ่านเครื่องเล่นเทปอย่างน้ อย 2 เครื่อง และจะต้องทำการตัดต่อไล่ เรียงตามลำดับตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่สามารถกระโดด ข้ามไปมาได้ ดังนั้ น ผู้ ตัดต่อจะต้องวางแผนการตัดต่อภาพโดยมีลำดับของภาพและความยาว ของแต่ละช็อต เรียงลำดับกันไปตามเนื้ อเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ การตัดตต่อแบบ Non-Linear เป็นการตัดต่อที่พัฒนามาจากการตัดต่อ แบบ Linear ซึ่งการตัดต่อแบบ Non-Linear เป็นนการตัดต่อ ที่สามารถ กระโดดข้ามไปมาได้ และเครื่องมือหลักที่ใช้ในการตัดต่อชนิ ดนี้ ก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลักการทำงานโดยการอาศั ย การแปลง สั ญญาณจากภาพวีดิทัศน์ ให้เป็นสั ญญาณทางคอมพิวเตอร์ หรือดิจิทัล แล้วเก็บไว้ในหน่ วยความจำหรือฮาร์ดดิสก์ เพื่อนำมา ทาการตัดต่อลำดับ ภาพ
ก า ร อ อ ก แ บ บ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ต่อไม่จำเป็นจะต้องตัดเรียงลำดับช็อตก่อนหลัง นอกจากนี้ ผู้ตัดต่อยัง สามารถแก้ไขภาพต่างๆ ได้ โดยง่าย หลังจากที่ทำการตัดต่อเสร็จ สมบูรณ์ แล้ว ผู้ตัดต่อจะต้องทำการแปลงสั ญญาณดิจิทัลนั้ น ให้กลับเป็น เหมือนเดิมเพื่อบันทึกลง สู่ เครื่องเทปหรือแผ่นบันทึกข้อมูลอีกครั้งหนึ่ ง ข้ อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการตัด ต่อลำดับภาพด้วยระบบดิจิทัล (คอมพิวเตอร์) อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 1. กล่องวีดิโอดิจิทัล (Video Digital Camera) กลองวีดิโอดิจิทัลใน ปัจจุบันมีมากมายหลายยี่ห้อ และหลายรุ่น ราคาแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ ราคาของกล้องวีดิโอดิจิทัลจะขึ้นอยู่กับความละเอียดของภาพและความ คม ชัดของเสี ยงที่บันทึกได้ การจัดเก็บ ข้อมูลที่บันทึกได้มักนิ ยมเก็บไว้ ในเทปที่เรียกว่า Mini DV เพราะเก็บขอมูลภาพวีดิโอได้มาก 2. สาย Fire Wire หรือ สาย I-link เป็นอุปกรณ์ เชื่อมต่อระหว่างกล้อง และคอมพิวเตอร์ เพื่อถ่ายโอนข้อมูล 3. การ์ดจับภาพ (capture card) เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้ในการนำภาพวีดิโอ ออกจากกล้องเพื่อนำเขาเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. โปรแกรมที่ใช้สำหรับงานตัดต่อ ได้แก่ • โปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อไฟล์วีดิโอ เช่น Window Movie Maker, Ulead Video Studio, Adobe Premiere, Macromedia Director เป็นต้น • โปรแกรมที่ใช้ในการแปลงไฟล์ เช่น ImTOO MPEG Encoder, WMA Converter, WinAVI Video Converter, Speed Video Converter เป็นต้น • โปรแกรมที่ใช้เขียนข้อมูลเพื่อสร้างแผ่น VCD หรอ DVD เช่น Nero Burning Rom, ultra iso , Alcohol 120% , IsoBurner , Smart Tip (Freeware) เป็นต้น
การออกแบบสื่ อดิจิทัล การออกแบบสื่ อดิจิทัลเป็นหนึ่ งในการสื่ อสารแบบ Visual Communication Arts หรือ นิ เทศศิ ลป์ ซึ่งเป็นศิ ลปะที่ เกี่ยวข้องกับ การสื่ อสารทางการมองเห็น (Visual Communication) เพราะ เป็นการสื่ อสารไปยังผู้รับสารด้วยภาพเป็นสํ าคัญ (Visual Image) แม้จะมีบางองค์ประกอบจะมีการสื่ อสารทางเสี ยง มาประกอบก็ตาม แต่สื่ อหลักก็ยังเป็นการ สื่ อสารด้วยภาพ โดยเสี ยงเป็นตัวเสริมให้ ภาพนั้ นสมบูรณ์ ขึ้น ทั้งนี้ เพราะการรับรู้ของมนุษย์เรานั้ น รับรู้จาก จักษุประสาทมากที่สุด
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: