Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนเค้าโครงนวัตกรรม

การเขียนเค้าโครงนวัตกรรม

Published by ppw52020112, 2020-01-07 04:55:25

Description: การเขียนเค้าโครงนวัตกรรม

Keywords: นวัตกรรม

Search

Read the Text Version

การพฒั นานวัตกรรมพื่อการจดั การเรยี นรู้ ไพฑรู ย์ ปลอดอ่อน ศึกษานเิ ทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1….เรยี บเรยี ง เกร่ินนา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูนั้น องค์ประกอบท่ีจะช่วยให้ครูประสบความสาเร็จอย่างมี ประสิทธิภาพคือรูปแบบการจัดกิจกรรมท่ีดีหรือเทคนิควิธีท่ีแปลกใหม่น่าความสนใจหรือส่ือวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชานั้นๆ รูปแบบ เทคนิควิธีหรือสื่อที่นามาใช้แล้วได้ผลดีก็คือ “นวัตกรรมการศึกษา” ดังนั้น “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation)” จึงหมายถึง เทคนคิ วธิ ีการ กระบวนการหรอื ส่งิ ประดษิ ฐท์ ่นี ามาใช้แก้ปัญหาหรือ พฒั นาการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพตรงตามเปา้ หมายทต่ี อ้ งการ การพฒั นานวัตกรรม การจัดทานวตั กรรมการศึกษาทม่ี ีประสทิ ธภิ าพนนั้ ต้องใช้วิธรี ะบบ (System Approach) คือมีขั้นตอน การเตรียมการสร้าง ขั้นตอนการดาเนินการสร้าง และข้ันตอนการประเมินนวัตกรรม สมมุติว่าต้องการพัฒนา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เรื่องการแยกตัวประกอบของจานวนนับ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เราจะต้องวางแผนการพัฒนาด้วยวิธรี ะบบดงั น้ี ขั้นตอน กจิ กรรมที่ดาเนนิ การ ขนั้ เตรยี มการ 1. ศึกษาตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องเพื่อกาหนด ขั้นดาเนินการ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิเคราะห์เน้ือหา วิเคราะห์และจัดลาดับเน้ือหาย่อย จัดลาดับ ข้ันประเมินผล ของจุดประสงค์การเรียนรู้ตามลาดับ มีการกาหนดภารกิจของผู้เรียนในกระบวนการ เรียนรู้ (Task) ทส่ี อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ศึกษาค้นคว้าแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เช่นเทคนิคการสอน คู่มือการจัดการ เรียนรู้เร่ืองการแยกตัวประกอบของจานวนนับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียน สาเร็จรูป ชุดการเรียนรู้ แบบฝึก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หนังสืออ่านประกอบ ฯลฯ เลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม เช่นเลือกสร้าง “ชุดการเรียนรู้ ประกอบการสอนของครู” 3. การเขียนเค้าโครงการพัฒนาและนานวัตกรรมไปใช้ เป็นการวางแผนทางานอย่าง เปน็ ระบบย่งิ ขน้ึ 4. ลงมือสร้างและหาประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม 1. นาไปใชป้ ระกอบการสอนของครู 2. ใชจ้ ัดการเรียนรแู้ บบศูนย์การเรียน 3. ใหน้ กั เรยี นศึกษาด้วยตนเอง 4. ใชส้ อนซอ่ มเสริม ฯลฯ 1. สอบวัดความรู้ความเข้าใจตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัดและมาตรฐานการ เรียนร้ทู ่ีกาหนด 2. ประเมนิ เจตคติหรือความพงึ พอใจต่อการเรยี นดว้ ยนวตั กรรม การพัฒนานวตั กรรมพือ่ การจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 1

ประเภทของนวตั กรรม นวัตกรรมการศึกษาที่นามาใช้จัดการเรียนรู้มีหลายประเภท ในที่น้ีขอแบ่งประเภทของนวัตกรรมเป็น 2 ประเภท ดังน้ี 1. ประเภทวัสดุ อุปกรณ์ เช่น เอกสารประกอบการสอน บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการเรียนรู้ บทเรียน คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน วดิ ีทัศน์ เทปเพลง โทรทศั น์ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ฯลฯ 2. ประเภทเทคนิควิธี เช่น การจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน การศึกษาด้วยตนเอง การสอนแบบ โครงการ การสอนซอ่ มเสริม การสอนแบบแก้ปญั หา ฯลฯ ลักษณะทด่ี ีของนวัตกรรม 1. นักเรียนเรยี นรูไ้ ดเ้ ร็วขึน้ 2. นกั เรียนบรรลจุ ุดประสงคต์ ามทีก่ าหนด 3. นา่ สนใจ สนกุ สนาน 4. ลดเวลาของครู 5. ประหยดั ทรพั ยากร เป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบท่ัวๆ ไปของนวัตกรรม 1. คู่มือการใช้นวัตกรรมสาหรบั ครู ซงึ่ ต้องมคี าช้ีแจงเกย่ี วกับองค์ประกอบของนวัตกรรม ขั้นตอนการ ใช้นวัตกรรมที่ชัดเจนครูคนอื่นอ่านแล้วสามารถนานวัตกรรมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับเจ้าของ นวัตกรรม 2. คาชี้แจงสาหรับนกั เรียน (ในกรณที ่ใี หน้ กั เรยี นศกึ ษาดว้ ยตนเองหรอื ทากิจกรรมตามใบงาน) 3. แบบทดสอบหรือแบบประเมินนักเรียนก่อนการใช้นวัตกรรมพร้อมเฉลยสาหรับครูหรือนักเรียน แลว้ แตก่ รณี 4. ใบงาน แบบฝึก ใบความรู้หรือชุดกิจกรรมท่ีจัดไว้เป็นหน่วยย่อยๆ ตามลาดับภารกิจของผู้เรียนท่ี วเิ คราะห์ไว้ พร้อมแบบประเมนิ หรือแบบทดสอบประจาหนว่ ยย่อย 5. แบบทดสอบหรอื แบบประเมินหลังเรียนซึ่งอาจเป็นเคร่ืองมือชุดเดียวกันกับการประเมินก่อนเรียน หรอื มีลักษณะคูข่ นานกัน 6. แบบประเมินความคิดเห็นหรอื ความพงึ พอใจของนักเรียนต่อการเรียนดว้ ยนวัตกรรม 7. บรรณานุกรมท่ีใช้อ้างอิงหรือเป็นแหล่งขอ้ มลู ในการสร้างนวตั กรรม การเขียนเค้าโครงการพฒั นาและนานวัตกรรมไปใช้ นวตั กรรมท่ีดีต้องมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาด้วยวิธีระบบ ตามท่ีกล่าวแล้วข้างต้น ดังนั้นผู้ออกแบบ นวัตกรรมควรจัดทาเค้าโครงการพัฒนาและนานวัตกรรมไปใช้ ซ่งึ อาจใชร้ ปู แบบเค้าโครงต่อไปนีใ้ นการวางแผน การพฒั นานวตั กรรมพ่ือการจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 2

เค้าโครงการพัฒนานวัตกรรมเร่ือง ………………………………………………………………………………………………………… ผจู้ ัดทา …………………………………………………………………………………………………………………………………. โรงเรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินการ ……………………………………………………………………………………………………………………. ************************************************************************************************** 1. ความเปน็ มาและความสาคัญของการพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กรอบแนวคิดในการพัฒนา (วิจัย) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วัตถปุ ระสงคข์ องการพัฒนา (วิจยั ) 3.1……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.2……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.3……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.4……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. คาถามของการวิจัยและตัวแปรในการวิจัย 4.1 คาถามของการวจิ ยั 4.1.1 ………………………………………………………………………………………………………………....................... 4.1.2……………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.1.3 ……………………………………………………………………………………………………………………………………. 4.2 ตวั แปรต้น…………………………………………………………………………………………………………………………….. 4.3 ตวั แปรตาม……………………………………………………และ……………………………………………………………… 5. สมมุติฐานของการวจิ ัย 5.1 ………………………………………………………………………………………………………………....................... 5.2……………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.3 ……………………………………………………………………………………………………………………………………. 6. นิยามศพั ท์ 6.1……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6.2…………………………………………………………………….…………………………………………………………………………. 6.3……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. การพฒั นานวัตกรรมพื่อการจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 3

8. วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย 8.1 กลุ่มเปา้ หมาย (ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง) ประชากร…………………………………………………………………………………………………………………… กล่มุ ตัวอย่าง……………………………………………………………………………………………………………………… 8.2 นวัตกรรมท่ีใช้…………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8.3 ปฏิทินระยะเวลาทีท่ าการวิจัย ขน้ั ตอนท่ี กิจกรรมท่ีดาเนนิ การ ปฏิทนิ ดาเนนิ การ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 8.4 เครือ่ งมือทใี่ ช้การวิจยั 8.4.1 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 8.4.2……………………………………………………………………………………………………………………………………. 8.4.3……………………………………………………………………………………………………………………………………. 8.4.4……………………………………………………………………………………………………………………………………. 8.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถติ ทิ ีใ่ ช้ 8.5.1 การวิเคราะห์ประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม ใชส้ ูตร…………………………………………………. 8.5.2 การวิเคราะหผ์ ลการใช้นวัตกรรมตอ่ กลมุ่ เปา้ หมายใชส้ ถิติ………สูตร…………………………. 8.5.3 การวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ความพงึ พอใจของกล่มุ เปา้ หมาย ใช้สถติ …ิ ……สูตร…………………… 8.5.4…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ******************************************** การพัฒนานวัตกรรมพอื่ การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 4

หลักการเขยี นเคา้ โครงการวจิ ัย (Research Proposal) โดยทัว่ ไปการเขียนเคา้ โครงการวิจยั มีหลกั การใหญ่ ๆ คอื 1. กาหนดปัญหาและความจาเปน็ ทตี่ ้องพฒั นา 2. สร้างเครื่องมือในการแก้ปญั หา/พฒั นา 3. การจดั กิจกรรมการแก้ปัญหา/การพัฒนา 4. การวดั และประเมนิ ผล ส่วนการเขียนเค้าโครงการวิจัยชั้นเรียนหรือการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน มีหัวข้อสาคัญที่ จะตอ้ งเขยี น ดังน้ี 1. ช่อื เร่อื งการวจิ ัย 2. หลกั การและเหตผุ ลและกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 3. วตั ถุประสงค์การวิจัย คาถามในการวจิ ยั และสมมตุ ฐิ านของการวิจัย 4. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั 5. แนวคดิ /หลกั การทใ่ี ช้แก้ปญั หา/การพฒั นา 6. วิธีดาเนินการวจิ ยั แบบแผนการวจิ ัย การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ีใช้ 7. ระยะเวลาในการดาเนินการวจิ ยั ประเด็นการเขยี นเคา้ โครงงานวจิ ัยและความหมาย 1. การต้งั ช่ือเร่อื ง 1.1 กะทัดรัด ชัดเจน ใหส้ ามารถสื่อไดว้ ่าจะศกึ ษาเร่ืองอะไร กับใคร 1.2 แสดงถึงความสมั พันธ์ของตัวแปรของปัญหา 1.3 ภาษาชัดเจน อา่ นง่าย ถ้าเปน็ ศัพทเ์ ทคนิคตอ้ งเปน็ ท่ียอมรบั กนั ในสาขาน้ัน 2. การคดั เลือกเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 2.1 ทนั สมัย 2.2 ชี้นาและให้ขอ้ มลู เพยี งพอ 2.3 มบี รรณานกุ รมใหส้ บื คน้ 2.4 เสนอแนวคิดทเ่ี ป็นประโยชน์ 2.5 งานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งพิจารณาจาก - ชื่อเร่ือง - ตวั แปรทศี่ กึ ษา - ประชากรที่ศึกษา 3. กรอบแนวคดิ ในการวิจยั หลังจากทเี่ ราไปศึกษาหลักการ ทฤษฎี เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว เราจะเกิดความคดิ ว่า ถ้าตอ้ งการพัฒนานกั เรยี นเรอื่ งนี้ควรใชน้ วัตกรรมน้ี จากน้ันเขียนเป็นแผนภาพ (Model) ประกอบ เชน่ จัดทาชดุ การเรยี นรู้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ นักเรียนมผี ลการเรยี นรตู้ าม ประกอบการสอนเร่อื งการ ดว้ ยชดุ การเรียนร้เู รื่องการ ตวั ชวี้ ัดผ่านเกณฑ์ทีก่ าหนดและมี แยกตวั ประกอบของ แยกตัวประกอบของจานวน จานวนนบั นบั ความพงึ พอใจในการเรียน การพฒั นานวัตกรรมพือ่ การจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 5

4. คาถามในการวิจัย เป็นการนาเอากรอบแนวคิดในการวิจัยมาต้ังคาถามว่าจะมีผลตามที่คิดหรือไม่ เชน่ ถามว่า “การจดั การเรียนรูด้ ้วยชุดการเรียนรปู้ ระกอบการสอนเรอื่ งการแยกตัวประกอบของจานวนนับ จะ ทาให้นักเรียนมีผลการเรียนเรียนผ่านเกณฑ์ตามท่ีกาหนดหรือไม่หรือมีความรู้สูงขึ้นหรือไม่ และจะมีความพึง พอใจตอ่ การเรยี นด้วยวธิ ีน้ีในระดบั ใด” คาถามนี้จะสมั พนั ธ์กบั การกาหนดตัวแปร 5. ตวั แปร โดยท่ัวไปแล้วงานวิจัยมักจะกาหนดตวั แปรและเรียกช่ือตวั แปรต่าง ๆ ดงั นี้ 5.1 ตัวแปรต้น / ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หมายถึงตัวแปรที่เกิดก่อนหรือท่ี เรียกว่า “ตัวแปรเหตุ” ในท่ีน้ีคือ “การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ประกอบการสอนเร่ืองการ แยกตัวประกอบของจานวนนบั ” 5.2 ตัวแปรตาม / ตัวแปรผล (Dependent Variable) หมายถึงตัวแปรที่เกิดเนื่องมาจากตัว แปรต้น (ตัวแปรอสิ ระ) ในท่ีนค้ี อื “ผลการเรยี นของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการ เรียนรู้ประกอบการสอนเร่ืองการแยกตัวประกอบของจานวนนับ และระดับความพึงพอใจต่อการ เรียนด้วยวิธีน้ี” 6. สมมติฐาน สมมติฐานทดี่ คี วรมลี กั ษณะดังนี้ 6.1 สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 6.2 ตอบคาถามได้ครอบคลุมและอยู่ในรูปแบบที่ลงสรุปไดว้ า่ สนับสนุนหรอื คัดค้าน 6.3 แต่ละสมมติฐานควรตอบคาถามประเด็นเดียว 6.4 สอดคล้องกบั สภาพเป็นจรงิ และยอมรบั กนั โดยท่วั ไป 6.5 สมเหตุสมผลทางทฤษฎแี ละความรพู้ ื้นฐาน 6.6 ตรวจสอบได้ มีข้อมลู สนับสนนุ หรอื คดั คา้ นได้ 6.7 มขี อบเขตพอเหมาะไม่กว้างจนเกนิ ไป ในท่ีนีอ้ าจตั้งสมมุตฐิ านเปน็ 3 ขอ้ คอื ข้อท่ี 1 ชุดการเรียนรู้ประกอบการสอนเรื่องการแยกตัวประกอบของจานวนนับ มี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑห์ รอื ไม่ ขอ้ ที่ 2 ผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ประกอบการ สอนเรอ่ื งการแยกตวั ประกอบของจานวนนบั เปน็ ไปตามเกณฑ์ทีก่ าหนด (สงู ข้นึ ) ข้อท่ี 3 นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนรู้ประกอบการสอนเร่ืองการแยกตัวประกอบของ จานวนนบั มีความพงึ พอใจในระดบั มาก 7. นยิ ามศัพท์เฉพาะ เปน็ การเอาคาสาคญั ในสมมตุ ฐิ านมาอธิบายให้เข้าใจตรงกันคล้ายกับการนิยาม ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เช่นนิยามเกี่ยวกับคาว่า “การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ ประกอบการสอนเรือ่ งการแยกตัวประกอบของจานวนนับ…หมายถึง……………..” “เกณฑ์ท่ีกาหนด… หมายถึง……………..” “ความพึงพอใจ” “ระดับมาก…หมายถึง……………..” “ชุดการเรียนรู้ ประกอบการสอนเร่ืองการแยกตวั ประกอบของจานวนนับ…หมายถึง……………..” 8. ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ ับ ใหเ้ ขียนถงึ ผลท่ีอาจจะเกดิ ขึ้นหรือเปน็ ผลกระทบและเปน็ ประโยนท์ ่ี มากกว่าวตั ถุประสงค์ของการวิจัยในครง้ั นี้ เชน่ “นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนคณติ ศาสตรส์ งู ข้ึน” 9. ในเอกสารนี้ กล่าวถึงเฉพาะการวิจัยสาหรับครูผู้สอนท่ีทาการวิจัยเชิงปฏิบัติการในโรงเรียน ตนเอง ดังน้ันกลุ่มเป้าหมาย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง) ในการวิจัยคร้ังนี้อาจดาเนินการกับนักเรียนทั้งห้อง การพฒั นานวัตกรรมพือ่ การจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 6

หรือช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน เราก็จัดว่าเป็นประชากรของการพัฒนาคร้ังนี้ แต่ถ้ามีนักเรียนมาก หรือ หลายห้องเรยี นและไมต่ ้องการดาเนนิ การวิจยั กับนกั เรียนทุกคนกต็ ้องใชว้ ธิ สี มุ่ ตัวอย่างซึ่งมีหลายวิธี อาจสุ่มโดย ใช้นักเรียนแต่ละคนเป็นหน่วยสุ่ม หรือสุ่มเป็นห้องเรียน นักเรียนที่สุ่มได้เรียกว่าตัวอย่าง แต่การสุ่ม ต้องให้ได้ ตัวอย่างที่มีคุณลักษณะเหมือนประชากร อย่างน้อย 30 คน เรียกนักเรียนกลุ่มนี้ว่า กลุ่มตัวอย่าง ตรงน้ีต้อง เขยี นอธิบายใหช้ ัดเจน (ตอ้ งไปหาอา่ นเรือ่ งนีจ้ ากเอกสารอื่นที่เกย่ี วข้อง) 10. นวัตกรรมที่ใช้ ให้เขียนว่าใช้นวัตกรรมอะไร มีโครงสร้างหรือองค์ประกอบของนวัตกรรมเป็น อย่างไร (ย้อนไปศึกษาเร่อื ง องคป์ ระกอบของนวัตกรรม) 11. ปฏทิ นิ และระยเวลาการวิจัย ให้ระบขุ น้ั ตอนและระยะเวลาดงั น้ี 11.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่ เกี่ยวข้อง ออกแบบโครงสร้างของนวัตกรรมที่เรา จะทา 11.2 การลงมือสร้างนวตั กรรม เอกสารนีจ้ ะนาเสนอตวั อยา่ งการจัดทาชุดจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เร่ืองการแยกตัวประกอบของจานวนนับ ควรมี ขั้นตอนการดาเนนิ การดงั น้ี 11.2.1 วเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ (มาตรฐานท เข้าใจระบบจานวนและนาสมบตั เิ ก่ียวกบั จานวนไปใช้ ตัวช้วี ดั ที่ 2 หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับ สาระการเรียนรู้ ตัวประกอบ จานวนเฉพาะ และ ตวั ประกอบเฉพาะ) 11.2.2 เขยี นจุดประสงค์และกาหนดภารกจิ ของผู้เรยี นตามลาดบั ขน้ั การเรยี นรู้ 11.2.3 จดั ทาข้อทดสอบทส่ี อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ท่กี าหนดใช้เป็น แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น 11.2.4 จัดทาหน่วยการเรยี นรยู้ อ่ ยๆ ตามลาดับของจุดประสงค์การเรียนรู้และ ภารกิจของผเู้ รยี น ให้มีรายละเอียดครบตามท่ตี ้องการเช่น ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบประจาหนว่ ยย่อย สื่ออืน่ ๆ ฯลฯ 11.2.5 จัดทาคาช้แี จงสาหรับครู คาชแี้ จงสาหรบั นักเรยี น แบบประเมินความพึง พอใจ แหลง่ อ้างอิงหรือบรรณานกุ รม นาร่างนวตั กรรมทีจ่ ัดทาเสร็จแล้วไปให้ผู้เช่ียวชาญอย่างน้อย 3 คน ประเมิน ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญในกลุ่ม สาระการเรยี นรนู้ ั้นๆ 1 คนช่วยตรวจสอบความถูกต้องเชิงเนื้อหา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา 1 คน ช่วยตรวจสอบ ภาษาทีใ่ ชช้ ่วยตรวจดคู วามเหมาะสมชดั เจน เป็นขั้นเป็นตอนดีหรือไม่ และผู้เช่ียวชาญด้านระบบการเรียนการ สอนหรือการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ช่วยดูเรื่องนวัตกรรมว่ามีความเหมาะสมเป็นไปตามหลักการของ นวัตกรรมประเภทน้ันๆ หรือไม่ นาข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับแก้ให้สมบูรณ์แล้วนากลับไปให้ ผู้เช่ียวชาญชุดเดิมประเมินคุณภาพนวัตกรรมให้ โดยต้องเตรียมแบบประเมินคุณภาพของนวัตกรรมท่ี ครอบคลุมคุณลักษณะที่ดีของนวัตกรรมไปให้ผู้เชี่ยวชาญ นาข้อเสนอแนะและผลการประเมินมาปรับให้ สมบูรณ์ยิ่งขึน้ พรอ้ มทีจ่ ะนาไปทดลองกบั ผเู้ รยี น 11.3 การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบที่จะใช้ทดสอบก่อนและหลังการใช้ นวตั กรรม ซึ่งตอ้ งไดร้ ับการตรวจสอบหลายข้นั ตอนดังนี้ 11.3.1 การประเมินความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและเนื้อหา (Validity) ซึ่งหมายถึง แบบทดสอบท่ีสร้างขึ้นน้ี มีความครอบคลุมและสอดคล้องกันกับตัวช้ีวัดหรือจุดประสงค์การเรียนรู้รวมทั้ง เนื้อหาสาระท่ีกาหนดหรือไม่ เมื่อยกร่างแบบทดสอบแล้ว (ซ่ึงควรมีจานวนข้อมากกว่าท่ีจะใช้จริง) นาไปให้ การพฒั นานวัตกรรมพอื่ การจดั การเรยี นรู้ ….. ไพฑรู ย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 7

ผู้เชย่ี วชาญดา้ นการวดั ผล 1 คน ด้านเนื้อหา 1 คน และด้านภาษา 1 คน ประเมินให้ (รายละเอียดไปหาศึกษา ในเรือ่ งวธิ ีการคา่ IOC) 11.3.2 การประเมินการหาค่าความยาก (Difficulty) ของแบบทดสอบ ซ่ึงหมายถึง สัดสว่ นหรอื ร้อยละของนักเรียนท่ีตอบข้อสอบข้อน้ันถูกต่อนักเรียนท้ังหมด โดยหลังจากแบบทดสอบได้รับการ ปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญแล้ว ก็ให้นาไปทดลองใช้กับนักเรียนท่ีมีความรู้เร่ืองดังกล่าวแล้ว (ไม่ใช่ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายของเรา) ซ่ึงในข้ันนี้ควรจัดทาแบบทดสอบให้มีจานวนมากกว่าท่ีจะใช้จริง เพราะหลัง การทดลองใช้อาจต้องคัดข้อทดสอบที่คุณภาพไม่ดีทิ้งไป (วิธีการหาค่าความยากของแบบทดสอบ ให้ศึกษาใน เอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง) 11.3.3 การหาค่าความเชื่อมั่นหรือความเท่ียงของแบบทดสอบ (Reliability) หมายถงึ ความคงทใ่ี นการวัด ในข้ันตอนการหาค่าความยาก เราสามารถนาขอ้ มลู จากการสอบมาใช้วิเคราะห์ค่า ความเชือ่ มน่ั ของแบบทดสอบได้ (วิธกี ารหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ให้ศกึ ษาในเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง) 11.4 การทดลองใช้นวัตกรรม หลังจากได้นวัตกรรมและเครื่องมือประเมินท่ีมีประสิทธิภาพ ระดับหนึ่งแล้ว ขั้นตอนต่อไป ต้องทาการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมกับนักเรียน โดยหลักการพัฒนา นวัตกรรมน้นั ต้องไปดาเนินการกับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายของเรา ซึ่งอาจเป็นนักเรียนห้องเรียนอ่ืนๆ ใน โรงเรียนเดียวกันหรือนักเรียนโรงเรียนใกล้เคียง แต่ควรมีจานวน 30 คนขึ้นไป เม่ือได้นักเรียนท่ีจะใช้พัฒนา นวตั กรรมแลว้ ให้ดาเนนิ การดงั น้ี 11.4.1 การประเมินแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ในขั้นนี้ใช้นักเรียน 3 คน ซึ่งควรเป็นนักเรียน เรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 1 คน และเรียนอ่อน 1 คน ทดลองใช้นวัตกรรมครั้งละ 1 คน ผู้ทดลองบันทึก คาถาม คาตอบ เหตุผลท่ีตอบผิด พฤติกรรมอื่นๆ เช่น ความสนใจ การใช้เวลาศึกษา ฯลฯ นาข้อมูลที่ได้มา ปรับปรงุ ให้มคี วามเหมาะสมย่งิ ขนึ้ 11.4.2 การทดลองกลุ่มเล็ก ขั้นนี้เลือกนักเรียนมาประมาณ 10 คน ให้มีสัดส่วนคน เก่ง ปานกลางและอ่อนดังนี้ 3:4:3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนท่ีออกแบบไว้ทุกประการตั้งแต่การประเมิน หรือทดสอบกอ่ นเรยี น ทากิจกรรมการเรียนรูจ้ นครบทกุ หน่วย แล้วทดสอบหลังเรียน ในระหว่างการทดลอง ผู้ ทดลองตอ้ งบนั ทึกลกั ษณะเดียวกนั กบั การทดลองแบบหนึง่ ต่อหน่ึง ในการทดลองขั้นน้ีควรหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ก่อน เช่น 90/90, 80/80 โดยใช้สตู รการหาประสิทธภิ าพ E1/E2 ซงึ่ มคี วามหมายดงั น้ี E1 หมายถึง ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ เป็นการประเมินต่อเน่ืองของผู้เรียนโดย ดูจากคะแนนการปฏบิ ัติหรือการตอบคาถามในกิจกรรมทอี่ อกแบบไว้ในนวัตกรรมแต่ละหน่วย รวบรวมให้ครบ ทุกหนว่ ย แล้วหาประสทิ ธภิ าพ โดย เมอ่ื E1 หมายถึงค่าประสทิ ธิภาพของกระบวนการเรยี นรู้ x หมายถงึ ผลรวมของคะแนนกจิ กรรมระหว่างเรียนของนักเรียนทกุ คน (N คน) N หมายถึง จานวนผเู้ รยี นท่ีใชใ้ นการหาประสทิ ธิภาพ A หมายถึงคะแนนเต็มของกจิ กรรมระหว่างเรียน การพฒั นานวตั กรรมพ่ือการจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 8

E2 หมายถงึ ผลการประเมินคร้ังสุดท้ายหรือการประเมินหลังเรียนจากนวัตกรรมทั้ง หมดแล้ว นามาหาประสิทธภิ าพโดย × 100 เมอื่ E2 หมายถึงคา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ท์การเรยี นรู้ F หมายถงึ คะแนนท่ีได้จากการทดสอบหลังเรียนของนกั เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรยี นท่ีใช้ในการหาประสิทธิภาพ B หมายถึงคะแนนเตม็ ในการทดสอบหลงั เรยี น สงิ่ ทีค่ วรไดจ้ ากการทดลองกลุ่มเลก็ 1. คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของนักเรยี นทุกคนเฉลี่ย (E1) 2. คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละหลงั เรยี นของนกั เรยี นทกุ คนเฉล่ีย E2) 3. คะแนนความก้าวหน้าในการเรียนซึ่งหาได้โดย นาคะแนนก่อนเรียนหักออกจากคะแนนหลังเรียน เพ่ือจะไดท้ ราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าหรือมีความรู้เพิ่มขึ้นเท่าไร สมมุติว่า ข้อมูลที่ได้จากการทดลองกลุ่ม เลก็ เปน็ ดังน้ี คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละก่อนเรยี น 45 % คะแนนเฉลยี่ ระหว่างเรียน 97 % คะแนนเฉลีย่ ร้อยละหลงั เรยี น 86 % หลังจากการทดลองกลุ่มเล็กแล้ว ให้นาบทเรียนมาปรับปรุงแก้ไขอีกคร้ัง โดยอาศัยข้อมูลบันทึก ข้อบกพร่อง ข้อสงสัยของนักเรียนไว้ หรือการได้ร่วมอภิปรายกับนักเรียน อาจเป็นการแก้ไขภาษา ถ้อยคา ปรบั ปรุงคาถาม หรือคาอธิบายเพิ่มเติม เพมิ่ ขน้ั ตอน หรือตดั บางข้ันตอนออก 11.4.3 การทดลองภาคสนาม เป็นการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม ซึ่งควรใช้ นักเรียนกลุ่มที่ไม่เป็นเป้าหมายในการพัฒนา อาจเป็นนักเรียนห้องอื่น หรือโรงเรียนอื่นๆ จานวน 30 – 100 คน สภาพการทดลองเหมือนการทดลองกลุ่มเล็กทกุ ประการ ต่างกนั ทีก่ ารทดลองกลุ่มเล็ก มีจุดประสงค์เพื่อหา ข้อบกพร่องของบทเรียนที่ควรทาการแก้ไข การทดลองภาคสนามนี้มีวัตถุประสงค์สาคัญเพื่อเพ่ือจพทราบว่า นวตั กรรมทสี่ รา้ งขน้ึ น้ี มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ยอมรับได้หรือไม่ ดังน้ัน บทเรียนหรือนวัตกรรมท่ี มีประสทิ ธิภาพจงึ ต้องดูผล E1/E2 เปน็ ไปตามเกณฑ์ และค่าของ E1/E2 น้ี เป็นค่าประสิทธิภาพของนวัตกรรมท่ี เราสรา้ งข้ึนและนาไปรายงานผลการหาประสิทธภิ าพของนวัตกรรม 11.5 การนานวตั กรรมไปใช้ ในการใช้นวัตกรรมกับกลุ่มเป้าหมายท่ีเราการพัฒนา ซึ่งอาจเป็นประชากร หรือ กลุ่มตัวอย่างแล้วแต่ กรณี จะต้องอาศัยการออกแบบการใช้ในลักษณะของการออกแบบการวิจัย ซึ่งในการทาผลงานของครูผู้สอน น้ันมักเป็นการวจิ ัยเชงิ ทดลองแบบกลุ่มเดยี ว เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนและหลังเรียน หรือเรียกว่า One - Group Pretest - Posttest Design ตาม Model ดังน้ี การพัฒนานวตั กรรมพอ่ื การจดั การเรยี นรู้ ….. ไพฑรู ย์ ปลอดอ่อน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 9

T1 X T2 โดย T1 หมายถงึ การทดสอบก่อนเรียน T2 หมายถึงการทดสอบหลังเรยี น X หมายถงึ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยนวัตกรรมท่เี ราสร้างข้ึน 11. 6 เขยี นรายงานการวิจยั ตามรปู แบบทกี่ าหนด 12. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวิจัย 12.1 ชดุ การเรียนรู้ประกอบการสอนเรอ่ื งการแยกตวั ประกอบของจานวนนับ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 12.2 แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน แบบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 30 ขอ้ 12.3 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนด้วยชุดการเรียนรู้ประกอบการสอนเร่ืองการ แยกตัวประกอบของจานวนนับ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบสอบถาม แบบชนิดมาตราส่วนประเมินคา่ จานวน 1 ฉบบั 13. การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ใี ช้ 13.1 การวิเคราะห์ประสิทธภิ าพของนวัตกรรม ใชส้ ูตร E1/E2 E1 หมายถึง ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ เป็นการประเมินต่อเนื่องของผู้เรียนโดยดูจากคะแนนการ ปฏิบัติหรือการตอบคาถามในกิจกรรมทอ่ี อกแบบไวใ้ นนวัตกรรมแต่ละหน่วย รวบรวมให้ครบทุกหน่วย แล้วหา ประสิทธิภาพ โดย เมือ่ E1 หมายถงึ คา่ ประสิทธภิ าพของกระบวนการเรียนรู้ x หมายถงึ ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของนกั เรยี นทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผเู้ รยี นทใ่ี ช้ในการหาประสทิ ธิภาพ A หมายถึงคะแนนเต็มของกจิ กรรมระหวา่ งเรยี น E2 หมายถงึ ผลการประเมนิ ครัง้ สดุ ท้ายหรอื การประเมนิ หลงั เรียนจากนวัตกรรมทั้งหมดแล้ว นามาหา ประสิทธิภาพโดย × 100 เมอื่ E2 หมายถงึ คา่ ประสิทธิภาพของผลลพั ท์การเรยี นรู้ F หมายถงึ คะแนนทไี่ ดจ้ ากการทดสอบหลงั เรียนของนักเรียนทกุ คน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพ B หมายถึงคะแนนเต็มในการทดสอบหลงั เรียน การพฒั นานวตั กรรมพื่อการจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 10

13.2 การวิเคราะห์ผลการใชน้ วัตกรรมต่อกลุ่มเปา้ หมายอาจใชส้ ถิตคิ ่าดัชนปี ระสิทธิผล โดยการ วิเคราะห์จากคะแนนเฉล่ียทาได้กับคะแนนเต็มท้ังก่อนและหลังเรียน ซึ่งเกณฑ์การยอมรับว่านวัตกรรมมี ประสิทธภิ าพ ชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนร้ไู ดจ้ ริง จะตอ้ งมีคา่ ตั้งแต่ .50 ข้ึนไป โดยมีสตู รการคานวณดังน้ี ค่าดชั นปี ระสิทธิผล = คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน คะแนนเฉลย่ี ก่อนเรยี น คะแนนเต็มหลังเรยี น คะแนนเฉลย่ี ก่อนเรยี น 13.3 การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้ชุดการเรียนรู้ประกอบการ สอนเร่ืองการแยกตัวประกอบของจานวนนับ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ สถิตพิ น้ื ฐานทใี่ ชค้ อื ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (SD) ขอ้ สังเกตเก่ียวกับการใชส้ ถติ ิ อน่งึ ในสว่ นของสญั ลักษณท์ างสถิติ โดยสว่ นใหญ่แล้วเราจะดาเนินการพัฒนากับนักเรียนทั้งห้องตามที่ ตนเองรับผิดชอบ ซ่ึงในทางสถิติจะถือว่าเป็นประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย (เราไม่ได้สุ่ม) จึงต้องใช้สัญลักษณ์ ทางสถติ ใิ หถ้ ูกต้อง ประชากร หรอื กลมุ่ เปา้ หมาย ค่าเฉลี่ย ใช้สัญลกั ษณ์ เปน็  สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ใชส้ ญั ลกั ษณ์ เปน็  กลมุ่ ตวั อย่าง ค่าเฉลี่ย ใช้สัญลักษณ์ เปน็ X สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ใชส้ ัญลกั ษณ์ เปน็ SD นอกจากน้ีในการพฒั นากบั กลุ่มประชากรหรอื กลมุ่ เป้าหมาย ไม่ควรเปรียบเทียบคะแนนผู้เรียนโดยใช้ สถติ ิ t-test เพราะเปน็ สถติ ิสาหรับกลมุ่ ตวั อยา่ ง ซึ่งก็ควรใชก้ ารเปรียบเทียบผลการพัฒนาจากค่าเฉล่ีย หรือค่า รอ้ ยละ การพัฒนานวัตกรรมพอื่ การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 11

ภาคผนวก 1. การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของนวัตกรรมและแบบทดสอบกับจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 2. ตัวอยา่ งแบบตรวจสอบคุณภาพของแผนการจดั การเรยี นรูข้ องผเู้ ช่ยี วชาญ 3. ตัวอย่างแบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ 4. แบบประเมินส่ือการสอน 5.ตัวอย่างแบบประเมินชดุ การเรยี นรู้ การพัฒนานวัตกรรมพื่อการจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 12

การหาคา่ ดัชนคี วามสอดคล้องของนวตั กรรมและแบบทดสอบกับจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เป็นการนาผลของผเู้ ชย่ี วชาญแตล่ ะท่านมารวมกันคานวณหาความตรงเชิงเน้ือหา ซง่ึ คานวณจาก ความสอดคล้องระหว่างประเด็นท่ีตอ้ งการวดั กบั คาถามท่ีสร้างขน้ึ ดัชนีทีใ่ ชแ้ สดงค่าความสอดคล้อง เรยี กว่า ดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามและวตั ถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) โดยผเู้ ช่ยี วชาญจะตอ้ งประเมินดว้ ยคะแนน 3 ระดบั คือ +1 = สอดคล้อง หรือแน่ใจว่านวตั กรรมนนั้ หรือข้อสอบข้อน้นั วดั จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ที่ระบุไวจ้ ริง 0 = ไม่แน่ใจ ว่านวตั กรรมน้ันหรอื ข้อสอบข้อน้นั วดั จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมทีร่ ะบุไว้ -1 = ไมส่ อดคล้อง หรอื แนใ่ จวา่ นวัตกรรมนนั้ หรือข้อสอบข้อน้ันไม่ได้วัดจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมท่รี ะบไุ ว้ คา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งที่ยอมรับได้ต้องมีค่าตง้ั แต่ 0.50 ขนึ้ ไป สูตรในการคานวณ IOC = ΣR N IOC คือ ดชั นีความสอดคล้องระหว่างขอ้ สอบกับจุดประสงค์ R คอื คะแนนของผู้เชยี่ วชาญ ΣR คอื ผลรวมของคะแนนผเู้ ชี่ยวชาญแต่ละคน  คอื จานวนผ้เู ช่ยี วชาญ (กรมวชิ าการ. 2545 : 65) การพัฒนานวัตกรรมพ่อื การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑรู ย์ ปลอดอ่อน ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 13

ตัวอย่าง แบบตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ของผเู้ ชี่ยวชาญ การหาค่าดชั นคี วามสอดคล้องของวตั ถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) ความคดิ เหน็ ผู้เชย่ี วชาญ ขอ้ รายการพจิ ารณา เหมาะสม ไมแ่ น่ใจ ไม่เหมาะสม ขอ้ เสนอแนะ +1 0 -1 1 แผนมีองค์ประกอบสาคญั ครบถ้วนและสัมพนั ธ์กัน 2 เนอื้ หา/สาระการเรียนรู้สอดคล้องกบั จุดประสงค์ 3 กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั เนื้อหาและวตั ถุประสงค์ 4 กจิ กรรมหลากหลายเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความสามารถผู้เรยี น 5 กิจกรรมเน้นทักษะกระบวนการคิด การลงมือปฏิบตั ิ และ สรา้ งความรดู้ ว้ ยตนเอง 6 กจิ กรรมมีความยากงา่ ยเหมาะสมกบั ระดบั ชั้น 7 ส่ือ/แหล่งเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับกิจกรรมและจุดประสงค์ 8 สอ่ื หลากหลายสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ วยั และ ความสามารถผเู้ รยี น 9 วิธกี ารวดั ผลและเครอื่ งมือสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์และ กิจกรรม 10 เกณฑ์การประเมินผลชัดเจน ครอบคลมุ ทั้งด้านความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ (ลงชื่อ)................................................................ผู้ประเมนิ (.......................................................) ความคิดเห็นของผ้เู ช่ยี วชาญ คนที่............ การพัฒนานวัตกรรมพอ่ื การจัดการเรยี นรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 14

ตวั อยา่ ง ผลการวิเคราะหห์ าคา่ ดชั นีความสอดคล้องของผู้เชีย่ วชาญ (คานวณโดยใช้เครอ่ื งคิดเลขชนิดธรรมดา) ตาราง……แสดงค่าดชั นีความสอดคล้องของ………………………………………………………………... ข้อท่ี คะแนนผูเ้ ชี่ยวชาญ ผลรวมของคะแนน IOC = ∑R ผลการพิจารณา คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 N ∑R ใช้ได้ 11 1 1 1.00 ปรบั ปรงุ 20 1 0 3 ตดั ทง้ิ 3 -1 0 1 1 0.33 ใช้ได้ 41 1 1 0 ปรบั ปรุง 5 -1 1 1 3 0.00 ตัดท้งิ 60 0 0 1 ใชไ้ ด้ 71 0 1 0 1.00 2 0.33 0.00 0.67 หมายเหตุ คา่ IOC ที่รบั ได้ต้องมคี ่าตัง้ แต่ 0.50 ขึน้ ไป การพฒั นานวัตกรรมพื่อการจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑรู ย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 15

ตวั อย่างแบบประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่.......... เร่ือง.......................................................................เวลา ...........ช่ัวโมง รหสั วชิ า.....................รายวชิ า........................................................... ชั้น......................... ช่อื -สกลุ ครูผู้สอน...................................................กลมุ่ สาระการเรียนรู้....................................................... ระดบั การประเมิน 4 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/เหมาะสมมากท่สี ดุ 3 หมายถึง มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/เหมาะสมมาก 2 หมายถงึ มคี วามสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เชือ่ มโยง/เหมาะสมน้อยทส่ี ุด รายการประเมิน ระดบั การประเมิน 12 3 4 1. ชือ่ หนว่ ยการเรียนรนู้ ่าสนใจ กระทดั รัด ชดั เจน ครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้/สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์มีความเชื่อมโยงกันอย่างเหมาะสม 3. ความสอดคล้องของสาระสาคญั /ความคดิ รวบยอดกบั มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ 4. ความสอดคล้องของสาระสาคญั /ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรยี นรู้ 5. ความเช่ือมโยงสมั พนั ธ์กนั ระหว่างช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สาระการเรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. กจิ กรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้ และสาระการเรียนรู้ 7. กิจกรรมการเรียนรู้มคี วามครอบคลุมในการพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ีความรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น และคณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมสามารถนาผู้เรยี นไปส่กู ารสรา้ ง ช้ินงาน/ภาระงาน 9. มกี ารประเมินผลตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้/ ตวั ช้ีวดั /กจิ กรรมการเรียนรู้ การพฒั นานวตั กรรมพ่ือการจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 16

รายการประเมิน ระดบั การประเมิน 4 12 3 10. ประเด็นและเกณฑ์การประเมนิ สามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ 11. สือ่ การเรยี นรใู้ นแตล่ ะกจิ กรรม มคี วามเหมาะสมกับเวลา และ การนาไปประยุกตใ์ ช้ไดจ้ ริง 12. กาหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกับกจิ กรรม และสามารถนาไปปฏบิ ตั จิ ริงได้ รวม เกณฑก์ ารแปลความหมาย คะแนน 12 – 20 ปรบั ปรุง คะแนน 21 – 30 พอใช้ คะแนน 31 - 39 ดี คะแนน 40 – 48 ดมี าก ลงชือ่ ............................................................ (..........................................................) ผ้ปู ระเมิน การพัฒนานวัตกรรมพื่อการจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 17

แบบประเมนิ ส่ือการสอน มากที่ ุสด มาก ช่ือสื่อ ปานกลาง น้อย คาชี้แจง โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในข้อความทีต่ รงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ นมากทสี่ ุด น้อยที่ ุสด ระดับความคิดเห็น ขอ้ ความ 1. ดา้ นเนอ้ื หาการนาเสนอ 1.1 เนอ้ื หามีความสอดคล้องกับจุดประสงคข์ องบทเรยี น.. 1.2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา...................................... 1.3 ความถกู ตอ้ งในการลาดับเน้ือหาตามขน้ั ตอน....... 1.4 เนือ้ หามคี วามยากง่ายเหมาะสมกับระดับชัน้ 2. ภาพและภาษา 2.1 ความถกู ต้องของภาพท่ีนามาใช้........................... 2.2 ความถกู ตอ้ งของภาษาที่ใช้................................. 2.3 ความสอดคล้องระหวา่ งภาพกับคาบรรยาย.......... 2.4 ความเหมาะสมของภาษาที่ใช้กบั ระดบั ช้ัน 3. การออกแบบสื่อ 3.1 ความน่าสนใจ....................... 3.2 ความเหมาะสมของสี ตวั อกั ษร ภาพที่ใช้ 3.3 ความประหยัด..... 3.4 ใชง้ ่าย 4. การสง่ เสรมิ การเรียนรู้ 4.1 สนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล... 4.2 ส่งเสรมิ กระบวนการคิด........................... 4.3 ให้ผลย้อนกลับผู้เรียนได้... 4.4 มีการฝึกปฏิบตั ิ รวมความถ่ี รวมคะแนน เฉลี่ย การพัฒนานวตั กรรมพือ่ การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑรู ย์ ปลอดอ่อน ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 18

ตวั อยา่ ง แบบประเมินความเหมาะสมขององคป์ ระกอบชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 เรือ่ งตวั ประกอบของจานวนนับ ------------------------------------------------------------- คาช้แี จง 1. แบบประเมินน้ีสร้างข้ึนเพื่อประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบต่างๆ ของชุดกิจกรรมการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เร่ือง ตัวประกอบของจานวนนับ โดย ผูเ้ ชี่ยวชาญ 2. โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่องว่างท่ีตรงกับความคิดเห็นของท่าน โดยมีระดับของความ คดิ เห็นดงั นี้ 5 หมายถึง ท่านเห็นว่าองคป์ ระกอบนม้ี ีความเหมาะสมมากทสี่ ดุ 4 หมายถงึ ท่านเห็นวา่ องค์ประกอบนมี้ คี วามเหมาะสมมาก 3 หมายถึง ทา่ นเห็นว่าองคป์ ระกอบนี้มคี วามเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถงึ ทา่ นเหน็ ว่าองคป์ ระกอบนี้มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถงึ ทา่ นเหน็ ว่าองค์ประกอบนม้ี ีความเหมาะสมน้อยมาก 3. ผู้วิจัยขออขบคุณท่านผู้เชี่ยวชาญทุกท่านท่ีกรุณาให้ความอนุเคราะห์ในการประเมินความ เหมาะสมในครงั้ น้ี ผ้วู ิจยั การพฒั นานวัตกรรมพือ่ การจัดการเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศึกษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 19

การพัฒนานวัตกรรมพ่อื การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 20

การพัฒนานวัตกรรมพ่อื การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 21

การพัฒนานวัตกรรมพ่อื การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 22

การพัฒนานวัตกรรมพ่อื การจดั การเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดออ่ น ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 23

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เอกสารอา้ งอิง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, เอกสารประกอบการอบรมเร่ือง การวิจยั เพือ่ พฒั นาการเรียนการสอน, 2544. วชิ าการ. กรม. เอกสารประกอบหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 การวิจยั เพ่อื พัฒนา การ เรยี นรู้ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว, 2545. สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษานครปฐม เขต 1, คมู่ อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูกอ่ นแต่งต้ังเลื่อนให้เป็น วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ, 2550 การพฒั นานวตั กรรมพ่อื การจัดการเรียนรู้ ….. ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครปฐม เขต 1 Page 24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook