Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์

๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์

Published by Donchedi Library, 2020-04-27 03:37:17

Description: องค์ใดทรงก่อตั้ง ไผทไทย
วางรากฐานสืบสมัย บัดนี้
องค์นั่นพระทรงชัย จักรีราช วงส์แถ
สิบกษัตริย์ชเยศชี้ เกียรติก้องพระบารมี

บุญสยามมีกษัตริย์ เฉกฉัตรแก้วเพริศแพร้วศรี
ร่มบุญร่มบารมี ร่มไพร่ฟ้าประชาไทย
สรวมเดชกษัตรา ทั่วอาณาสุขสมัย
จักรีราชวงศ์ไกร สถิตมั่นนิรันดร์เทอญ

Search

Read the Text Version

คํ า นํ า สํ า นั ก พิ ม พ์ ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ เป็นหนังสือท่ีส�ำนักพิมพ์ตอบรับผู้เขียน ที่ประสงค์จะน�ำเสนอเน้ือหาอันเป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับพระ มหากษตั รยิ ไ์ ทยทง้ั หมดในราชวงศจ์ กั รี ซง่ึ ปจั จบุ นั ประเทศไทย ได้เข้าสู่แผ่นดนิ ของรัชกาลที่ ๑๐ ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหา วชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ นานัปการ ด้วยพระราชประสงค์อุทิศแก่ประเทศชาติ อันเป็น แผ่นดินที่พสกนิกรของพระองค์อาศัยร่มพระบารมีมาช้านาน สำ� นกั พมิ พป์ ลมื้ ปตี อิ ยา่ งยงิ่ ทมี่ โี อกาสไดเ้ ผยแพรพ่ ระมหากรณุ า- ธิคุณอันหาท่ีสุดมิได้ผ่านรูปแบบของหนังสือ มุ่งหวังเพียงให้ ประชาชนชาวไทยได้รับทราบเกี่ยวกับพระราชประวัติรอบด้าน ของพระมหากษตั รยิ ท์ กุ พระองคใ์ นราชวงศจ์ กั รี สำ� นกั พมิ พม์ น่ั ใจ วา่ หนงั สอื เลม่ นจี้ ะสมบรู ณไ์ ปดว้ ยเนอ้ื หาอนั ทรงคณุ คา่ ตอ่ ชาวไทย ทกุ คน

ทั้งนี้จะขอยกพระราชด�ำรัสตอบรับการกราบบังคมทูล เชิญเสด็จฯ ข้ึนทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๑๐ แห่งราชวงศ์จักรี อันเป็นที่มาของช่ือ ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ เมือ่ วนั ที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ดงั นี้ “...ตามท่ีประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี ระธานรฐั สภา ไดก้ ลา่ วในนามของปวงชน ชาวไทย เชญิ ขา้ พเจา้ ขน้ึ ครองราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ์ ให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร และ เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการ สบื ราชสนั ตตวิ งศก์ บั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย น้นั ข้าพเจ้าขอตอบรับ เพื่อสนองพระราชปณธิ าน และ เพ่อื ประโยชน์ของประชาชนชาวไทยท้ังปวง” ส�ำนกั พมิ พ์สถาพรบุ๊คส์

คํ า นํ า ในวาระอันเป็นมหามงคลของปวงพสกนิกรชาวไทย ได้มี การสถาปนาแต่งตั้งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พระรัชทายาทตามกฎ มณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ เป็น สมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู พระมหา กษัตรยิ ์รชั กาลท่ี ๑๐ แห่งราชวงศ์จกั รี ผู้เขียนคิดว่าในโอกาสอันเป็นศุภนิมิตนี้ ควรเสนอ พระราชประวัติและพระราชกรณียกจิ ของพระองค์ท่าน รวมทง้ั พระมหากษัตริย์ในอดีตด้วยทั้งหมด ๑๐ พระองค์ จึงต้ังช่ือ หนงั สอื ว่า ๑๐ กษตั ริย์จกั รวี งศ์ เพอ่ื เป็นประโยชน์แก่เยาวชน และผู้สนใจพระราชประวัติพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ซึ่งทรงสร้างสรรค์และทรงเสียสละเพ่ือชาติไทยสถิตสถาพรมา จนปัจจุบัน แต่ละพระองค์ทรงคณุ ปู การอย่างยง่ิ

หวังว่าผู้อ่านคงได้รับความรู้และความเพลิดเพลินจาก ๑๐ กษัตริย์จกั รีวงศ์ พร้อมกบั คงได้รบั การเสนอแนะติชมจาก ท่านด้วย ขอขอบคณุ บรษิ ทั สถาพรบคุ๊ ส์ จำ� กดั ทสี่ นบั สนนุ ผลงาน ของข้าพเจ้าเสมอมา รงค์ ประพนั ธ์พงศ์

ส า ร บั ญ รัชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช - ๑๐ - รัชกาลท่ี ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั - ๓๖ - รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว - ๕๘ - รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั - ๘๐ - รชั กาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - ๑๑๘ -

รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว - ๑๕๐ - รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว - ๑๗๖ - รชั กาลท่ี ๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานนั ทมหดิ ล - ๒๑๔ - รชั กาลท่ี ๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช - ๒๓๔ - รชั กาลท่ี ๑๐ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู - ๒๙๐ -

องคป์ ฐมกษัตริยจ์ กั รวี งศ์ สรา้ งกรุงเทพฯ ธ�ำรงสง่ ศักดิ์ศรี รว่ มกู้ชาติน�ำไทยปราบไพรี สรา้ งธานอี สิ ราสถาพร องคพ์ ระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ พระดบั โศกสรา้ งสุขสโมสร ไทยเรามวี นั นเี้ พราะภูธร ไทยขจรเกยี รตปิ ระวัตฉิ ัตรนรนิ ทร์

10 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ รชั กาลท่ี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - สวรรคต พ.ศ. ๒๓๕๒)

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 11 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระนามเดมิ วา่ ทองดว้ ง เปน็ พระราชโอรสสมเดจ็ พระปฐมบรม ราชชนกซงึ่ มพี ระนามเดมิ วา่ ทองดี และพระราชชนนมี พี ระนาม ว่า หยก หรอื ดาวเรอื ง เสดจ็ พระราชสมภพเมอื่ วันพธุ เดือน ๔ แรม ๕ ค่ำ� ปีมะโรง ตรงกับวนั ท่ี ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๒๗๙ ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ นิวาสสถานเดิมอยู่ ภายในก�ำแพงพระนครกรุงศรีอยุธยาตอนเหนือป้อมเพชร ปัจจบุ ันคอื วดั สวุ รรณดาราราม เมอ่ื ทรงเจรญิ วยั พอทจ่ี ะรบั ราชการได้ กเ็ ขา้ ถวายตวั เปน็ มหาดเล็กในสมัยสมเด็จเจ้าฟ้าอุทุมพร กรมขุนพรพินิต หรือ เรียกกนั เป็นสามญั ในครง้ั นนั้ ว่า ขุนหลวงดอกมะเดือ่ เมอื่ พระ ชนมายคุ รบ ๒๑ พรรษา ได้เสดจ็ ออกผนวช ณ วดั มหาทะลาย ๑ พรรษา ลาผนวชแล้วได้เข้ารับราชการเป็นมหาดเลก็ หลวงใน สมเด็จพระเจ้าอทุ มุ พรจนกระทงั่ พระชนมายุ ๒๕ พรรษา ซึง่ เปน็ รชั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั กท็ รงเลอ่ื นพระเกยี รตยิ ศเปน็ หลวงยกกระบตั ร เมอื งราชบรุ ี และไดว้ วิ าหมงคลกบั ธดิ าตระกลู เศรษฐีที่ตำ� บลอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม มนี ามว่า นาค (ภายหลงั ไดถ้ วายพระนามเปน็ ทางราชการวา่ สมเดจ็ พระอมรนิ ทราบรมราชนิ ี)

12 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ พระปรชี าสามารถด้านการศึกสงคราม สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาเสด็จเข้ารับราชการกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และได้เล่ือนเป็นท่ีพระราชวรินทร์ในกรมพระต�ำรวจ เม่ือพระ ชนมายไุ ด้ ๓๒ พรรษา ทรงเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการทำ� ศกึ สงคราม กอบกู้เอกราช ในช่วง พ.ศ. ๒๓๑๑ - ๒๓๒๑ ได้เสด็จออก สงครามถึง ๑๐ ครง้ั ล้วนได้แสดงพระปรชี าสามารถในการรบ กล่าวโดยสังเขปดงั น้ี

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 13 พระชนมายไุ ด้ ๓๒ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๑) โดยเสด็จ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ไี ปปราบกก๊ เจา้ พมิ าย ไดบ้ ำ� เหนจ็ ความ ชอบเป็นพระยาอภยั รณฤทธิ์ จางวางกรมตำ� รวจ พระชนมายุได้ ๓๓ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๒) เป็นแม่ทพั ไปตเี ขมร ได้เมอื งพระตะบองและเสียมราฐ พระชนมายุได้ ๓๔ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๓) โดยเสด็จ ไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง มีชัยชนะได้เล่ือนต�ำแหน่งยศเป็น พระยายมราช ว่าท่ีสมุหนายก พระชนมายไุ ด้ ๓๕ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๔) เป็นแม่ทัพ ไปตเี ขมรกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบรุ ซี ึ่งเสดจ็ ไปทางทะเล ตีได้ เมืองบันทายเพชรและเมืองบาพนม ได้บ�ำเหน็จความชอบเป็น เจ้าพระยาจกั รีที่สมุหนายก พระชนมายุได้ ๓๘ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๗) เป็นแม่ทพั หน้าของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรียกไปตีเชียงใหม่ เมืองนคร ลำ� ปาง เมอื งลำ� พนู ตอ่ มาไดข้ า่ ววา่ พมา่ ยกทพั มา สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ รี บี เสดจ็ คนื พระนครและโปรดใหเ้ จา้ พระยาจกั รจี ดั การ บ้านเมืองให้เรียบร้อย ในท่ีสุดได้เกล้ียกล่อมเมืองน่านเป็น ข้าขอบขณั ฑสมี าอกี เมอื งหนงึ่ คร้ันทราบว่าพม่ายกมาตีราชบรุ ี จึงยกกองทัพจากเชียงใหม่มาช่วยกองทัพหลวงเข้ารบพม่าจน พม่าแพ้ถอยทพั กลบั ไป

14 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ พระชนมายไุ ด้ ๓๙ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๘) อะแซหวนุ่ กี้ แม่ทัพพม่ายกทพั มาตีหัวเมอื งฝ่ายเหนือ จึงเสดจ็ ลงมาตง้ั รบั ท่ี พิษณุโลก พม่ามีก�ำลังมากแต่ไม่สามารถตีหักเอาเมืองได้ จน อะแซหวนุ่ กข้ี อดพู ระองคแ์ ละสรรเสรญิ พระปรชี าสามารถพรอ้ ม กบั ท�ำนายว่าจะได้เป็นกษตั รยิ ์ในวันข้างหน้า ในการรักษาเมืองพิษณุโลกครั้งน้ัน ปรากฏว่าพม่า เปลย่ี นกลยทุ ธใ์ หม่ โดยใชว้ ธิ ตี ดั กำ� ลงั กองลำ� เลยี งมใิ หส้ ง่ เสบยี ง อาหาร ผู้คนในเมืองเกิดอดอยากระส�่ำระสาย จ�ำต้องท้ิงเมือง พษิ ณโุ ลกตหี กั คา่ ยพมา่ ไปชมุ นมุ ทพั อยทู่ เี่ มอื งเพชรบรู ณ์ ตอ่ มา พม่าถอยทัพกลับไป พระชนมายไุ ด้ ๔๐ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๑๙) เป็นแม่ทัพ ยกไปตีหัวเมืองลาวตะวันออก ตีได้นครจ�ำปาศักด์ิ ศรีทันดร อตั ตะปอื สรุ นิ ทร์ สงั ขะและขขุ นั ธ์ ผลจากการรบครงั้ นไ้ี ดเ้ ลอื่ น เป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก มีเครื่องพระยศอย่างเจ้า ต่างกรม พระชนมายุได้ ๔๒ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๒๑) เป็นแม่ทัพ ยกไปตลี ้านช้าง ตไี ดเ้ มอื งเวยี งจนั ทน์ หลวงพระบาง ขากลบั ได้ อญั เชิญพระพุทธมหามณีรตั นปฏิมากร (พระแก้วมรกต) และ พระบางมาประดิษฐาน ณ กรุงธนบรุ ี พระชนมายไุ ด้ ๔๔ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๒๓) เกดิ จลาจล ในเขมร เสด็จเป็นแม่ทัพออกไปปราบปราม แต่ท�ำการยังไม่ ตลอด ทางกรงุ ธนบุรเี กิดเรอื่ งวุ่นวายจึงต้องเสดจ็ คืนพระนคร

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 15 ขณะนนั้ สมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรที รงยอมจำ� นนพระยา สรรผเู้ ปน็ กบฏ และทรงผนวช ณ วดั แจง้ (วดั อรณุ ราชวราราม) เม่ือสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกปราบจลาจลจนบ้านเมือง สงบเรียบร้อยแล้ว มขุ อ�ำมาตย์ราชมนตรีและไพร่ฟ้าประชาชน พรอ้ มกนั อญั เชญิ พระองคข์ นึ้ ปราบดาภเิ ษกเปน็ ปฐมบรมกษตั รยิ ์ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี เมอ่ื วนั ท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ซง่ึ ขณะนน้ั พระชนมายุได้ ๔๖ พรรษา พระนามท่ีจารึกในพระสพุ รรณบัฏ คอื พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชรามาธบิ ดี ศรสี นิ ทรบรม มหาจักรพรรดิราชาธิบดินทรฯ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวถวายพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจฬุ าโลก ต่อมาโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหา สุรสิงหนาท สมเด็จพระอนุชาธิราช ให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรม พระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หน้า) ราชธานีใหม่ พระราชกรณียกิจอันดับแรกคือ โปรดให้ย้ายราชธานี มาอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้�ำเจ้าพระยา เพราะทรงเห็นว่าฝั่ง ตะวันตกคับแคบเป็นท้องคุ้ง น้�ำเซาะตลิ่งตลอดเวลา ถ้ามีศึก สงครามก็ยากแก่การรักษา เพราะมีแม่น้�ำอยู่ตรงกลางเรียกว่า เมอื งอกแตกคลา้ ยเมอื งพษิ ณโุ ลก สว่ นฝง่ั ตะวนั ออกนน้ั แมเ้ ปน็

16 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ ท่ลี ุ่ม เป็นคเู มอื งเดมิ อยู่กลางซ่ึงเป็นเพียงคลองแคบๆ มิใช่เป็น แมน่ ำ้� กวา้ งใหญ่ แตม่ ชี ยั ภมู เิ หมาะสมหลายประการ เหมาะทจ่ี ะ ตง้ั รับข้าศึก ไม่ต้องกงั วลถงึ อีกฝ่ายหนง่ึ ของแม่น�้ำ ทกี่ ล่าวมานี้ เป็นมุมมองทางยทุ ธศาสตร์ ยังมคี วามเหมาะสมด้านอ่ืนๆ อกี เช่น ด้านเศรษฐกิจ การค้า การเกษตร ฯลฯ ภาพวาดการย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบรุ มี ายังฝั่งตะวันออก ของแม่นำ้� เจ้าพระยา (ภาพจาก : http://thainationhistory.blogspot.com/p/2325-200-1.html) ส่วนการสร้างราชธานีใหม่นั้น โปรดเกล้าฯ ให้พระยา ธรรมาธิกรณ์และพระยาวิจิตนาวีเป็นแม่กอง สถานท่ีจะสร้าง ศูนย์การปกครองคือพระบรมมหาราชวัง เป็นที่ซึ่งพระยาราช เศรษฐีและชาวจีนตัง้ บ้านเรอื นอยู่ก่อนแล้ว จึงโปรดเกล้าฯ ให้ ชาวจนี เหลา่ นน้ั ไปสรา้ งทอ่ี ยใู่ หมต่ งั้ แตค่ ลองวดั สามปลมื้ มาจนถงึ คลองวัดสามเพ็ง (ต่อมาเรียกส�ำเพ็ง) บริเวณดังกล่าวจึงเป็น ทอ่ี ยู่ของชาวจีนมาจนทกุ วนั นี้

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 17 ซากก�ำแพงกรุงธนบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓ (ภาพจาก : www.teakdoor.com) จากน้ันรับส่ังให้ร้ือก�ำแพงกรุงเก่า เอาอิฐมาสร้างป้อม ปราการท่ีราชธานีใหม่แล้วสร้างพระอุโบสถข้ึนในพระราชวัง จากนนั้ อญั เชญิ พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต) มาประดิษฐานในพระอุโบสถดังกล่าว และพระราชทานนามว่า วัดพระศรีรตั นศาสดาราม งานสรา้ งราชธานใี หมน่ ส้ี ำ� เรจ็ เรยี บรอ้ ยใน พ.ศ. ๒๓๒๘ จงึ มพี ธิ บี รมราชาภเิ ษกและพระราชทานนามพระนครใหมใ่ หต้ อ้ ง กับนามพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรว่า กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธยา มหาดิลกภพ นพรัตน ราชธานบี รุ รี มย์ อดุ มราชนเิ วศนม์ หาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สกั กะทตั ตยิ วษิ ณกุ รรมประสทิ ธ์ิ ต่อมาในสมยั รชั กาลที่ ๔ ทรง แปลงสร้อยค�ำว่า “บวรรตั นโกสนิ ทร์” เป็น “อมรรตั นโกสินทร์” นอกน้ันคงไว้ตามเดิม

18 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ ในบทพระนิพนธ์เร่ือง สามกรุง ของ น.ม.ส. (พระองค์เจ้ารัชนแี จ่มจรสั หรอื กรมหมน่ื พทิ ยาลง กรณ) ทรงกล่าวชมราชธานีใหม่ว่า “กรุงเทพมหานครน ี้ นามระบลิ อมรรัตนโกสินทร์ ต่อสร้อย ย้ายจากฟากแผ่นดิน ตะวันตก ผาดผดุ ดุจดังย้อย หยาดฟ้ามาดิน” ขณะเดียวกันกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทได้ สร้างพระราชวงั บวรของพระองค์ หรอื ทเ่ี รยี กว่าวงั หน้า ไว้อย่าง งดงามใหญโ่ ต ปจั จบุ นั คอื พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ กับอกี คร่งึ หน่ึงทางเหนือของสนามหลวง นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ โปรดให้ สร้างกำ� แพงพระนครและสร้างป้อมเรยี งรายโดยรอบ ๑๔ ป้อม ได้แก่ ป้อมพระสุเมรุ ยุคนธร มหาปราบ มหากาฬ หมทู ะลวง เสือทยาน มหาไชย จักรเพชร ผีเส้ือ มหาฤกษ์ มหายักษ์ พระจนั ทร์ พระอาทิตย์ และอสิ นิ ธร ถ้านับป้อมรอบวังหลวงโดยเฉพาะป้อมด้านหน้าแม่น�้ำ คอื ปอ้ มพศิ าลสมี าตรงมมุ วงั ตรงขา้ มวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ วดั พระเชตุพนฯ ป้อมมหาโลหะและป้อมอินทรรังสรรค์ตรงข้าม

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 19 ท่าช้างวังหลัง โดยรวมแล้วป้อมรอบพระนครจะมีทัง้ หมด ๑๗ ป้อม แต่ปัจจุบันเหลืออยู่เพยี ง ๒ ป้อม คือป้อมพระสเุ มรแุ ละ ป้อมมหากาฬ สงครามพม่าหลงั สร้างกรุง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ เม่ือข้ึนครองราชย์ แล้วทรงท�ำสงครามกับพม่าต่อไปอีกหลายครั้ง ครั้งใหญ่ท่ีสุด เรยี กว่า สงครามเก้าทพั พ.ศ. ๒๓๒๘ ซึ่งพระเจ้าปดงุ กษัตริย์ พม่าน�ำทัพมาเอง โดยยกพลมาถึง ๑๔๕,๐๐๐ คน แบ่งเป็น ๙ ทพั ยกมาทง้ั ทางภาคเหนอื และภาคใตห้ มายเข้าลอ้ มราชธานี โดยคาดว่าไทยเพิ่งต้ังตัว มีก�ำลังเพียง ๗๐,๐๐๐ คนเท่าน้ัน ยากที่จะต่อกร แต่ด้วยพระปรีชาสามารถของผู้น�ำไทย ทรง วางแผนต่อต้านข้าศึกอย่างเฉลียวฉลาด จนพม่าต้องถอยทัพ กลบั ไปและไดบ้ ทเรยี นว่าการยกทพั มาหลายดา้ นนนั้ ไมส่ ามารถ รวมกันได้ตามคาดหมาย การศึกคร้ังน้ัน (สงครามเก้าทัพ) มีการรบส�ำคัญท่ีทุ่ง ลาดหญ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทผู้น�ำทหารส่วน หน่ึงเข้ายึดทุ่งลาดหญ้า ก่อนพม่าลงมาจากภูเขา พระองค์ใช้ ยุทธวิธีแบบกองโจรสกดั การส่งเสบียงอาหารของพม่า ในทีส่ ุด พม่าอดอยากต้องถอยหนี ส่วนก�ำลังที่เหลือจากหัวเมืองต่างๆ ถูกไทยตีแตกพ่ายกลับไป

20 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ แผนภูมิแสดงการเดินทพั ของพม่าคร้ังสงครามเก้าทพั (ภาพจาก : www.komkid.com)

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 21 ขอเล่าถงึ การศึกทางภาคใต้ พม่ายกพลมาทางเรือ ตไี ด้ เมืองตะกั่วทุ่ง ตะก่ัวป่า แล้วเข้าล้อมเมืองถลาง (เกาะภูเก็ต) ปรากฏว่าขณะน้นั เจ้าเมอื งถลางถึงแก่อนิจกรรม ทางการไม่ทนั แต่งตั้งเจ้าเมืองใหม่ แต่ภรรยาเจ้าเมืองคือท่านผู้หญิงจันและ นางมุกน้องสาวได้สร้างวีรกรรมนำ� ชาวถลางต่อสู้พม่า จนข้าศกึ ถอยทัพหนีไป ด้วยความดีความชอบจากการรักชาติ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงแต่งต้ังท่านผู้หญิงจัน เป็น ท้าวเทพกระษัตรี และนางมกุ เป็น ท้าวศรีสนุ ทร นอกจากพมา่ เขา้ ตถี ลางจนเกดิ วรี สตรสี องท่านดงั กล่าว แล้ว พงศาวดารเมอื งนครศรีธรรมราชได้กล่าวไว้ตอนหนง่ึ ว่า “ฝา่ ยขา้ งเมอื งพทั ลงุ เจา้ เมอื งกรมการไดแ้ จง้ วา่ เมอื งชมุ พร เมอื งไชยา เมอื งนครศรีธรรมราช เสยี แก่ ข้าศึกแล้ว จึงปรึกษากันคิดจะยกครอบครัวหนี ยังมี พระสงฆ์องค์ ๑ ช่อื มหาช่วย เป็นเจ้าอธิการวัดในแขวง เมืองพัทลุง ส�ำแดงวิชาเวทมนตร์ ลงเลขยันต์ตะกรุด ประเจยี ดมงคลให้แก่กรมการนายบ้านชาวเมืองทั้งปวง คนเหลา่ นนั้ นยิ มยนิ ดยี ดึ มน่ั เปน็ เครอ่ื งปอ้ งกนั ศาสตราวธุ พาใหใ้ จกลา้ ขนึ้ ถงึ อาจสรู้ บดว้ ยพมา่ ได้ กรมการจงึ จดั พล ไดพ้ นั เศษ แลว้ เชญิ ทา่ นมหาชว่ ยขน้ึ คานหาม ยกออกมา ตงั้ คา่ ยรบั พมา่ อยกู่ ลางทางหา่ งเมอื งพทั ลงุ พระมหาชว่ ย มีปืน ๒ กระบอกส่งให้ศิษย์เดินยิงมาหน้าช้าง พม่า ข้าศึกดูเห็นเป็นกองทัพใหญ่ยกมาก็แตกหนีไป”

22 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ จากความดีความชอบที่พระมหาช่วยได้น�ำชาวบ้าน ปอ้ งกนั เมอื งพทั ลงุ จงึ มพี ระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระมหาชว่ ย เป็นพระยาทกุ ขราษฎร์ ลาสกิ ขาออกมาเป็นผู้ช่วยราชการเมอื ง พัทลุง (ต่อมาในสมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เปล่ียน นามบรรดาศกั ดจิ์ ากพระยาทกุ ขราษฎร์ เปน็ พระยาบรรเทาทกุ ข ราษฎร์) เสร็จศึกพม่าคร้ังนั้นแล้ว กรมพระราชวังบวรฯ ยัง ยาตราทพั ลงไปถงึ หวั เมอื งมลายู สามารถตไี ดป้ ตั ตานี หรอื เมอื ง ตานี กลนั ตนั ตรงั กานู และไทรบรุ ี โดยเฉพาะทปี่ ตั ตานสี ามารถ ยดึ ปนื ใหญช่ อื่ นางพญาตานี นำ� ลงเรอื มาไวท้ ก่ี รงุ เทพฯ ปจั จบุ นั ตง้ั สง่าอยู่หน้ากระทรวงกลาโหม ภาพวาดเรือรบสมัยรชั กาลท่ี ๑ ในรูปคอื การลำ� เลยี งปืนใหญ่ลงเรือโดยเจ้าเมืองปัตตานี น้อมถวายส่งไปยังกรุงเทพฯ (ภาพจาก : www.iseehistory.com)

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 23 พระสถูปของพระเจ้าปดงุ ต้นเร่ืองของสงครามเก้าทัพ (ภาพจาก : www.wikiwand.com) ขอกลับมาพูดถึงศึกพม่าอีกครั้ง น่ันคือศึกพม่าที่ ทา่ ดนิ แดง เมอื งกาญจนบรุ ี เรยี กวา่ ไทยชนะอยา่ งเดด็ ขาด โดย ปีต่อมาหลังจากศึกเก้าทัพแล้ว พระเจ้าปดุงบัญชาให้พระมหา อุปราชยกทัพมาเพียงทพั เดียว ต้ังค่ายทท่ี ่าดินแดงและสามสบ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าฯ แม่ทัพตคี ่ายพม่าท่าดินแดง กรมพระราชวังบวรฯ ตคี ่ายพม่าสามสบ ศึกครงั้ นีใ้ ช้เวลาเพยี ง ๓ วนั ไทยสามารถตคี ่ายพม่าแตกพ่ายไป

24 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ องเชียงสอื นอกจากสงครามพมา่ ดงั กลา่ วแลว้ สมยั รชั กาลท่ี ๑ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ไทยยงั เกย่ี วขอ้ งกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นอกี ดว้ ย เช่น ญวน สมัยองเชียงสือ กล่าวคือ เมื่อพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าฯ ปราบดาภิเษกได้ ๒ ปี ประเทศญวนเกิด กบฏไกเซนิ (พนี่ อ้ ง ๓ คนจากตำ� บลไกเซนิ ) เขา้ ยดึ ญวนตอนใต้ และจบั ฆ่าพระราชวงศ์ญวนตระกลู เหงยี นหลายคน องเชยี งสอื รชั ทายาทญวนขณะนน้ั อายุ ๑๕ ปี หลบหนมี ากรงุ เทพฯ เพือ่ พึ่งพระบรมโพธสิ มภาร ทรงรบั ชบุ เลีย้ งอย่างชาวประเทศราชที่ สนิท ทำ� นองเดียวกับเจ้าเขมรที่ทรงเมตตา ยามสงครามพมา่ องเชยี งสอื กไ็ ปชว่ ยในกองทพั จนเมอื่ สงครามดสู งบลง จงึ วา่ ถงึ เวลาจะคนื ถน่ิ มาตภุ มู ิ แตไ่ มก่ ลา้ ทลู ลา เกรงจะทรงปฏเิ สธเพราะสงครามพมา่ ยงั ไมเ่ สรจ็ สนิ้ องเชยี งสอื จงึ หลบหนีลงเรอื ส�ำเภา เมอ่ื สมเดจ็ พระมหาอปุ ราชสุรสิงหนาท ทราบ จงึ นำ� พลรบลงเรอื ไลต่ ามจนทนั กนั ทปี่ ากนำ้� เพราะขณะนน้ั ไม่มลี มพดั

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 25 องเชยี งสอื จนปญั ญาเกอื บปลงชพี ตน แตบ่ รวิ ารยบั ยง้ั ไว้ ในไมช่ ้าลมอ่าวกพ็ ดั มาจงึ แลน่ ใบหนอี อกไปได้ สมเดจ็ พระมหา อุปราชจะเสด็จตามต่อไปอีก พอดีเรือเร็วน�ำพระราชสาส์น พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ มขี อ้ ความใหย้ ตุ กิ ารตดิ ตาม ปลอ่ ยใหเ้ ขาไปตบี า้ นเมอื งเขาคนื เถดิ เราเองชว่ ยเขาไมไ่ ดเ้ พราะ ตดิ พนั กับศกึ พม่า เมื่อถึงไซง่อนแล้วองเชียงสือน�ำบริวารต่อสู้กับกบฏจน ชนะและได้แดนญวนทางใต้คืน องเชียงสอื ยงั รำ� ลกึ ถึงพระคุณ รชั กาลท่ี ๑ แห่งกรงุ สยาม ได้ถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองทุกปี ต่อมาองเชียงสือได้เป็นพระเจ้ายาลอง ต้ังนครหลวงที่เมืองเว้ และเป็นจักรพรรดิองค์แรก กระทั่งองค์สุดท้ายคือพระเจ้า เบาได๋ พระราชกรณียกิจ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ ทรงประกอบพระราช กรณียกิจหลายด้านดังท่ีกล่าวมาแล้ว ส่วนใหญ่คือ การศึก สงครามกับพม่าเพ่ือกอบกู้ชาติและสร้างชาติ ซ่ึงเป็นพระราช กรณยี กจิ ทสี่ ำ� คญั ยง่ิ พระราชกรณยี กจิ หลงั จากทรงครองราชย์ แล้วท่ีจะน�ำเสนอคือ ด้านบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ด้านรวบรวม และช�ำระกฎหมาย และด้านวรรณคดี

26 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ ด้านการบ�ำรงุ พระพุทธศาสนา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงอุปถัมภ์การ ชำ� ระพระไตรปิฎกใน พ.ศ. ๒๓๓๑ เพื่อให้ประชาชนได้มที ่ีพง่ึ ทางใจ เพราะบา้ นเมอื งอยใู่ นสภาพบา้ นแตกสาแหรกขาด วธิ กี าร ช�ำระพระไตรปิฎกน้ัน สมเด็จพระสังฆราชทรงเลือกพระราชา คณะ ๒๑๘ รปู ราชบณั ฑติ ๓๒ คน มารว่ มงานสำ� คญั ดงั กลา่ ว ณ วัดนิพพานาราม (ปัจจุบันคือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์) เมอื่ เสร็จบริบรู ณ์แลว้ ก็พระราชทานพระไตรปฎิ กแก่พระอาราม หลวงทุกอาราม และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พระ อารามต่างๆ คดั ลอกเกบ็ ไว้ นอกจากนยี้ งั โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ กี ารจดั ระเบยี บสงฆ์ ตรา กฎพระสงฆเ์ พอื่ ใหด้ ำ� รงอยใู่ นพระธรรมวนิ ยั อยา่ งเครง่ ครดั ทรง สร้างวัดและปฏิสังขรณ์พระอารามต่างๆ ทั้งในพระนครและ หวั เมอื ง สว่ นวดั ประจำ� รชั กาลคอื วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ทรงสร้างวดั ทเ่ี อาแบบอย่างจากกรุงเก่า เช่น วดั สทุ ศั นเทพวราราม เลยี นแบบวดั พนญั เชงิ โดยสรา้ ง โบสถ์ขึ้นก่อน แล้วอัญเชิญพระศรีศากยมุนีมาประดิษฐาน ณ วัดแห่งนี้ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เปน็ วดั ประดษิ ฐานพระพทุ ธ รปู ส�ำคัญคือ พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 27 วดั สทุ ัศนเทพวรารามในอดีต (ไม่ทราบ พ.ศ.) (ภาพจาก : หนงั สอื กลุ ี ลากรถ กับประวัตศิ าสตร์แรงงานไทย) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยสร้างพระเจดีย์ องค์ใหญ่ซ่ึงเดิมบรรจุพระพุทธรูปพระศรีสรรเพชญ์ ที่ถูกพม่า เผาจนปรักหักพกั ท่กี รงุ เก่า ถวายพระนามว่าพระเจดีย์ศรีสรร- เพชญดาญาณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิ เป็นวัดเก่าแก่อยู่ระหว่าง พระบรมมหาราชวังกับวังหน้า กรมพระราชวังบวรมหาสุร- สงิ หนาทเปน็ แมก่ องสรา้ งและเปน็ วดั ทพี่ ระองคเ์ คยใชเ้ ปน็ ทหี่ ลบ ซ่อนพม่า

28 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ ด้านการรวบรวมและช�ำระกฎหมาย รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ มกี ารรวบรวม หนังสือกฎหมายครั้งกรุงเก่าตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งอยู่ในสภาพฉีกขาด สญู หาย และถกู ทำ� ลาย ตงั้ แต่เสียกรุง พ.ศ. ๒๓๑๐ จึงโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมชำ� ระ ตราเป็นกฎหมายสามดวง พ.ศ. ๒๓๔๘ ท่เี รยี กว่า กฏหมาย ตราสามดวง เพราะสร้างเป็นฉบบั หลวงไว้ ๓ ชุด โดยประทับ ตราพระราชสหี ์ พระคชสีห์ และบัวแก้วไว้เป็นสำ� คญั (ซ้าย) ตราพระราชสหี ์ ประจ�ำตำ� แหน่งสมหุ นายก (กลาง) ตราพระคชสหี ์ ประจำ� ต�ำแหน่งสมุหพระกลาโหม (ขวา) ตราบวั แก้ว ประจ�ำต�ำแหน่งกรมท่าโกษาธิบดี การท่ีโปรดให้ช�ำระกฎหมายตราสามดวงดังกล่าว เพ่ือ เปน็ หลกั ในการปกครอง เปน็ ทพี่ งึ่ ดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรมแก่ ประชาชน และแสดงใหเ้ หน็ วา่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ ทรงเสมอื นพระบดิ าของกฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรมของ ไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เหตทุ ก่ี ลา่ วเชน่ นเี้ พราะการมพี ระราชดำ� ริ

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 29 ใหช้ ำ� ระกฎหมายเดมิ ทใี่ ชอ้ ยซู่ ง่ึ ผดิ หลกั การใหถ้ กู ตอ้ งและยตุ ธิ รรม อกี ทง้ั ทรงใหเ้ ปลยี่ นแปลงวธิ กี ารพจิ ารณาความและการลงทณั ฑ์ ให้เหมาะสม ด้านการทำ� นบุ �ำรุงวรรณคดี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงท�ำนุบ�ำรุง วรรณคดซี งึ่ เสอ่ื มโทรมมาตงั้ แตค่ รง้ั เสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยา พระองค์ ทรงเปน็ ประมขุ แหง่ กวี ไดโ้ ปรดใหร้ าชบณั ฑติ สรา้ งวรรณคดขี น้ึ ไว้ส�ำหรบั ราชธานแี ห่งใหม่ ส่วนพระองค์เองทรงพระราชนิพนธ์ ไวค้ อื บทละครเรอื่ ง รามเกยี รต์ิ (บางตอน) บทละครเรอื่ ง อณุ รทุ และ นิราศรบพม่าทที่ ่าดินแดง บทละครเรอื่ ง รามเกยี รต์ิ ฉบบั พระราชนพิ นธใ์ นรชั กาล ท่ี ๑ เปน็ ฉบบั ทม่ี เี นอื้ หาละเอยี ดพสิ ดาร ยาวถงึ ๑๑๗ เลม่ สมดุ ไทย รวมคำ� กลอนไม่ตำ�่ กว่า ๖๐,๐๐๐ คำ� กลอน

30 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ การที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงน�ำเร่ือง รามเกยี รตม์ิ าพระราชนพิ นธเ์ ปน็ บทละครนนั้ นบั วา่ ทรงรวบรวม เร่ืองท่ีประชาชนนิยมกันอย่างแพร่หลายขึ้นเป็นหลักฐาน ซ่ึง วรรณคดีเร่ืองน้ีมีผลในทางยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ ใหค้ ตธิ รรมและความเพลดิ เพลนิ ตอนทา้ ยเรอ่ื งยงั ทรงกลา่ วถงึ จุดมุ่งหมายไว้ว่า “อนั พระราชนพิ นธร์ ามเกยี รต ิ์ ทรงเพยี รตามเรอ่ื งนยิ ายไสย ใช่จะเป็นแก่นสารสิ่งใด ตง้ั พระทัยสมโภชบูชา ใครฟังอย่าได้ใหลหลง จงปลงอนิจจังสงั ขาร์ ซึ่งอกั ษรกลอนกล่าวล�ำดบั มา โดยราชปรีดากบ็ รบิ รู ณ์” บทละครเรอ่ื ง อณุ รทุ เขา้ ใจวา่ ชาวไทยคงรจู้ กั วรรณคดี เรอ่ื งนมี้ าพรอ้ มๆ กบั รามเกยี รต์ิ อนริ ทุ ธคำ� ฉนั ท์ ของศรปี ราชญ์ กเ็ ป็นเร่อื งเดยี วกนั พระราชนิพนธ์บทละครเร่ือง อณุ รทุ นี้เป็น เรื่องยาว ๑๘ เล่มสมุดไทย เนื้อเร่ืองกล่าวถึงพระนารายณ์ อวตารลงมาปราบพวกยกั ษท์ ท่ี ำ� ความเดอื ดรอ้ นแกโ่ ลก ในตอน ท้ายเรื่องมีพระราชปรารภคล้ายเร่อื ง รามเกยี รต์ิ ว่า

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 31 “อันพระราชนพิ นธ์อุณรทุ สมมุติไม่มีแก่นสาร ทรงไว้ตามเรอื่ งโบราณ สำ� หรับการเฉลิมพระนคร ให้รำ� ร้องคร้นื เครงบรรเลงเล่น เป็นที่แสนสขุ สโมสร แก่หญงิ ชายไพร่ฟ้าประชากร ก็ถาวรเสรจ็ สน้ิ บรบิ รู ณ์” นิราศรบพม่าท่ีท่าดินแดง นิราศเร่ืองน้ีเป็นนิราศเรื่อง แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงพระราชนิพนธ์เม่ือคราวยาตราทัพไปตีทัพพม่า ณ ต�ำบล ท่าดินแดง เมืองกาญจนบรุ ี พ.ศ. ๒๓๒๙ ทรงแสดงพระปรชี า สามารถเชงิ กวอี ยไู่ มน่ อ้ ย ดงั พระราชปณธิ านของพระองคใ์ นการ ไปสงครามครงั้ น้ี “ตง้ั ใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา จะป้องกนั ขอบขณั ฑสิมา รกั ษาประชาชนแลมนตรี จะบำ� รงุ ทัง้ ฝงู สุรางค์รัก ให้อคั เรศเป็นสขุ จ�ำเรญิ ศรี คร้ันเสรจ็ การผลาญราชไพร ี ก็ให้กรีธาทัพกลับมา” ผลงานของกวใี นสมยั รัชกาลท่ี ๑ เจ้าพระยาพระคลงั (หน) หรอื หลวงสรวิชติ นายด่าน เมอื งอทุ ยั ธานี เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าฯ ขน้ึ ครอง ราชย์แล้ว โปรดให้หลวงสรวิชิตเป็นพระยาพิพัฒนโกศา และ เป็นเจ้าพระยาพระคลัง ตามล�ำดับ ผลงานวรรณคดีของ

32 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ เจ้าพระยาพระคลงั (หน) มหี ลายเรอื่ งเช่น ลิลิตศรีวิชัยชาดก ลิลิตเพชรมงกุฎ ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง อิเหนาค�ำฉันท์ มหาชาติร่ายยาวกณั ฑ์กมุ าร - กณั ฑ์มัทรี บทมโหรีเรอ่ื ง กากี ผู้อ�ำนวยการการแปลและเรียบเรียง สามก๊ก (พงศาวดารจีน) ราชาธริ าช (พงศาวดารมอญ - พม่า) พระยาธรรมปรชี า (แก้ว) เป็นพระอาลกั ษณ์มาตง้ั แต่ สมยั พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี มคี วามรแู้ ตกฉานดา้ นพทุ ธศาสนา มผี ลงาน เช่น รตั นพมิ พวงศ์ (แปล) มหาวงศ์ (แปล) ไตรภูมิโลกวนิ ิจฉยั ความพสิ ดาร และ ไตรเพท พระเทพโมลี (กลิ่น) ผลงานท่ีรู้จักกันดีคือ พระ เวสสันดรชาดกกัณฑ์มหาพน และแต่งซ่อม กัณฑ์ทานกัณฑ์ ของกรมสมเด็จพระปรมานชุ ติ ชิโนรส เสด็จสวรรคต พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ ทรงครองราชสมบตั ิ นาน ๒๘ ปี เสด็จสวรรคตเมือ่ วนั ท่ี ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๕๒ สิรพิ ระชนมพรรษาได้ ๗๓ พรรษา เป็นปีที่ ๒๘ แห่งรัชกาล มพี ระสติจนวาระสุดท้าย และทรงสามารถมอบราชสมบัติ แก่สมเดจ็ พระบรมโอรสา เจา้ ฟา้ กรมหลวงอศิ รสนุ ทร ซง่ึ ตอ่ มา คือ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 33 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าฯ มพี ระราชโอรสและ พระราชธดิ ารวม ๔๓ พระองค์ เป็นหญิง ๒๕ และชาย ๑๘ พระองค์ โดยบางพระองคท์ ที่ รงมคี วามสำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ และวรรณคดมี ีดังน้ี องค์ที่ ๔ สมเด็จเจ้าฟ้าชายฉิม (พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย) ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้า ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงอศิ รสนุ ทร ไดร้ บั พระราชทานอปุ ราชา ภเิ ษกเป็นพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล องคท์ ่ี ๗ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ชายจยุ้ ไดร้ บั สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนเสนานุรกั ษ์ ครั้นถึงรัชกาลที่ ๒ ได้ด�ำรงพระยศเป็นพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรมหา เสนานุรกั ษ์ องคท์ ี่ ๑๗ พระองคเ์ จา้ ชายอรโุ ณทยั (พระองคช์ า้ ง) ตอ่ มา ได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นศักดิพลเสพ คร้ันถึงรัชกาลที่ ๓ ได้รับพระราชทานอุปราชาภิเษกเป็นพระมหาอุปราช กรม พระราชวงั บวรมหาศักดิพลเสพ องค์ที่ ๒๘ พระองค์เจ้าชายวาสุกรี ทรงผนวชเป็น สามเณรเมือ่ พ.ศ. ๒๓๕๓ แล้วทรงดำ� รงเพศบรรพชิตจนถึง พ.ศ. ๒๓๙๔ ในรัชกาลท่ี ๔ ทรงรับมหาสมณตุ มาภิเษกเป็น สมเด็จพระปรมานชุ ิตชิโนรส องค์ท่ี ๔๐ พระองค์เจ้าชายสุทัศน์ (พระองค์โต) ใน รัชกาลท่ี ๓ ได้ทรงรบั สถาปนาเป็นกรมหมื่นไกรสรวิชิต

34 ๑๐ กษัตริย์จักรีวงศ์ ถวายพระสมญั ญาเทิดพระเกียรติ พ.ศ. ๒๕๒๕ ในโอกาสท่ีกรุงเทพมหานครอายุครบ ๒๐๐ ปี คณะรฐั มนตรมี มี ตใิ หเ้ ทดิ พระเกยี รตถิ วายพระสมญั ญา ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ ก�ำหนดให้เปลี่ยนชื่อวันจักรีในวันท่ี ๖ เมษายนของทุกปี เป็น วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ วันทีร่ ะลึกมหาจักรบี รมราชวงศ์

รงค์ ประพันธ์พงศ์ 35 องค์พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ภวู นยั ธ�ำรงรฐั ฉตั รสยาม ศกึ เก้าทัพพม่าพา่ ยส้ินลายงาม สยามยามสงบด้วยพระบารมี งานละครดนตรกี วีแกว้ ศลิ ปะเลิศแล้วเพริศแพรว้ ศรี งามวงั วดั พระปรางคเ์ ดน่ ธรณี ภมู ิจิตทวี เลศิ ศลิ ปแ์ ผ่นดินไทย