40 3.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา 1. ประเมินผลจากงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 2. ประเมนิ ผลการวพิ ากษ์ 3. ประเมนิ จากการทดสอบ 4. ดา้ นทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ 1. มีภาวะผู้นา และรว่ มมือกับผอู้ ่นื ในการจดั การข้อโตแ้ ยง้ หรอื ปญั หาทางวิชาการได้อย่าง เหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สังคม และสว่ นรวม 3. มมี นษุ ยสัมพันธ์ เคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจผอู้ ื่น มีวฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ และสังคม หรือ PLO 1 : สามารถประยุกตใ์ ช้องค์ความรู้ดา้ นการบริหารการศึกษา ความรเู้ กยี่ วกับหลกั และ ทฤษฎีการบริหารการศึกษา และสามารถนามาบูรณาการองค์ความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มี ความเป็นผู้นา มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษา สามารถให้คาปรึกษาและมี แนวทางการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ Sub PLO 1.1 สามารถใช้องค์ความรู้ด้านการบริหารการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม มี ความเป็นผู้นา มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตัวเอง และสงั คม Sub PLO 1.2 สามารถให้คาปรึกษาด้านการศึกษาในสถานศึกษาจากหลักการวิจัยและ หลกั วิชาการ และมีแนวทางการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ และสามารถทางานเปน็ ทีมได้ 4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รบั ผดิ ชอบ 1. มอบหมายการทางานกลมุ่ 2. การอภปิ รายกลมุ่ 3. การสอนแบบร่วมมือ 4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รบั ผิดชอบ 1. ประเมนิ จากการนาเสนอในชัน้ เรยี น 2. ประเมนิ จากผลการอภิปรายกลุ่ม 3. ประเมินจากการทดสอบภาคปฏิบตั ิ
41 5. ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1. มีทักษะการบริหารงานบนฐานข้อมูลจริง โดยใช้ความรู้ทางสถิติ วิจัย และการวัดผล ประเมนิ ผลมาบรหิ ารและพฒั นางาน 2. มีทักษะในการสื่อสารความคิด ยืนหยัดและโต้แย้งตามหลักวิชาการ สร้างแรงจูงใจ และ โนม้ นา้ วผ้ฟู ังได้ สามารถใชภ้ าษาในการส่ือสารท้ังการพูด อา่ น และเขยี นได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การ แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง และการสร้างสรรคผ์ ลงานทางวิชาการในรปู แบบต่างๆ หรือ PLO 3 : สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการบริหารการศึกษา ท่ีมีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ปรบั ใชใ้ นการบริหารสถานศึกษา Sub PLO 3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการศึกษา การบริหารการศึกษาของสถานศกึ ษา Sub PLO 3.2 มีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในการบริหารสถานศึกษา 5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. การสอนในรายวิชาการวิจัยทางการบริหารการศึกษา การสัมมนาทางการบริหาร การศกึ ษา การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ และการทาวทิ ยานิพนธ์ 2. การนาเสนอผลการศกึ ษา การรายงาน การตีพิมพเ์ ผยแพรผ่ ลการศึกษา 5.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรูด้ า้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่ือสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน 2. ประเมนิ ผลโดยการสอบข้อเขียนและปากเปลา่ 6. ด้านทกั ษะในการบรหิ ารการศกึ ษา 6.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะการบรหิ ารการศกึ ษา 1. มีความสามารถในการบริหารการศกึ ษาดว้ ยรปู แบบทห่ี ลากหลาย 2. มีความาสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีและการปฏิบัติได้อย่างสร้างสรรค์ในการบริหาร และใช้การวจิ ัยดว้ ยความร้คู วามเข้าใจท่ลี กึ ซึ้ง ในการจัดการศกึ ษาในรปู แบบต่างๆ หรือ PLO 4 : สามารถกาหนดนโยบาย แผน และกลยทุ ธ์ทางการบริหารการศกึ ษา มีความเข้าใจ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปล่ียนแปลง และสามารถยืนหยัดและโต้แย้งตามหลัก วิชาการ สรา้ งแรงจงู ใจ และโนม้ นา้ วผฟู้ งั ได้
42 Sub PLO 4.1 สามารถกาหนดนโยบาย แผน และกลยุทธ์ทางการบริหารการศึกษาให้ เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และนโยบายของชาตไิ ด้ Sub PLO 4.2 สามารถยืนหยัดและโต้แย้งตามหลักวิชาการ สร้างแรงจูใจ และโน้มน้าว ผ้ฟู งั ได้ Sub PLO 4.3 มีความเข้าใจกฎ ระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ และของกระทรวง ศึกษาธิการที่เปล่ียนแปลง 6.2 กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นร้ดู ้านทักษะการบริหารการศึกษา 1. จดั การเรียนรู้จากประสบการณต์ รงในสถานการณ์จรงิ หรอื สถานการณจ์ าลอง 2. จัดการเรยี นรู้ที่เนน้ การฝึกปฎิบตั ิ ใชเ้ ทคนิคการนเิ ทศ (Coaching) 6.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะการบริหารการศกึ ษา 1. ประเมินความสามารถจากผลงาน และการนาเสนอ 2. ประเมนิ พฤติกรรมการมสี ว่ นร่วมและการทางานกลุ่ม 3. แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) ผลการเรยี นรู้ในตารางมีความหมาย ดงั นี้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารการศกึ ษา 2. เป็นแบบอย่างและพัฒนาบุคคลากรในด้านการมีวินัย ตรงตอ่ เวลา มีความรบั ผิดชอบต่อ ตนเอง วิชาชพี และสังคม 3. ส่งเสริมและพฒั นาการทางานเปน็ ทมี 4. มจี รรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ด้านความรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา และสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏบิ ัตงิ านในวิชาชีพ 2. สามารถทาวจิ ัยหรือปฏิบตั ิงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้ โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ หรือประยกุ ต์วธิ ีการปฏบิ ตั ิงานใหมๆ่ ได้ 3. มีความรู้กว้าง และมีความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มี ผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่ หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบัน และการ เปลย่ี นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต 4. มีความรู้ในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปล่ียนแปลงตาม สถานการณท์ ้งั ในระดับชาติและนานาชาติ 5. มีความรู้เก่ียวกับการวิจัย สถิติ การวัดผลประเมินผล และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนา
43 ดา้ นทักษะทางปญั ญา 1. มที ักษะในการกาหนดนโยบาย แผน และกลยทุ ธท์ างการบริหารการศกึ ษา 2. มีความสามารถคิดค้นข้อเท็จจริงทาความเข้าใจเพื่อพัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินผล วิพากษ์งานวิจัย และพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่ๆ ทางการบริหารการศึกษา โดยบูรณาการเขา้ กบั ความรเู้ ดมิ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 3. สามารถนาความร้ไู ปใช้แกป้ ัญหาและพัฒนาองค์กรได้ ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ 1. มีภาวะผู้นา และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่าง เหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ 2. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสว่ นรวม 3. มีมนุษยสัมพันธ์ เคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และ สงั คม ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีทักษะการบริหารงานบนฐานข้อมูลจริง โดยใช้ความรู้ทางสถิติ วิจัย และการวัดผล ประเมนิ ผลมาบริหารและพัฒนางาน 2. มีทักษะในการส่ือสารความคิด ยืนหยัดและโต้แย้งตามหลักวิชาการ สร้างแรงจูงใจ และ โน้มนา้ วผู้ฟงั ได้ สามารถใชภ้ าษาในการสอื่ สารท้งั การพดู อา่ น และเขียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการส่ือสาร การ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และการสร้างสรรคผ์ ลงานทางวิชาการในรปู แบบตา่ งๆ ด้านทกั ษะในการบรหิ ารการศกึ ษา 1. มคี วามสามารถในการบริหารการศกึ ษาดว้ ยรูปแบบทห่ี ลากหลาย 2. มีความสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีและการปฏิบัติได้อย่างสร้างสรรค์ในการบริหาร และใชก้ ารวิจยั ด้วยความรู้ความเข้าใจท่ลี กึ ซึ้ง ในการจดั การศึกษาในรูปแบบตา่ งๆ
มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 1. ด้านคณุ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทกั ษ จรยิ ธรรม ทางปญั ญา 1 . มี คุ ณ ธ ร ร ม 1.มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎี 1.มีทักษะในการ จริย ธรรม แ ล ะ ใช้ สาคัญในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา และสามารถ นโยบาย แผน และ หลักธรรมา ภิ นามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือ ทางการบริหารการ บาลในการบริหาร การปฏิบตั งิ านในวชิ าชพี 2 .มี ค ว า ม ส า ม า ร การ ศกึ ษา 2.สามารถทาวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือ ข้อเท็จจริงทาควา 2.เป็นแบบอย่างและ วิชาชีพได้ โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ หรือประยุกต์ เพื่อพัฒนาทักษะใ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร วิธีการปฏบิ ัติงานใหม่ๆ ได้ วิ เค ร า ะ ห์ สั ง เค ใน ด้ าน การมี วินั ย 3.มคี วามรกู้ วา้ ง และมีความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ใน ป ร ะ เมิ น ผ ล ว ตรงต่อเวลา มีความ สาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนา งานวิจัย และพัฒน รับผิดชอบต่อตนเอง ความรู้ใหม่ หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือ หรือแนวคิดใหม่ๆ วชิ าชพี และสังคม วิชาชีพในปัจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนใน บ ริห าร ก ารศึ ก ษ 3.ส่งเสริมและพัฒนา อนาคต บูรณาการเข้ากับคว การทางานเปน็ ทมี 4.มีความรใู้ นธรรมเนียมปฏิบตั ิ กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับใน ได้ อ ย่ า งส ร้ า งส 4.มีจรรยาบรรณทาง สาขาวิชาชีพท่ีเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ท้ังใน สามารถนาความ วชิ าการและวิชาชพี ระดับชาตแิ ละนานาชาติ แก้ปญั หาและพัฒน 5.มีความรู้เก่ียวกับการวิจัย สถิติ การวัดผลประเมินผล ได้ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การพฒั นา
44 สาหรบั หมวดวิชาเฉพาะ ษะ 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ 5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์ 6. ด้านทกั ษะในการ า ระหว่างบุคคลและความ เชงิ ตวั เลข การส่ือสาร และ บริหารการศึกษา รบั ผดิ ชอบ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ รกาหนด 1.มีภาวะผู้นา และร่วมมือกับ 1.มีทกั ษะการบริหารงานบน 1.มีความสามารถใน ะกลยุทธ์ ผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้ง ฐานข้อมูลจรงิ โดยใช้ความรู้ การบริหารการศึกษา รศกึ ษา หรือปัญหาทางวิชาการได้อย่าง ทางสถติ ิ วิจยั และการวัดผล ด้ ว ย รู ป แ บ บ ท่ี รถคิดค้น เห ม าะส ม ต าม โอก าส แล ะ ประเมินผลมาบริหารและ หลากหลาย ามเข้าใจ สถานการณ์ พฒั นางาน 2 .มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ในการคิด 2.มีความรับผิดชอบต่อตนเอง 2.มีทักษะในการส่ือสาร การประยุกต์ทฤษฎี ค ร า ะ ห์ สังคม และสว่ นรวม ความคิด ยืนหยดั และโต้แย้ง และการปฏิบตั ิได้อย่าง วิ พ า ก ษ์ 3.มีมนุษยสัมพันธ์ เคารพความ ตามหลักวิชาการ สร้างแรง ส ร้ า งส ร ร ค์ ใน ก า ร นาความรู้ แตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจ จูงใจ และโน้มน้าวผู้ฟังได้ บริหารและใช้การวิจัย ทางการ ผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สาม ารถใช้ภ าษาในการ ดว้ ยความร้คู วามเขา้ ใจ ษ า โด ย และสังคม สื่อสารทั้งการพูด อ่าน และ ท่ี ลึ ก ซ้ึ ง ใน ก า ร จั ด วามรเู้ ดมิ เขยี นได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ การศึกษาในรูปแบบ ส ร ร ค์ 3 . 3.มีความสามารถในการใช้ ตา่ งๆ ม รู้ ไ ป ใ ช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ นาองค์กร ส า ร ส น เท ศ ใน ก า ร สื่ อ ส า ร การแสวงห าค วามรู้ด้วย ตนเอง และการสร้างสรรค์ ผ ล งา น ท า งวิ ช า ก า ร ใน รปู แบบต่างๆ 44
แผนที่แสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการ ความรับผิดชอบหลัก 1. ค จ รายวิชา 02-121-501 พ้ืนฐานทางการศึกษา 1 O 02-121-601 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั O 02-121-710 กระบวนการทางการศึกษา 02-121-608 ฝึกประสบการณ์วิชาชพี ทางการบริหารการศึกษา O 02-121-602 หลกั การและทฤษฎีการบรหิ ารการศกึ ษา 02-121-603 นโยบายและการวางแผนเชิงกลยทุ ธท์ างการศึกษา 02-121-604 การพฒั นาผ้บู รหิ ารการศกึ ษามอื อาชพี 02-121-606 สมั มนาทางการบริหารการศึกษา 02-121-607 การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา 02-121-609 หลกั การและกระบวนการบรหิ ารสถานศกึ ษา 02-121-605 การพฒั นาองคก์ ารและทรพั ยากรมนษุ ย์ทางการศกึ ษา 02-121-711 การนิเทศการศกึ ษา
45 รเรยี นรู้จากหลกั สตู รสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) ก O ความรบั ผิดชอบรอง คณุ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ 6. ทักษะ จรยิ ธรรม ปญั ญา ความสมั พนั ธ์ วิเคราะห์เชงิ ในการ ระหว่าบุคคล ตัวเลข บริหาร และความ การสอื่ สาร การศกึ ษา รับผิดชอบ และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 234 1 2345123123123 1 2 OO OOO O O O O OO O O O O O O O O O O OO O OO O O O O O O OO OO O O O OO O O O O OO O OO O 45
มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 1. ด้านคณุ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษ จรยิ ธรรม ทางปญั ญา 1 . มี คุ ณ ธ ร ร ม 1.มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎี 1.มีทักษะในการ จริย ธรรม แ ล ะ ใช้ สาคัญในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา และสามารถ นโยบาย แผน และ หลักธรรมา ภิ นามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือ ทางการบริหารการ บาลในการบริหาร การปฏิบตั งิ านในวชิ าชพี 2 .มี ค ว า ม ส า ม า ร การ ศกึ ษา 2.สามารถทาวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือ ข้อเท็จจริงทาควา 2.เป็นแบบอย่างและ วิชาชีพได้ โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ หรือประยุกต์ เพื่อพัฒนาทักษะใ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร วิธีการปฏบิ ัติงานใหม่ๆ ได้ วิ เค ร า ะ ห์ สั ง เค ใน ด้ าน การมี วินั ย 3.มคี วามรกู้ วา้ ง และมีความเข้าใจในพัฒนาการใหมๆ่ ใน ป ร ะ เมิ น ผ ล ว ตรงต่อเวลา มีความ สาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยท่ีมีผลกระทบต่อการพัฒนา งานวิจัย และพัฒน รับผิดชอบต่อตนเอง ความรู้ใหม่ หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือ หรือแนวคิดใหม่ๆ วชิ าชพี และสงั คม วิชาชีพในปัจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขึ้นใน บ ริห ารก ารศึ ก ษ 3.ส่งเสริมและพัฒนา อนาคต บูรณาการเข้ากับคว การทางานเป็นทมี 4.มีความรใู้ นธรรมเนียมปฏิบตั ิ กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับใน ได้ อ ย่ า ง ส ร้ า งส 4.มีจรรยาบรรณทาง สาขาวิชาชีพท่ีเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ทั้งใน สามารถนาความ วชิ าการและวิชาชพี ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ แก้ปญั หาและพัฒน 5.มีความรู้เก่ียวกับการวิจัย สถิติ การวัดผลประเมินผล ได้ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การพฒั นา
46 สาหรับหมวดวิชาเฉพาะ ษะ 4. ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ 5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์ 6. ด้านทกั ษะในการ า ระหว่างบุคคลและความ เชงิ ตวั เลข การส่ือสาร และ บริหารการศึกษา รบั ผดิ ชอบ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ รกาหนด 1.มีภาวะผู้นา และร่วมมือกับ 1.มีทกั ษะการบริหารงานบน 1.มีความสามารถใน ะกลยุทธ์ ผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้ง ฐานข้อมูลจรงิ โดยใช้ความรู้ การบริหารการศึกษา รศกึ ษา หรือปัญหาทางวิชาการได้อย่าง ทางสถติ ิ วิจยั และการวัดผล ด้ ว ย รู ป แ บ บ ท่ี รถคิดค้น เห ม าะส ม ต าม โอก าส แล ะ ประเมินผลมาบริหารและ หลากหลาย ามเข้าใจ สถานการณ์ พฒั นางาน 2 .มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ในการคิด 2.มีความรับผิดชอบต่อตนเอง 2.มีทักษะในการส่ือสาร การประยุกต์ทฤษฎี ค ร า ะ ห์ สังคม และสว่ นรวม ความคิด ยืนหยดั และโต้แย้ง และการปฏิบตั ิได้อย่าง วิ พ า ก ษ์ 3.มีมนุษยสัมพันธ์ เคารพความ ตามหลักวิชาการ สร้างแรง ส ร้ า งส ร ร ค์ ใน ก า ร นาความรู้ แตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจ จูงใจ และโน้มน้าวผู้ฟังได้ บริหารและใช้การวิจัย ทางการ ผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สาม ารถใช้ภ าษาในการ ดว้ ยความร้คู วามเขา้ ใจ ษ า โด ย และสังคม สื่อสารทั้งการพูด อ่าน และ ที่ ลึ ก ซ้ึ ง ใน ก า ร จั ด วามรเู้ ดมิ เขยี นได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ การศึกษาในรูปแบบ ส ร ร ค์ 3 . 3.มีความสามารถในการใช้ ต่างๆ ม รู้ ไ ป ใ ช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ นาองคก์ ร ส า ร ส น เท ศ ใน ก า ร ส่ื อ ส า ร การแสวงห าค วามรู้ด้วย ตนเอง และการสร้างสรรค์ ผ ล งา น ท า งวิ ช า ก า ร ใน รปู แบบต่างๆ
แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการ ความรบั ผิดชอบหลัก 1. ค จ รายวชิ า 02-121-712 การบรกิ ารวิชาการเชิงพ้นื ทข่ี องผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา 1 02-121-713 ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 02-131-604 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 02-141-608 นวตั กรรมการพฒั นาหลกั สตู ร 02-142-601 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั การชน้ั เรียน 02-311-601 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา 02-121-709 วทิ ยานพิ นธ์
47 รเรยี นรจู้ ากหลักสตู รส่รู ายวิชา (Curriculum Mapping) ก O ความรบั ผิดชอบรอง คณุ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ 6. ทักษะ จรยิ ธรรม ปญั ญา ความสัมพันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ในการ ระหว่าบคุ คล ตัวเลข บริหาร และความ การส่อื สาร การศกึ ษา รบั ผดิ ชอบ และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 234 1 2345123123123 1 2 O O O OOO O O O O OO O O O O O O O O O 47
48 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ระดบั หลกั สตู ร (PLO) และผลลัพธก์ ารเรยี นรรู้ ะดบั หลักสตู รย่อย (Sub PLO) ในตารางมคี วามหมายดังน้ี 1. PLO 1 สามารถประยกุ ตใ์ ช้องค์ความรูด้ า้ นการบรหิ ารการศกึ ษา ความรเู้ กย่ี วกับหลักและ ทฤษฎีการบริหารการศกึ ษา และสามารถนามาบรู ณาการองคค์ วามรู้ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มี ความเปน็ ผนู้ า มจี รรยาบรรณต่อวชิ าชีพทางการบริหารสถานศกึ ษา สามารถใหค้ าปรกึ ษา และมีแนวทางการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ Sub PLO 1.1 สามารถใช้องค์ความรู้ดา้ นการบรหิ ารการศึกษา มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มี ความเป็นผนู้ า มีจรรยาบรรณต่อวชิ าชีพทางการบริหารสถานศึกษา มีความรับผิดชอบต่อ ตัวเองและสงั คม Sub PLO 1.2 สามารถให้คาปรกึ ษาด้านการศึกษาในสถานศกึ ษาจากหลักการวิจัยและหลัก วิชาการ และมีแนวทางการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า และสามารถทางานเปน็ ทมี ได้ผู้อื่น 2. PLO 2 ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ ผลิตงานวจิ ัย และผลงานวชิ าการ มที ักษะการ วิเคราะห์ปญั หา และสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในการวจิ ัยทางบรหิ ารการศกึ ษาได้ และสามารถ นาผลงานวิจัยไปตพี ิมพเ์ ผยแพร่ตอ่ สาธารณชนได้ Sub PLO 2.1 สามารถวิเคราะห์ปัญหา นาความรู้มาผลติ งานวิจยั และผลงานวิชาการทาง บรหิ ารการศึกษา Sub PLO 2.2 สามารถจัดการเรียนรทู้ างบริหารการศกึ ษา มีความเป็นผู้นาในทางวิชาการ หรอื วชิ าชพี ด้านการบริหารการศกึ ษา Sub PLO 2.3 สามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการวจิ ยั ทางบริหารการศกึ ษาได้ และสามารถนา ผลงานวิจยั ไปตพี ิมพ์เผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ 3. PLO 3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการบริหารการศึกษา ท่ีมี ภาวะผ้นู าทางการศึกษา มีวสิ ัยทัศน์ในการบรหิ ารการศึกษา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับ ใช้ในการบริหารสถานศกึ ษา Sub PLO 3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการศึกษาการ บรหิ ารการศึกษาของสถานศกึ ษา Sub PLO 3.2 มีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในการบรหิ ารสถานศกึ ษา
49 4. PLO 4 สามารถกาหนดนโยบาย แผน และกลยุทธ์ทางการบริหารการศึกษา มีความเข้าใจ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลง และสามารถยืนหยัดและโต้แย้งตามหลัก วิชาการ สรา้ งแรงจงู ใจ และโน้มนา้ วผฟู้ งั ได้ Sub PLO 4.1 สามารถกาหนดนโยบาย แผน และกลยุทธ์ทางการบริหารการศึกษาให้ เปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร และนโยบายของชาตไิ ด้ Sub PLO 4.2 สามารถยนื หยัดและโตแ้ ยง้ ตามหลกั วชิ าการ สรา้ งแรงจูใจ และโน้มน้าวผฟู้ งั ได้ Sub PLO 4.3 มีความเข้าใจกฎ ระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ และของกระทรวง ศึกษาธิการท่เี ปลย่ี นแปลง
แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบ และผลลัพธก์ ารเรียนรรู้ ะดับหลกั สูตรย่อย (Su ความรับผดิ ชอบหลกั รายวิชา PLO1 02-121-501 พนื้ ฐานทางการศึกษา Sub PLO Sub PLO 1.1 1.2 02-121-601 ระเบียบวิธวี ิจัย 02-121-710 กระบวนการทางการศึกษา 02-121-608 ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ทางการบรหิ าร การศกึ ษา 02-121-602 หลกั การและทฤษฎกี ารบริหารการศกึ ษา 02-121-603 นโยบายและการวางแผนเชงิ กลยุทธท์ าง การศกึ ษา 02-121-604 การพฒั นาผ้บู ริหารการศกึ ษามืออาชีพ 02-121-606 สัมมนาทางการบริหารการศึกษา 02-121-607 การวจิ ยั ทางการบริหารการศกึ ษา 02-121-609 หลกั การและกระบวนการบรหิ าร สถานศกึ ษา
50 บผลลัพธ์การเรียนรู้ระดบั หลกั สูตร (PLO ) ub PLO) สู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) ก O ความรบั ผิดชอบรอง Sub PLO PLO4 Sub PLO 4.1 4.3 Sub PLO PLO2 PLO3 Sub PLO 2.1 4.2 Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO 2.2 3.3 3.1 3.2
แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบ และผลลพั ธ์การเรียนรู้ระดับหลกั สูตรย่อย (Su ความรบั ผดิ ชอบหลัก รายวชิ า PLO1 02-121-605 การพฒั นาองค์การและทรพั ยากรมนษุ ย์ Sub PLO Sub PLO ทางการศกึ ษา 1.1 1.2 02-121-711 การนิเทศการศึกษา 02-121-712 การบริการวิชาการเชิงพื้นท่ีของผบู้ รหิ าร สถานศึกษา 02-121-713 ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมของผู้บริหาร สถานศกึ ษา 02-131-601 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 02-141-608 นวตั กรรมการพฒั นาหลักสูตร 02-142-601 นวตั กรรมการจัดการเรยี นรแู้ ละการ จดั การชน้ั เรยี น 02-311-601 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทาง การศกึ ษา 02-121-709 วทิ ยานพิ นธ์
51 บผลลัพธก์ ารเรียนรู้ระดบั หลกั สูตร (PLO ) Sub PLO PLO4 Sub PLO ub PLO) สู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) 4.1 4.3 Sub PLO ก O ความรบั ผิดชอบรอง 4.2 PLO2 PLO3 Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO 2.1 2.2 3.3 3.1 3.2
52 หมวดที่ 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมนิ ผลนักศึกษา 1. กฎระเบยี บหรือหลกั เกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เร่ืองเกณฑ์การวัดและประเมินผล การศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ง) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนกั ศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ขณะนักศึกษายังไมส่ าเร็จการศึกษา - การทวนสอบในระดับรายวิชา ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลทุกรายวิชาและให้ นกั ศกึ ษาประเมินการเรยี นการสอน - มีการตรวจสอบความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็นไปตามแผนการสอน 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรหู้ ลงั นักศกึ ษาสาเรจ็ การศกึ ษา - มีการประเมินการได้งานทาของมหาบัณฑิต และมีการตรวจสอบจากผู้ประกอบการ โดยการ สัมภาษณ์หรือการส่งแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในมหาบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา และ ปฏิบตั ิหน้าท่ีดา้ นการบริหารการศึกษา ร่วมกับความเห็นจากผ้ทู รงคณุ วฒุ ิภายนอกหรืออาจารย์พเิ ศษที่มา ประเมนิ หลกั สูตร 3. เกณฑก์ ารสาเร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตร 3.1 ศึกษารายวิชาครบตามที่กาหนดในหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาตาม หลกั สูตรไม่ตา่ กวา่ 3.00 จากระบบ 4.00 ระดับคะแนน หรือเทยี บเทา่ 3.2 เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยกรรมการสอบท่ีคณบดีแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สาหรับผลงานวิทยานิพนธ์ หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ ตอ้ งได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ี มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการหรือนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการ โดยบทความที่นาเสนอฉบับ สมบูรณ์ (Full Paper) ได้รบั การตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) อย่าง น้อย 1 เรื่อง ทั้งน้ีข้อกาหนดอ่ืนใด จะต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เร่ืองการตีพมิ พบ์ ทความวิจัยเพอื่ สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา 3.3 สอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ โดยให้เป็นไปตามประกาศ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 3.4 เกณฑ์อื่นใด ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม
53 หมวดท่ี 6 การพฒั นาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรบั อาจารย์ใหม่ 1.1 จดั หลักสตู รการอบรมสาหรับอาจารย์ ซ่ึงจัดขน้ึ ในระดับคณะหรือมหาวิทยาลยั 1.2 ใหอ้ าจารยใ์ หมส่ งั เกตการณ์การสอนของอาจารยท์ ่มี ีประสบการณ์ 1.3 จดั ระบบอาจารยพ์ ่ีเลี้ยงแก่อาจารยใ์ หม่ 1.4 จัดปฐมนเิ ทศอาจารยใ์ หม่ ในเรื่องบทบาท หนา้ ที่ ความรับผิดชอบ 2. การพัฒนาความรแู้ ละทักษะใหแ้ กอ่ าจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจดั การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 ส่งเสริมให้เข้าร่วมอบรมเก่ียวกับวิธีการสอน เทคนิคการสอน การวัดและประเมินผลใน ระดบั บัณฑิตศึกษา 2.1.2 สนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมอบรมสัมมนาเชิงวิชาการในด้านการสอน การวัดและ ประเมนิ ผล เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะความคิดเหน็ กับผู้สอนทมี่ คี วามเชี่ยวชาญ 2.1.3 การศกึ ษาดูงานด้านการบริหารการศกึ ษาทั้งในและตา่ งประเทศ 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดา้ นตา่ งๆ 2.2.1 สนับสนุนให้อาจารยท์ างานวิจยั ควบค่กู ับงานสอนอย่างเหมาะสม 2.2.2 สนับสนุนให้อาจารย์ได้มีส่วนร่วมในการเสนอผลงาน เข้าร่วมประชุมในการประชุมทาง วิชาการทเ่ี กี่ยวข้องกับการบริหารการศกึ ษา
54 หมวดท่ี 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สูตร 1. การกากบั มาตรฐาน หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา กาหนดการกากับมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาด้วยการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ที่สานักงานปลัดกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กาหนดไว้ และการบริหารจัดการหลักสูตรดาเนินการตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2558 คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ได้มอบหมายให้รองคณบดีฝ่ายวชิ าการและวิจยั ทาหน้าทีก่ ากับดแู ล การบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ในภาพรวมผ่านทางคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร ซ่ึงมีการจัดประชุมทุกเดือนเพื่อติดตามประเมินผลการดาเนินงาน และ พิจารณาปรบั ปรุงแกไ้ ขการดาเนนิ การหรือพฒั นาหลกั สตู ร 2. บณั ฑติ หลักสูตรฯ มีการติดตามคุณภาพของบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ หรือผลการเรียนรู้ที่ คาดหวังของหลักสูตร โดยพิจารณาจากข้อมูลผลลัพธ์การเรียนรู้ ผลการสอบประมวลความรอบรูแ้ ละการ มีงานทา นอกจากนัน้ ยงั ตดิ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและสงั คม หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ทาการสารวจความพึงพอใจ และความคาดหวังของผู้ใช้บัณฑิตเป็นประจาทุกปี และแจ้งผลการสารวจให้กับคณะกรรมการบริหาร หลกั สูตรไดร้ บั ทราบเพี่อเป็นข้อมูลสาหรับการปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สตู ร และการจดั การเรียนการสอน 3. นักศึกษา หลักสูตรให้ความสาคัญกับการรับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตร การส่งเสริมพัฒนานักศึกษา และผลลพั ธ์ท่เี กดิ ขึน้ กบั นกั ศึกษา 3.1 หลักสูตรกาหนดคุณสมบัติของนักศึกษาในการคัดเลือกจากผลคะแนนการสอบเข้าศึกษาต่อ ในหลักสูตร 3.2 หลกั สตู รสง่ เสริมพัฒนานกั ศึกษา (1) กาหนดให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมท่ีสามารถให้เกิดการเรียนรู้และ พัฒนาศกั ยภาพทีจ่ าเป็นใหก้ ับนกั ศึกษา โดยเน้นทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (2) มีระบบสนับสนุน และการให้คาแนะนานักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา แต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการให้แก่นักศึกษาทุกคน โดยอาจารย์ จะแจง้ วันและเวลาท่ีจะขอรบั คาปรึกษาไว้หรือผ่านชอ่ งทางอื่นๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือให้นักศึกษาท่ีมีปัญหาใน การเรยี นหรือปัญหาอน่ื ๆ สามารถขอรบั คาปรึกษาจากอาจารย์ทปี่ รึกษาทางวิชาการได้ (3) มีระบบการอุทธรณ์ของนักศึกษาสาหรับนักศึกษาที่ต้องการอุทธรณ์หรือมีเรอื่ งร้องเรียน ทั้งเรื่องทั่วไปหรือผลการประเมิน สามารถติดต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ที่ทาหน้าที่ดูแลการจัดการ เรยี นการสอนรายวชิ านัน้ ๆ
55 3.3 หลักสูตรมีการติดตามข้อมูลที่แสดงผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนกับนักศึกษา ได้แก่ อัตราการคงอยู่ของ นกั ศกึ ษา อตั ราการสาเรจ็ การศกึ ษา และความพงึ พอใจตอ่ หลกั สูตร 4. อาจารย์ หลักสูตรให้ความสาคัญกับคุณภาพของอาจารย์ จึงมีนโยบายและแผนระยะยาวในการรับ อาจารย์ใหม่ การแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตร การมีส่วนร่วมของอาจารย์ในการวางแผน การติดตาม และทบทวนหลักสูตร การบริหาร การสง่ เสริมและการพัฒนาอาจารย์ 4.1 การรับอาจารย์ใหม่ มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย โดยผู้สมัครจะต้อง สาเรจ็ การศกึ ษาไมต่ า่ กวา่ ปรญิ ญาเอก ทางด้านการบริหารการศึกษาและสาขาที่เกยี่ วข้อง 4.2 การแตง่ ตัง้ อาจารยพ์ เิ ศษ มกี ารเชิญอาจารย์พิเศษหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาร่วมสอนในบางรายวิชา และบางหัวข้อ ท่ตี ้องการความเชยี่ วชาญเฉพาะหรอื ประสบการณจ์ รงิ สูง 4.3 การมีส่วนรว่ มของคณาจารย์ในการวางแผน การตดิ ตามและการทบทวนหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ประจามีการประชุมร่วมกันในการวางแผนการจัดการ เรียนการสอน การประเมินผล ติดตามการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือ นาไปสกู่ ารปรับปรุงหลกั สตู ร 4.4 การบริหาร การส่งเสรมิ และการพัฒนาอาจารย์ (ดูหมวดที่ 6 การพฒั นาอาจารย์) 5. หลกั สตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผู้เรยี น 5.1 ระบบการจัดการเรยี นการสอน 5.1.1 จัดประชุม ปรึกษาหารือเพ่ือเตรียมความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ท่ีมีคุณสมบัติตรงตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรวี า่ ด้วยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ.2559 5.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบการเรียนการสอนในแต่ละวิชา จะต้องจัดทาเอกสารรายละเอียด ของรายวิชาและเตรยี มความพร้อมในดา้ นอุปกรณ์การเรยี นการสอนและเอกสารประกอบการเรยี น 5.1.3 การจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาต้องประกอบด้วย 3 ส่วน โดยแบ่งสัดส่วน ตามความเหมาะสมของแต่ละรายวิชา ได้แก่ การบรรยาย และ/หรือปฏิบัติ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และการอภิปรายปัญหา 5.1.4 แตล่ ะวิชามีการประเมินความเขา้ ใจและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อวิชาน้นั ดงั น้ี การประเมินความรู้กอ่ นเรียน - งานท่ีได้รบั มอบหมาย ไดแ้ ก่ รายงาน และ/หรอื การเสนอผลงาน - การประเมินความรู้ ไดแ้ ก่ การสอบข้อเขยี น และ/หรอื การสอบปากเปลา่
56 5.1.5 ในบางรายวิชาเปิดโอกาสให้เชิญบุคคลภายนอกท่ีมีประสบการณ์วิชาชีพในสาขาท่ี เก่ียวขอ้ งมาร่วมสอน รวมทง้ั นานกั ศกึ ษาไปศกึ ษาดงู านทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 5.2 ระเบียบการศกึ ษา การวดั ผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา 5.2.1 การวัดและประเมินผลการศึกษา โดยปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบรุ วี ่าด้วยการศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2559 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ภาคผนวก ค) 5.2.2 การสอบวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2559 และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ภาคผนวก ค) 5.2.3 การดาเนินการเมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนต้องรายงานผลการดาเนิน งานของแต่ละรายวิชา 5.3 การประเมนิ การเรยี นการสอน 5.3.1 เมอื่ สิน้ สุดภาคการศกึ ษา คณะดาเนนิ การรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรในภาพรวม 5.3.2 ดาเนินการประเมินผูส้ อน โดยผ้เู รียนในแตล่ ะรายวชิ า 5.3.3 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดประชุมอาจารย์เพ่ือวิเคราะห์ผลการดาเนินการของหลักสูตร ประจาปี เพ่ือแก้ไขและปรบั ปรุงหลกั สูตรเลก็ นอ้ ยให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน 5.3.4 แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรที่มีจานวนและคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ของ สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อปรับปรุงหลักสูตรอย่างน้อย ทุก 5 ปี 6. บุคลากรและสิ่งสนับสนนุ การเรียนการสอน 6.1 การกาหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ มีการกาหนดคุณสมบัติของบุคลากรสายสนับสนุนให้มีวุฒิและความรู้ตรงตามภาระงานท่ี รบั ผิดชอบ 6.2 การเพ่ิมทักษะความรเู้ พอ่ื การปฏบิ ัตงิ าน มีการสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมเฉพาะทางในสาขาที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์การ บริหารการศกึ ษา สนับสนนุ ให้บุคลากรไดม้ ีส่วนร่วมในโครงการบริการทางวิชาการ ตลอดจนโครงการวจิ ัย ของคณะ 6.3 สิ่งสนับสนุนการเรยี นการสอน 6.3.1 ห้องเรียนและหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมเี พยี งพอตอ่ ความต้องการของนกั ศึกษา 6.3.2 เครื่องมือและอุปกรณ์เพียงพอสาหรับการจัดการเรียนการสอน เช่น อุปกรณ์โสตทัศน์ กลอ้ งถ่ายรูป และคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ 6.3.3 มกี ารให้บริการระบบอนิ เตอรเ์ น็ตไร้สาย (WiFi) ให้กับนกั ศึกษา 6.3.4 มีห้องสาหรับใช้ในการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา โดยจัดให้มีหนังสือ ตารา เอกสาร ต่างๆ ท่นี กั ศกึ ษาสามารถคน้ ควา้ เพิม่ เติม
57 6.3.5 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีตารา และสื่อต่างๆ สาหรับ นกั ศึกษา สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ 7. ตวั บ่งช้ีผลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicators) ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งช้ีทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเน่ือง 2 ปีการศึกษา เพ่ือ ติดตามการดาเนินการตาม TQF ต่อไป ทัง้ นี้เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1-5 และ อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 ของตัวบง่ ชผี้ ลการดาเนินงานที่ระบไุ วใ้ นแต่ละปี ดชั นบี ง่ ช้ีผลการดาเนินงาน ปที ่ี 1 ปที ี่ 2 ปีที่ 3 ปีท่ี 4 ปที ี่ 5 1. อาจารย์ประจาหลกั สูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มสี ว่ น X X X X X รว่ มในการประชมุ เพ่ือวางแผน ติดตามและทบทวนการ ดาเนินงานหลกั สูตร 2. มรี ายละเอยี ดของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.2 ท่ี XXXXX สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา 3. มรี ายละเอยี ดของรายวชิ า และรายละเอยี ดของ XXXXX ประสบการณภ์ าคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยา่ งน้อยก่อนการเปิดสอนในแตล่ ะภาคการ ศกึ ษา ใหค้ รบทกุ รายวชิ า 4. จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า และ XXXXX รายงานผลการดาเนินการประสบการณภ์ าคสนาม (ถ้าม)ี ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วนั หลงั สิ้นสุด ภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทกุ รายวชิ า 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ X X X X X มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสง้ิ สดุ ปีการศกึ ษา 6. มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐาน X X X X X ผลการเรยี นร้ทู ่ีกาหนดใน มคอ.3 และ มคอ. 4 (ถ้าม)ี อย่างน้อยรอ้ ยละ 25 ของรายวิชาที่เปดิ สอนในแตล่ ะปี การศึกษา 7. มีการพฒั นา/ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน กลยุทธ์ XXXX การสอน หรือการประเมินผลการเรยี นรู้ จากผลการ ประเมนิ การดาเนินงานทีร่ ายงานใน มคอ.7 ปีที่แลว้
58 8. อาจารย์ใหม่ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนเิ ทศหรือคาแนะนา X X X X X ด้านการจัดการเรยี นการสอน 9. อาจารยป์ ระจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวชิ าการ XXXXX และ/หรอื วชิ าชีพอยา่ งนอ้ ยปีละหน่ึงครั้ง 10. จานวนบุคลากรสนบั สนนุ การเรยี นการสอนไดร้ ับการ X X X X X พัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ตอ่ ปี 11. ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑติ XXXX ใหม่ทมี่ ีต่อคุณภาพหลกั สตู ร เฉลย่ี ไม่น้อยกวา่ 3.5 จาก คะแนน 5.0 12. ระดบั ความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ที่มตี อ่ บณั ฑิตใหม่ XXX เฉล่ยี ไมน่ ้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 รวมตัวบ่งช้บี งั คบั ท่ีต้องดาเนินการ (ขอ้ 1-5) ในแตล่ ะปี 5 5 5 5 5 รวมตัวบง่ ช้ีในแตล่ ะปี 9 11 12 12 12
59 หมวดที่ 8 การประเมนิ และปรับปรงุ การดาเนินการของหลกั สตู ร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธก์ ารสอน - ช่วงก่อนสอนมีการประเมินกลยุทธ์การสอนโดยอาจารย์ผู้สอนปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้าน การบริหารการศึกษา - ช่วงหลังการสอนมกี ารวิเคราะหผ์ ลการประเมินการสอนโดยนักศกึ ษา 1.2 การประเมนิ ทกั ษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยุทธก์ ารสอน การประเมนิ ทกั ษะดงั กล่าว ทาโดย - ประเมนิ โดยนกั ศกึ ษาในแต่ละรายวชิ า - ประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน จากการสังเกตในช้ันเรียนถึงวิธีสอน กิจกรรมงานท่ีได้รับ มอบหมายโดยผูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตรหรือประธานหลักสูตรหรอื คณะผ้สู อน - การสังเกตการณ์ของผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือประธานหลักสูตรหรือคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม มกี ารดาเนินการดงั นี้ - ประเมินจากนักศึกษาปีสดุ ทา้ ยหรือบณั ฑิตใหม่ โดยใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ - ประเมินจากผู้ใช้บณั ฑิตหรือผูม้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งโดยประเมนิ ความพึงพอใจต่อคุณภาพของบัณฑติ 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลกั สตู ร มีการประเมินผลการดาเนินงานตามหลักสูตร ตามดัชนีตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานท่ีระบุในหมวด ที่ 7 ข้อ 7 โดยคณะกรรมการการประเมินที่ได้รับการแต่งต้ังจากมหาวิทยาลัยฯ และจากหน่วยงาน ภายนอก เกณฑก์ ารประเมินตามตวั บ่งชี้ผลการดาเนินงาน (ระดบั ) คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มกี ารดาเนนิ การครบ 5 ข้อ มีการดาเนินการครบ 7 ข้อ มีการดาเนินการครบ 9 ข้อ ตามตวั บง่ ชี้ผลการดาเนนิ งาน ตามตัวบง่ ชี้ผลการดาเนนิ งาน ตามตัวบ่งช้ผี ลการดาเนนิ งาน 4. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรบั ปรงุ หลกั สูตรและแผนกลยุทธก์ ารสอน - รวบรวมข้อเสนอแนะ ข้อมลู จากการประเมนิ ของนักศึกษา บัณฑิต ผใู้ ช้บณั ฑิต อาจารย์ผสู้ อน และผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก - วเิ คราะห์ทบทวนขอ้ มลู ขา้ งต้น โดยผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู รหรอื ประธานหลกั สูตร - ประชมุ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร พจิ ารณาทบทวน สรปุ ผลการดาเนินงานหลักสูตร เพอื่ วางแผน ปรับปรงุ หลักสูตรและแผนกลยทุ ธ์ต่อไป
61 ตารางเปรยี บเทียบหลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 และหลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 หัวขอ้ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2559 (เดมิ ) หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 (ใหม่) 1.ชื่อ หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ หลกั สูตร สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา แผน..ก...แบบ...ก2. แผน..ก...แบบ.ก2... 1. หมวดวชิ าบงั คับ 24 หนว่ ยกติ 1. หมวดวชิ าบังคับ 24 หนว่ ยกิต 2.โครงสร้าง 1.1 วชิ าบงั คบั ร่วม 6 หน่วยกิต 1.1 วชิ าเฉพาะไมน่ บั หนว่ ยกติ * 3 หนว่ ยกติ หลกั สูตร 1.2 วชิ าเฉพาะ 18 หนว่ ยกิต 1.2 วชิ าเฉพาะนบั หนว่ ยกติ 24 หน่วยกติ 2. หมวดวิชาเลอื ก 6 หน่วยกติ 2. หมวดวชิ าเลือก 6 หนว่ ยกิต 3. วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 3. วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมหนว่ ยกิตตลอดหลักสตู ร 42 หน่วยกิต รวมหนว่ ยกติ ตลอดหลักสตู ร 42 หน่วยกติ หมวดวชิ าบงั คับ 24 หน่วยกิต หมวดวชิ าบงั คับ 24 หน่วยกิต 1.1 วิชาบังคับรว่ ม 6 หนว่ ยกติ 1.1 วิชาเฉพาะไมน่ ับหนว่ ยกิต* 3 หนว่ ยกติ 02-132-601 ระเบยี บวิธีวจิ ัย 3(3-0-6) 02-121-608 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ทาง 3(90) 02-121-710 กระบวนการทางการศกึ ษา 3(3-0-6) การบรหิ ารการศึกษา 1.2 วิชาเฉพาะ 18 หนว่ ยกติ 1.2 วิชาเฉพาะนบั หนว่ ยกิต 24 หน่วยกติ 02-121-602 หลกั และกระบวนการบริหาร 3(3-0-6) (ปรบั คาอธบิ ายรายวชิ า*) สถานศึกษา 02-121-601 ระเบียบวธิ ีวจิ ัย 3(3-0-6) 02-121-603 นโยบายและการวางแผน 3(3-0-6) 02-121-710 กระบวนการทางการศกึ ษา 3(3-0-6) การศึกษาเชงิ กลยทุ ธ์ 02-121-602 หลักการและทฤษฎีการ 3(3-0-6) 3.รายวิชา 02-121-604 การพฒั นาผบู้ รหิ ารการศึกษา 3(3-0-6) บรหิ ารการศึกษา มืออาชีพ 02-121-603 นโยบายและการวางแผน 3(3-0-6) 02-121-606 สัมมนาทางการบรหิ ารการ 3(3-0-6) เชงิ กลยุทธ์ทางการศกึ ษา ศกึ ษา 02-121-604 การพฒั นาผบู้ รหิ ารการศึกษา 3(3-0-6) 02-121-607 การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการ 3(3-0-6) มอื อาชีพ ศึกษา 02-121-606 สัมมนาทางการบริหารการศกึ ษา 3(3-0-6) 02-121-608 ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ทาง 3(90) 02-121-607 การวจิ ัยทางการบรหิ ารการ 3(3-0-6) การบริหารการศึกษา ศึกษา (เพ่ิมรายวิชา) 02-121-609 หลักการและกระบวนการบรหิ าร 3(3-0-6) สถานศกึ ษา
62 หวั ข้อ หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2559 (เดิม) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564 (ใหม)่ หมวดวชิ าเลอื ก 6 หน่วยกิต หมวดวชิ าเลือก 6 หน่วยกติ 02-121-605 การพัฒนาองคก์ ารและ 3(3-0-6) (ปรบั ช่ือและคาอธิบายรายวชิ า) ทรพั ยากรมนุษย์ 02-121-605 การพฒั นาองค์การและ 3(3-0-6) 02-121-711 การนิเทศการศกึ ษา 3(3-0-6) ทรพั ยากรมนุษยท์ างการศึกษา 02-121-712 การบรกิ ารวิชาการเชิงพื้นท่ี 02-121-711 การนิเทศการศกึ ษา 3(3-0-6) ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา 3(3-0-6) 02-121-712 การบริการวิชาการเชิงพืน้ ท่ี 3(3-0-6) 02-121-713 ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมของ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ผ้บู ริหารสถานศึกษา 3(3-0-6) 02-121-713 ความรับผิดชอบตอ่ สงั คมของ 3(3-0-6) 02-131-601 การวัดและประเมนิ ผล ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา การเรียนรู้ 3(2-2-5) 02-131-604 การวดั ผลและประเมินผล 3(2-2-5) 02-141-607 การสร้างและการพฒั นา การเรียนรู้ หลกั สตู ร 3(2-2-5) 02-141-608 นวตั กรรมการพฒั นาหลักสตู ร 3(2-2-5) 02-142-601 การจดั การเรียนรู้และการจัด 02-142-601 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) การช้นั เรยี น 3(2-2-5) และการจัดการชนั้ เรียน 02-311-601 นวัตกรรมและเทคโนโลยี 02-311-601 นวัตกรรมและเทคโนโลยี 3(2-2-5) สารสนเทศทางการศกึ ษา 3(2-2-5) สารสนเทศทางการศึกษา วิทยานพิ นธ์ 12 หนว่ ยกติ วทิ ยานพิ นธ์ 12 หน่วยกิต 02-121-709 วิทยานพิ นธ์ 12(0-0-36) 02-121-709 วทิ ยานิพนธ์ 12(0-0-36)
63 ภาคผนวก ก คาสง่ั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เรื่อง แต่งตงั้ คณะกรรมการการจัดทาหลกั สตู ร ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2564)
64
65
66 ภาคผนวก ข ประวตั แิ ละผลงานทางวิชาการ - อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชา การบรหิ ารการศึกษา - อาจารย์ประจาหลักสตู ร หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ า การบริหารการศึกษา - อาจารยป์ ระจา หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ าร การศกึ ษา - อาจารยพ์ ิเศษ หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ าร การศกึ ษา
67 ประวัติ และผลงานทางวิชาการ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร / อาจารยป์ ระจาหลักสูตร หลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา 1. ช่อื – นามสกลุ นางพมิ ลพรรณ เพชรสมบตั ิ 2. ตาแหนง่ ทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ 3. สงั กัดหนว่ ยงาน ภาควชิ าการศึกษา คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคธัญบุรี 4. ท่อี ยู่ 39 หมู่ 1 ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี 5. ประวัติการศกึ ษา ปีที่จบ วุฒิการศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัย 2555 ปร.ด. บริหารการศกึ ษาและภาวะผู้นา มหาวทิ ยาลยั เซนต์จอหน์ 2551 ศษ.ม. การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช 2545 ศษ.บ. คณติ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน พ.ศ. 2558 – ปจั จุบนั อาจารยป์ ระจาหลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควชิ าการศกึ ษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 7. ผลงานทางวชิ าการทีไ่ ดร้ ับการตีพมิ พเ์ ผยแพร่ 7.1 งานวิจัย - บทความวิจยั เผยแพร่ในรปู แบบบทความวจิ ัยลงในวารสารทางวิชาการ 1. ศรัญญา น้อยพมิ าย และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2563). ทักษะการบริหารของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 2. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลัยปทมุ ธานี, 12(1), มกราคม – มิถนุ ายน 2563, น. 115-129. 2. ธงชัย ตาพาลี และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั .ิ (2563). ภาวะผ้นู าการเปลีย่ นแปลงของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 4. วารสาร มจร พทุ ธปัญญาปริทรรศน์, 5(2), พฤษภาคม – สงิ หาคม 2563, น. 89-97. 3. สิทธิชัย อุตทาสา และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั .ิ (2563). การมสี ว่ นรว่ มของครูในการบรหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 4. วารสาร มจร พุทธปัญญาปรทิ รรศน์, 5(2), พฤษภาคม – สงิ หาคม 2563, น. 98-108.
68 4. ณัฐธีรา มีจันทร์ และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ. (2563). สมรรถนะผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในโครงการโรงเรยี น ร่วมพัฒนา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน. วารสาร มจร พทุ ธปญั ญา ปรทิ รรศน์, 5(2), พฤษภาคม – สิงหาคม 2563, น. 109-116. 5. พสั วีพิชญ์ ศลิ าสวุ รรณ และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2563). การทางานเปน็ ทีมของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุร.ี วารสารวิชาการมหาวิทยาลยั ปทุมธานี, 12(1), มกราคม – มิถนุ ายน 2563, น. 130-145. 6. อริสราภรณ์ แสงเพ็ชร์ และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ. (2563). แนวทางการบริหารงานวชิ าการของผ้บู รหิ าร สถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วารสารวชิ าการมหาวิทยาลยั ปทมุ ธานี, 12(1), มกราคม – มถิ ุนายน 2563, น. 146-153. 7. วรญั ญา หามา และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั .ิ (2563). คุณลกั ษณะของผูบ้ รหิ ารศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ สงั กัด องค์การบริหารส่วนตาบล จงั หวัดนครนายก. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลัยปทมุ ธาน,ี 12(1), มกราคม - มถิ นุ ายน 2563, น. 154-162. 8. เตือนใจ สนุ ุกล และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2563). ภาวะผู้นาเชงิ สร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วารสาร มจร พทุ ธปญั ญาปริทรรศน์, 5(2), พฤษภาคม – สิงหาคม 2563, น. 162-171. 9. กัลยาณี สลี ารักษ์ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัต.ิ (2563). หลกั ธรรมาภบิ าลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 28. วารสาร มจร พทุ ธปัญญาปริทรรศน์, 5(2). พฤษภาคม – สิงหาคม 2563, น.172-184. 10. วิภาดา สารมั ย์ และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2563). การบริหารงานบคุ คลของผู้บริหารสถานศกึ ษาใน เขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธาน.ี วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลัยปทุมธานี, 12(1), มกราคม – มิถุนายน 2563, น. 19-25. 11. อารรี ตั น์ จีนแส และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2562). ภาวะผนู้ าแบบบารมีของผบู้ ริหารโรงเรยี น สังกัด สานักงานเขตพ้นื ที่ สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาสระบรุ ี เขต 1. วารสารบณั ฑติ ศกึ ษา ปรทิ รรศน์ วทิ ยาลัยสงฆน์ ครสวรรค,์ 8(2), พฤษภาคม - สิงหาคม 2562, น. 1-14. 12. เสาวนยี ์ สมบูรณศ์ ิโรรตั น์ และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2562). การศึกษาภาวะผู้นาเชงิ สรา้ งสรรคข์ อง ผู้บริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาปทมุ ธานี เขต 2. วารสาร บัณฑติ ศึกษาปริทรรศน์ วทิ ยาลัยสงฆน์ ครสวรรค์, 8(2), พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562, น. 15-30. 13. ปรมาภรณ์ สนธิ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2562). ทักษะการบริหารของผบู้ ริหารมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี จังหวดั ปทุมธานี. วารสารบณั ฑิตศกึ ษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆ์ นครสวรรค์, 7(1), มกราคม - เมษายน 2562. น. 47-60. 14. อาภาพร ฝ่ายสกุล และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ. (2562). พฤติกรรมเชิงจรยิ ธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สงั กดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วารสารบณั ฑิตศึกษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆ์ นครสวรรค์, 7(1), มกราคม - เมษายน 2562. น. 401- 412.
69 15. พระมหาชตุ ิภคั อภนิ นโฺ ท และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ. (2561). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและ บทบาทองค์กรทางศาสนาพุทธ คริสต์. วารสารบัณฑติ ศึกษาปรทิ รรศน์ วิทยาลยั สงฆ์นครสวรรค์, 6(1), มกราคม – เมษายน 2561. น. 79-89. 16. พมิ ลพรรณ เพชรสมบัต.ิ (2561). องค์ประกอบภาวะผู้นาทสี่ ่งผลต่อประสิทธผิ ลการบริหารสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์. วารสารสนั ติศกึ ษาปริทรรศน์ มจร., 6(2), เมษายน – มถิ ุนายน 2561. น. 45-60. 17. วราภรณ์ พรมนลิ และ พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ. (2561). ปัจจัยการบริหารท่ีส่งผลตอ่ ผลลัพธข์ องโรงเรยี น มธั ยมศกึ ษา ในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล สงั กดั สานักงานศึกษาธิการจังหวดั ปทมุ ธานี. วารสารบณั ฑิตศึกษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์, 6(1), มกราคม – เมษายน 2561. น. 119- 129. 18. นติ ตมิ าพร แซ่เฮง และ พิมลพรรณ เพชรสมบัต.ิ (2561). ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาวะผู้นาการ เปล่ียนแปลงของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษากับการเสริมสรา้ งประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการใน สถานศึกษาสังกัดสานักงานศึกษาธิการจงั หวัดปทุมธาน.ี วารสารบณั ฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัย สงฆ์นครสวรรค์, 6(1), มกราคม – เมษายน 2561. น. 91-104. 19. พรรษมน พินทุสมติ และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2561). การปฏิบัตงิ านดา้ นการบรหิ ารวชิ าการของ ผู้บริหารถานศกึ ษาระดับประถมศึกษา ในจังหวดั ปทมุ ธานี. วารสารบณั ฑิตศึกษาปรทิ รรศน์ วทิ ยาลยั สงฆ์นครสวรรค์, 6(1), มกราคม – เมษายน 2561. น. 131-144. 20. พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2560). ทักษะการบรหิ ารของผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวดั ปทมุ ธานี. วารสารบณั ฑติ ศกึ ษาปริทรรศน์ วทิ ยาลยั สงฆ์นครสวรรค์, 5(2).พฤษภาคม 2560 – สิงหาคม 2560. น. 1-12. เผยแพร่ในรูปแบบบทความวิจยั ลงในประชุมวิชาการระดับชาติ 1. พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2561). การนาความรู้ไปใช้ของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาหลักสูตรศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลธญั บรุ ี. รายงานการประชมุ การประชุมวิชาการระดบั ชาตมิ หาวทิ ยาลัยทักษณิ คร้งั ท่ี 28 ประจาปี 2561, 8-9 พฤษภาคม 2561. น. 314-320. 2. ชุตมิ า ถาวรแกว้ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2560). การดาเนนิ งานตามระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ทสี่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ิตนกั เรียนของสถานศึกษาในจงั หวัดปทุมธานี สังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 4 ปทมุ ธานี-สระบุรี). รายงานการประชุม วิชาการระดับชาติ คร้งั ท่ี 3 และระดับนานาชาติ คร้งั ที่ 1 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีสยาม วนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2560. น. OSE82- OSE90 3. จรยิ า แตงออ่ น และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2560). ความสมั พันธ์ระหว่างรปู แบบการนเิ ทศภายใน สถานศึกษากับประสทิ ธภิ าพการสอนของครูในโรงเรียนสังกัดสานกั งานเขตหนองจอก กรงุ เทพ
70 มหานคร. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 3 และระดบั นานาชาติ ครั้งท่ี 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม วันท่ี 27 กรกฎาคม 2560. น. OSE56-OSE65. 4. สงกรานต์ เรอื งประทปี และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั .ิ (2560). การบรหิ ารหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 4. รายงานการประชุม วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 3 และระดบั นานาชาติ ครง้ั ที่ 1 วิทยาลยั เทคโนโลยีสยาม วันที่ 27 กรกฎาคม 2560. น. OSE305- OSE313 5. สรุ ิยัน วะนา และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั .ิ (2560). ความสมั พนั ธ์ของภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกบั การ เปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ในโรงเรยี นเครอื ขา่ ยท่ี 19 สานักงานเขตบางเขน สานกั การศกึ ษา สังกดั กรงุ เทพมหานคร. รายงานการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 3 และระดบั นานาชาติ ครัง้ ท่ี 1 วิทยาลยั เทคโนโลยีสยาม วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2560. น. OSE328-OSE335. 6. พมิ ลพรรณ เพชรสมบัติ และคณะ. (2560). การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาเพ่ือ เสรมิ สร้างเอกลักษณ์การผลติ บัณฑติ มืออาชพี ตามตัวชว้ี ดั ประกันคุณภาพการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บรุ .ี รายงานการประชุมวิชาการนวตั กรรมเพ่ือการเรยี นรแู้ ละส่งิ ประดษิ ฐ์ 2560 วันท่ี 2- 4 เมษายน 2560. น. 537-546.
71 ประวตั ิ และผลงานทางวชิ าการ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร / อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา 1. ชื่อ – นามสกลุ นางสาวตอ้ งลกั ษณ์ บญุ ธรรม 2. ตาแหนง่ ทางวชิ าการ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ 3. สังกัดหน่วยงาน ภาควิชาการศกึ ษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคธญั บุรี 4. ที่อยู่ 39 หมู่ 1 ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 5. ประวัติการศกึ ษา ปที ่ีจบ วฒุ กิ ารศกึ ษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัย 2554 ปร.ด. การบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั สยาม 2547 กศ.ม. การบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2541 ค.บ. วิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจาหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ าการศึกษา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 7. ผลงานทางวิชาการทไี่ ดร้ ับการตีพิมพเ์ ผยแพร่ 7.1 งานวจิ ัย - บทความวิจัย เผยแพรใ่ นรูปแบบบทความวจิ ยั ลงในประชุมวชิ าการระดับนานาชาติ 1. Boontham, T. and Boonsri, S. (2020). The Comparison of Industrial Characteristics of Rajamangala University of Technology Thanyaburi Students. Proceedings of the Asian Conference on Education & International Development, 23-26 March 2020. pp. 275-282. 2. Boonsri, S. and Boontham, T. (2020). Factors Affecting Industrial Behaviors of the Students of Rajamangala University of Technology Thanyaburi. Proceedings of the Asian Conference on Education & International Development, 23-26 March 2020. pp. 231-242. 3. Boontham, T. (2018). A Study of Needs of Enhancing Vocational Teachers’ Professional Competencies in THAILAND. International Conference on Education and E- Learning (ICEE-18). 1January, 2018. Berlin GERMANY. Accepted. pp. 41-44.
72 เผยแพร่ในรปู แบบบทความวจิ ัยลงในวารสารทางวชิ าการ 1. ศริ พิ ร เกษวทิ ย์ และ ต้องลักษณ์ บญุ ธรรม. (2563). ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การดาเนินงานตามตวั ช้วี ัดการประเมนิ แบบสมดุลของสถานศกึ ษาระดับประถมศึกษา จังหวัดปทมุ ธานี. วารสารมหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 39(2), มนี าคม - เมษายน 2562, น. 98-111. 2. ปยิ มาศ ตณั ฑะตะนัย และ ต้องลักษณ์ บญุ ธรรม. (2562). ความสุขในการเรยี นรู้ของนักเรียนเตรยี มทหาร สถาบนั วชิ าการ ป้องกนั ประเทศ. วารสารเกษมบัณฑติ (20), เมษายน –พฤษภาคม 2562, น 100-109. ฐาน TCI (1) 3. พิชติ ขาดี และ ต้องลักษณ์ บญุ ธรรม. (2562). ความตอ้ งการจาเปน็ ของการเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ าง วิชาชีพ สาหรับโรงเรยี นขนาดเล็ก จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(2). มนี าคม - เมษายน 2562, น. 67-78. 4. วาสนา ทองทวยี งิ่ ยศ และ ตอ้ งลักษณ์ บญุ ธรรม. (2562). ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ ทางวชิ าชพี ของครู ในสถานศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา จงั หวัดปทมุ ธานี. วารสารพัฒนาการเรียนการ สอน, 13(2), กรกฏาคม – ธันวาคม 2562, น 123-134. 5. กัญญณชั สมคั รกจิ และ ต้องลักษณ์ บุญธรรม. (2562). ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบทบาทของผบู้ รหิ ารกับ การจดั การเรยี นรู้สะเต็มศกึ ษาในสถานศึกษา วารสารครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม, 18(2), พฤษภาคม สงิ หาคม 2562, น.140-147. 6. จรุ รี ตั น์ บุญทอง และ ต้องลกั ษณ์ บญุ ธรรม. (2561). ความตอ้ งการจาเป็นการพัฒนาสมรรถนะหลกั ด้าน จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 3 จังหวดั นนทบรุ ี. วารสารมหาวิทยาลยั วิชาการศิลปากร, 38(2). พฤษภาคม -สิงหาคม 2561, น 15-34. 7. ตอ้ งลกั ษณ์ บญุ ธรรม และ อรณุ ี หงษศ์ ิรวิ ัฒน์. (2560). การพัฒนาการเรียนการสอนเพอ่ื ส่งเสรมิ คณุ ธรรม และจริยธรรมสาหรบั นักศึกษาครูในศตวรรษที่ 21.วารสารวิทยาลยั ดสุ ติ ธานี, 11(2), พฤษภาคม – สงิ หาคม 2560, น 220-235. 8. สริ ริ ัตน์ สังสทุ ธิ และ ตอ้ งลักษณ์ บญุ ธรรม. (2560). การบรหิ ารตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงท่สี ่งผล ตอ่ ความพรอ้ มส่ปู ระชาคมอาเซยี น สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธาน.ี วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยลงกรณ์, 11(2), พฤษภาคม – สงิ หาคม 2560, น. 169-178. 9. สุพชิ ชา กิจจสจั จา และ ต้องลกั ษณ์ บุญธรรม. (2560). กลยุทธก์ ารบริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสารเพอ่ื การศกึ ษา สาหรับสถานศึกษาระดับมธั ยมศึกษาขนาดใหญ่ จงั หวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการศิลปากร, 37(3), กันยายน - ธันวาคม 2560, น. 202-215. 10. ประวีณา ดาขนุ ทด และ ต้องลกั ษณ์ บุญธรรม. (2560). ความตอ้ งการจาเปน็ ของการบริหารเครือขา่ ย ชมุ ชนสัมพันธข์ องสถานศกึ ษาระดับประถมศึกษา สู่ประชาคมอาเซยี น จังหวดั ปทุมธานี. วารสารวิชาการ Veridian E–Journal, Silpakorn University : ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ, Vol 10 No 3 (2017), กันยายน – ธันวาคม 2560, น. 702-715.
73 11. ประวีณา โภควนิช และ ต้องลกั ษณ์ บญุ ธรรม. (2560). ความต้องการจาเปน็ ของการจัดสภาพแวดลอ้ ม ทเ่ี อื้อตอ่ การเรยี นรู้สาหรบั สถานศกึ ษาเรยี นรวม ระดบั ประถมศึกษาจังหวัดปทมุ ธานี. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มสธ., 10(2), กรกฎาคม – ธนั วาคม 2560, น. 316-328. 12. เรวตั ร งะบรุ งค์ และ ต้องลักษณ์ บญุ ธรรม. (2560). ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อสุขภาพขององคก์ ารของสถานศกึ ษา สาหรับสถานศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดปทมุ ธาน.ี วารสารเกษมบณั ฑิต, 18(1), มกราคม - มิถุนายน 2560, น. 175-185.
74 ประวัติ และผลงานทางวิชาการ อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร / อาจารย์ประจาหลกั สูตร หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา 1. ชอ่ื – นามสกลุ นายชยั อนันต์ มั่นคง 2. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ 3. สงั กัดหน่วยงาน ภาควิชาการศกึ ษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคธัญบรุ ี 4. ทีอ่ ยู่ 39 หมู่ 1 ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 5. ประวัติการศึกษา ปที ี่จบ วุฒิการศกึ ษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัย 2559 ศษ.ด. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2546 ค.ม. การบรหิ ารการศึกษา สถาบันราชภฏั พบิ ูลสงคราม 2544 ค.บ. การประถมศึกษา สถาบนั ราชภฏั พิบูลสงคราม 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน พ.ศ. 2547 – ปจั จบุ ัน อาจารย์ประจาหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา ภาควิชาการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 7. ผลงานทางวชิ าการทไ่ี ดร้ ับการตพี ิมพเ์ ผยแพร่ 7.1 งานวิจัย บทความวจิ ยั เผยแพรใ่ นรูปแบบบทความวิจยั ลงในวารสารทางวิชาการ 1. ชานนท์ วรรณา และ ชยั อนันต์ มนั่ คง. (2563). แนวทางการพฒั นาทักษะการบริหารของผู้บรหิ าร สถานศึกษา สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยม ศึกษาเขต 4. วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎศรสี ะเกษ, 14(1). มกราคม – มิถุนายน 2563, น. 45-56. 2. อทิ ธศิ กั ดิ์ ศิริจนั ทร์ และ ชัยอนนั ต์ มน่ั คง. (2563). ความสัมพนั ธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกบั ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพของครูในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สงั กดั สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั สระบุรี. วารสารวชิ าการมหาวิทยาลัยราชภฎั ศรสี ะเกษ, 14(1), มกราคม – เมษายน 2563, น. 11-21. 3. ปนัดดา นกแก้ว. (2561). ทกั ษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษท่ี 21 ของนักเรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารมหาจฬุ าวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , 8(1), มกราคม – เมษายน 2561. น. 89-95.
75 4. ชัยอนันต์ มัน่ คง และ ระติกรณ์ นิยมะจนั ทร.์ (2561). โมเดลสมการโครงสร้างของพฤติกรรมการทางาน เชงิ รกุ ของอาจารย์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี. วารสารวชิ าการคณะศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ, 19(2), กรกฎาคม - ธันวาคม 2561, น.92-103.
76 ประวัติ และผลงานทางวชิ าการ อาจารย์ประจาหลักสตู ร หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา 1. ชอื่ - สกลุ ว่าที่ ร.ต.สุทธิพร บญุ สง่ 2. ตาแหนง่ ทางวิชาการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ 3. สงั กัดหน่วยงาน ภาควชิ าการศกึ ษา คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคธัญบุรี 4. ที่อยู่ 39 หมู่ 1 ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 5. ประวตั กิ ารศึกษา ปที จ่ี บ วุฒกิ ารศกึ ษา สาขาวชิ า มหาวิทยาลัย 2545 ศษ.ด. หลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 2533 ศษ.ม. การสอนสงั คมศึกษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2525 ศษ.บ. สังคมศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร 6. ประสบการณท์ างาน/การสอน พ.ศ. 2526 – ปจั จบุ ัน อาจารยป์ ระจาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการพฒั นาหลกั สูตรและนวัตกรรมการสอน ภาควชิ าการศึกษา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 7. ผลงานทางวิชาการทไี่ ดร้ ับการตีพมิ พ์เผยแพร่ 7.1 งานวิจัย - บทความวจิ ัย เผยแพรใ่ นรูปแบบบทความวิจยั ลงในวารสารทางวิชาการ วารสารระดับนานาชาติ [1] Suttiporn Boonsong, Pornpirom Longsub, Vinai Srikanok. (2018). Implementation of Instructional Model for the Development of Moral Ethics and Code of Ethics. Advanced Science Letters. American Scientific Publishers. 24(6). June 2018. pp 4558– 4560 เผยแพร่ในรูปแบบนาเสนอบทความวิจัยต่อทป่ี ระชุมทางวิชาการ ระดับนานาชาติ [1] Suttiporn Boonsong. (2017). Development of Self Actualization for Teacher A Case study of Role Playing Instruction. International Symposium on Innovative Education and Technology 2017 (ISIET 2017). 11-12 May 2017. Asia Airport Hotel, Pathum thani. pp 128-130.
77 [2] Suttiporn Boonsong, Saypin Sriharak and Vinai Srikanok. (2017). Development of Learning Management in Moral Ethics and Code of Ethics of the Teaching Profession Course. IOP Conference Series: Materials Science and Engineering from 2nd International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education (ICIEVE2017). 25–26 October 2017. Manado, Indonesia\" 22 February 2017. 306. pp.1-6. ระดับชาติ [1] ณัฐณิชา จิตตะคาม และสุทธิพร บุญส่ง. (2562). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนคติกส์ ของกอร์ดอนเพื่อส่งเสริมการเขยี นตามจินตนาการเชิงสรา้ งสรรค์ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6. การประชุมประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ คร้ังท่ี 3 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยราชภัฏ บุรรี มั ย์ จงั หวัดบุรีรัมย์. 1 กุมภาพันธ์ 2562. หนา้ ที่ 236-248. [2] ศุภมาศ แก้วมณี และสุทธิพร บุญส่ง. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิดเพ่ือพัฒนาทักษะ การแกโ้ จทย์ปัญหา ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4. การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 29 มีนาคม 2562 หนา้ ท่ี 333-341. [3] สุมาลี คาสว่าง และสุทธิพร บุญส่ง. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบโมเดลซิปปา ร่วมกับเทคนิค จ๊ิกซอว์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 2. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งท่ี 5 ประจาปี 2562. มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย จังหวัดเลย. 22 มนี าคม 2562. หนา้ ท่ี 1449-1456. [4] สุนิสา เนรจิตร์ และสุทธิพร บุญส่ง. (2562). การพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้วชิ าประวตั ิศาสตร์ตาม แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5. การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งท่ี 5 ประจาปี 2562. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย. 22 มีนาคม 2562. หนา้ ท่ี 1466-1473. [5] กมลวรรณ ทับโต และ สุทธิพร บุญส่ง. (2562). การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันประถม ศึกษาปีท่ี 3. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 5 ประจาปี 2562. มหาวิทยาลัยราช ภฏั เลย จงั หวัดเลย. 22 มนี าคม 2562. หนา้ 1377-1384. [6] พิมลพรรณ เพชรสมบตั ิ, รุ่งอรุณ รังรองรัตน์, สุทธิพร บุญสง่ , ชยั อนันต์ ม่ันคง และภารุจีร์ เจริญเผ่า. (2560). การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างเอกลักษณ์การ ผลติ บัณฑิตมืออาชีพตามตัวช้ีวัดประกันคุณภาพการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ .ี การ ประชุมวชิ าการระดบั ชาติด้านนวตั กรรมเพื่อการเรียนรู้ และส่ิงประดิษฐ์ 2560. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธาน.ี 4 เมษายน 2560. หน้า 537-546.
78 ประวัติ และผลงานทางวิชาการ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา 1. ชอ่ื - สกลุ นางสาวลิณฐั ฎา กุญชรินทร์ 2. ตาแหนง่ ทางวชิ าการ อาจารย์ 3. สังกดั หนว่ ยงาน ภาควชิ าการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคธัญบรุ ี 4. ท่อี ยู่ 39 หมู่ 1 ตาบลคลองหก อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 5. ประวตั กิ ารศึกษา ปที ่ีจบ วุฒิการศึกษา สาขาวชิ า มหาวิทยาลัย 2559 Ph.D. Guidance and Counseling University Science of Malaysia (USM) 2554 M.A. Guidance and Counseling University Science of Malaysia (USM) 2546 วท.บ. เทคโนโลยกี ารผลิตพืช มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ 6. ประสบการณท์ างาน/การสอน พ.ศ. 2560 – ปจั จุบัน อาจารย์ประจาสาขาการแนะแนวและจติ วทิ ยาการศึกษา ภาควิชาการศกึ ษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 7. ผลงานทางวชิ าการที่ได้รับการตพี ิมพ์เผยแพร่ 7.1 งานวิจัย เผยแพรใ่ นรปู แบบบทความวจิ ยั นาเสนอท่ีประชุมทางวชิ าการ 1. ธนชดุ า อาจวงศา และ ลินัฐฎา กุญชรินทร.์ (2561). การพัฒนาทกั ษะการคานวณทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยการ ใช้เทคนคิ เพ่อื นคคู่ ดิ ผสานกับเทคนิคการเล่นเกมของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติ การศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ประจาปี 2560. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภัฎสวน สุนันทา. วันท่ี 25 พ.ค. 2561, 61-70. 2. สนุ ิสา เนรจิตร์, สทุ ธพิ ร บุญส่ง และ ลนิ ฐั ฎา กญุ ชรนิ ทร.์ (2561). ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ชุมชนแหง่ การ เรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ของครโู รงเรียนอา่ งทองปัทมโรจน์วทิ ยาคม จังหวดั อ่างทอง สังกัด สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. ใน การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้สงิ่ ประดิษฐ์ คร้งั ท่ี 2 ประจาปี 2561. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี. วนั ท่ี 18 ก.ค. 2561. น. 553-562. 3. กมลวรรณ ทบั โต, สทุ ธิพร บญุ สง่ และ ลนิ ัฐฎา กญุ ชรินทร.์ การศึกษาเจตคติต่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์ของ นกั เรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาตอนปลายกลุ่มโรงเรยี นแมเ่ ลย์ สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. ใน การประชมุ วชิ าการระดับชาติ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพ่ือการเรียนรสู้ ิง่ ประดษิ ฐ์ คร้ังที่ 2 ประจาปี 2561.ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบรุ ี. วันท่ี 18 ก.ค. 2561. น.573-583.
79 4. โชติกา สิงห์ป้อง, สุทธพิ ร บญุ สง่ และ ลนิ ัฐฎา กุญชรินทร์. (2561). ความคดิ เหน็ ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 5-6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรยี นประถมศกึ ษา อาเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี. ในการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ สิ่งประดษิ ฐ์ ครงั้ ที่ 2 ประจาปี 2561.ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร.ี วนั ที่ 18 ก.ค. 2561, 614-615. 5. สายรุ้ง ทองสงู , อรรถวทิ ย์ สุปตั ติ, สทุ ธพิ ร บญุ ส่ง และ ลนิ ฐั ฎา กุญชรนิ ทร.์ (2561). การศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นและเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษาด้วยสื่อประสม เร่ือง พลงั งานทดแทน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นสระแก้ว. ใน การประชุมวิชาการ ระดบั ชาติ ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นรสู้ ง่ิ ประดษิ ฐ์ คร้ังท่ี 2 ประจาปี 2561. ปทุมธานี: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร.ี วันที่ 18 ก.ค. 2561, 625-635.
80 ภาคผนวก ค ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และ ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 และ ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา (ฉบบั ที่ 3 ) พ.ศ. 2561
81
82
83
84
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127