หนงั สืออา่ นเพิม่ เติม รายวชิ าการบญั ชีเบื้องตน้ รหัส ง30283 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 สมการบัญชี นางสาวจิราพร พิมพว์ ชิ ัย ครชู านาญการพิเศษ โรงเรยี นร้อยเอด็ วิทยำลัย สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำรอ้ ยเอด็ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
หนว่ ยท่ี 2 สมการบญั ชี สมการบัญชี จาก งบดุล ยอดรวมของสินทรัพย์ จะเทา่ กับยอดรวมของหน้สี ินและสว่ นของเจา้ ของเสมอ ไม่วา่ กิจการจะมีรายการค้าเกดิ ข้นึ หรือเปล่ียนแปลงไปในรปู แบบใดกต็ าม เมอ่ื พจิ ารณาทางด้านสนิ ทรพั ย์จะเปน็ การ แสดงถงึ สิ่งท่ีกจิ การเป็นเจ้าของ สว่ นทางด้านหนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของจะเปน็ การแสดงถึงแหล่งท่ีมาของเงิน ลง ทุนของกิจการวา่ มาจากเจ้าหนแี้ ละเจ้าของกจิ การเป็นจำนวนเทา่ ใดในแต่ละกล่มุ ดังนน้ั สนิ ทธเิ รียกร้องของ เจ้าหนี้รวมกบั สิทธิเรียกรอ้ งของส่วนเจ้าของ จงึ เท่ากบั สินทรพั ยท์ งั้ หมดของกจิ การ ซ่ึงแสดงออกมาเปน็ สมการบญั ชี (Accounting equation) หรอื สมการงบดุล ไดด้ งั นี้ สินทรพั ย์ = หน้ีสนิ + ส่วนของเจ้าของ (Assets) (Liabilities) (Owers' equity) คำศัพทท์ างบัญชเี บี้องต้น สินทรพั ย์ หมายถงึ สงิ่ ที่มีตัวตนหรือไม่มีตวั ตนอนั มีมลู ค่า ซึ่งบุคคลหรือกิจการดเป็นเจ้าของหรือ สามารถถือเอกประโยชน์ไดจ้ ากกรรมสทิ ธ์ิ ในสังหาริมทรพั ย์ อสังหาริททรัพย์ สินธ์ิเรยี กรอ้ ง มูลค่าทีไ่ ด้มา รายจ่ายทก่ี ่อใหเ้ กดิ สิทธิ์ และรายจา่ ยของงวดบัญชถี ดั ไป จากความหมายดังกล่าว สนิ ทรพั ย์ในทางบัญชีมีหลายลักษณะดงั น้ี -สินทรัพยท์ ีเ่ ปน็ ตัวเงินหรือเทยี งเท่าเงนิ เชน่ เงนิ สด และต๋วั เงนิ รบั ต่าง ๆ -สินทรัพย์ท่เี ป็นสทิ ธิเรยี กรอ้ ง เช่น ลูกหน้ี -สินทรัพย์ทม่ี ตี ัวตน เชน่ ทด่ี ิน อาคาร รถยนต์ -สินทรัพยท์ ีไ่ มม่ ีตัวตน เช่น สทิ ธบิ ัตร ลขิ สทิ ธ์ิ สมั ปทาน -รายจ่ายท่จี า่ ยไปแลว้ จะใหป้ ระโยชนต์ ่องวดบัญชีถดั ไป ได้แก่ คา่ ใช้จา่ ยลว่ งหน้าประเภทตา่ ง ๆ สนิ ทรัพย์สามารถแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี สินทรพั ย์หมุนเวียน (Current asets) หมายถงึ เงินสดหรอื สนิ ทรัพย์อ่ืนท่ีมเี หตุผลจะคาดหมายได้วา่ จะเปลย่ี นเปน็ เงนิ สด หรือขาย หรอื ใชห้ มดไประหวา่ งรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกจิ การ สินทรัพยถ์ าวร (Fixed assets) หมายถงึ สนิ ทรัพยท์ ่ีมลี กั ษณะคงทนถาวรเพอ่ื ไวใ้ ชใ้ นการ ดำเนนิ งานตามปกติของกิจการ และมีอายุการใช้งานนานกว่า 1 ปี สินทรพั ย์อื่น ๆ (Other assets) หมายถงึ สนิ ทรพั ย์ท่ีไม่อาจจดั เข้าเป็นสินทรัพย์หมุนเวยี น หรอื สนิ ทรัพย์ถาวรได้ เชน่ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว รายจ่ายหรือค่าใชจ้ ่ายรอการตัดบัญชี เปน็ ต้น หนีส้ นิ หมาย ถึงพันธะผกู พันกจิ การอันเกิดจากรายการค้าการกู้ยืมหรือจากคนอ่นื ซง่ึ จะตอ้ ง ชำระ
คนื ในภายหนา้ ให้แกบ่ คุ คลภายนอกตามสิทธิเรียกร้องที่บุคคลภายนอกมีตอ่ กิจการดว้ ยสินทรพั ยห์ รือบริการ หนสี้ นิ สามารถแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดังนี้ หนี้สนิ หมุนเวียน (Current liabilities) หมายถงึ หน้ีสินซ่ึงมีระยะเวลาการชำระคนื ภายใน 1 ปี หรือภายในรอบระยะเวลาการดำเนนิ งานตามปกติของกจิ การดว้ ยสินทรพั ยห์ มนุ เวยี น หรอื ดว้ ยการก่อหนีส้ ิน ระยะส้นั อื่นแทน หน้สี นิ ระยะยาว (Long - term liabilities) หมายถงึ หนีส้ ินซงึ่ มรี ะยะเวลาการชำระคนื เกิน กว่า 1 ปี หรือเกินกว่ารอบระยะเวลาการดำเนนิ งานตามปกติของกิจการ หน้ีสินระยะยาวแบง่ ออกเป็นหลาย ประเภท เชน่ เงนิ กยู้ ืมระยะยาว หุน้ กู้ พนั ธบตั รเงนิ กู้ เป็นต้น หนี้สินอ่นื ๆ (Other liabilities) หมายถึง หน้ีสินซึ่งไม่อาจจดั เปน็ หนี้สนิ หมุนเวียนและหนสี้ ิน ระยะยาว เชน่ เงินสะสมหรือเงนิ บำนาญของลูกจ้าง พนกั งาน เงินกยู้ ืมระยะยาวจากเจ้าหนา้ ที่ของบริษัทหรือ บริษทั ในเครือรายไดร้ อการตัด บัญชี เปน็ ต้น
รายได้ หมาย ถงึ ผลตอบแทนทกี่ ิจการไดร้ ับจากการขายสนิ ค้าหรอื บรกิ ารตามปกติของกิจการรวมทั้ง ผลตอบแทนอื่น ๆ ทีไ่ มไ่ ดเ้ กิดจากการดำเนินงานตามปกติ รายไดแ้ บ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ รายไดจ้ ากการขาย (Sales) หมายถงึ รายไดท้ เ่ี กดิ จากการขายสนิ คา้ หรอื บริการอนั เปน็ รายไดจ้ ากการดำเนนิ งานตาม ปกติ เชน่ กิจการซื้อขายสนิ ค้า รายไดข้ องกิจการ คือ รายไดจ้ ากการขายสนิ ค้า สว่ นกจิ การให้บริการ เช่น ซอ่ มเคร่ืองไฟฟ้า รายไดข้ องกิจการ คอื รายได้ค่าซ่อม รายได้อนื่ (Other incomes) หมายถงึ รายไดท้ ่มี ิไดเ้ กดิ จากการดำเนนิ งานตามปกติของ กิจการซึง่ เป็นรายได้ท่ีไม่ใช้ รายได้จากการขายสนิ คา้ หรอื บรกิ ารนัน่ เอง ส่วนของเจา้ ของ หมายถงึ ทุนทเี่ จ้าของกจิ การนำมาลงทนุ เปน็ เงนิ สดหรือสินทรพั ย์อื่นรวมท้ังกำไร สทุ ธิ ทยี่ ังมไิ ด้แบ่งใหแ้ ก่ส่วนของเจ้าของกจิ การดว้ ย สว่ นจองเจ้าของจะมีคนเดยี วหรอื หลายคนก็ไดข้ ึ้นอยูก่ ับ ประเภทของธุรกิจ ส่วนของเจ้าของกิจการแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี กจิ การเจา้ ของคนเดียว สว่ นของเจ้าของกิจการประกอบดว้ ยบญั ชีทุน กำไรหรือขาดทนุ สุทธิ และ ถอนใช้ส่วนตัว หา้ ง หุ้นสว่ น สว่ นของเจ้าของกิจการเรียกว่า สว่ นของผู้เปน็ หุ้นส่วน (Partners' equity) เปน็ ผลรวม ของทนุ ของผู้เป็นห้นุ ส่วนทุกคน ซง่ึ ทุนของผู้เป็นหนุ้ ส่วนแต่ละคนนน้ั ประกอบด้วยผลรวมของเงินลงทุน เงิน ถอนทุนและสว่ นแบง่ ผลกำไรและขาดทุนสทุ ธิ บรษิ ัทจำกดั ส่วนของเจา้ ของกจิ การเรียกกวา่ ส่วนของผ้ถู อื หนุ้ (Shareholders' equity) เป็น ผลรวมของทุนจดทะเบียนตามกฎหมายของบริษทั ทแ่ี สดงอยู่ในรูปชนิดของหนุ้ จำนวนและมูลค่าหนุ้ ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นหรือส่วนต่ำกวา่ มูลค่าหุ้นและกำไรสะสม คา่ ใช้จา่ ย หมายถึง ตน้ ทุนส่วนทหี่ ักออกจากรายไดใ้ นรอบระยะเวลาท่ีดำเนนิ การงานหนงึ่ คา่ ใช้จ่าย สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั น้ี ต้นทนุ ขาย (Cost of sales) หมายถงึ ต้นทนุ ของสนิ ค้าท่ีขายหรือบริการทใ่ี ห้ กลา่ วคือใน กิจการซ้ือเพ่ือขาย ตน้ ทุนของสนิ ค้าทีข่ ายจะรวมราคาซ้ือและค่าใชจ้ ่ายอ่นื ๆ ท่ีจำเปน็ เพ่อื ใหส้ นิ ค้าอยใู่ นสภาพ พร้อมท่ีจะขาย ส่วนในกิจการผลิตเพอ่ื ขายต้นทนุ ของสนิ ค้าทขี่ ายคือ ตน้ ทนุ การผลิตของสนิ ค้านัน้ ซงึ่ ประกอบดว้ ย คา่ วัตถดุ บิ คา่ แรงงานและโสหยุ้ การผลติ ค่าใชจ้ ่ายในการดำเนนิ งาน (Operating expenses) หมายถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยที่เกิดขนึ้ อันเองมา จากการขายสินคา้ หรือบริการ และค่าใชจ้ า่ ยทีเ่ กดิ ขน้ึ เนือ่ งจากการบรหิ ารกิจการอนั เป็นส่วนรวมของการ ดำเนนิ งาน ค่าใชจ้ า่ ยอน่ื (Other expenses) หมายถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยนอกเหนอื จากที่จัดเข้าเปน็ ต้นทุนขาย และคา่ ใชจ้ ่ายในการดำเนนิ งาน เช่นดอกเบยี้ จ่าย ภาษีเงนิ ได้
ค่า ใชจ้ า่ ยสำหรับธรุ กิจขายสินค้า จะประกอบด้วย ต้นทนุ ขาย ค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ งาน และคา่ ใช้จา่ ยอ่ืน สำหรับธรุ กิจขายบรกิ ารค่าใช้จ่ายจะประกอบไปด้วยค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงานและ คา่ ใช้จ่ายอน่ื เท่านัน้ สมการบญั ชี สมการบญั ชี คือ สมการที่แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสินทรพั ย์ หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ โดยมีสมการ ดงั ต่อไปนี้ สินทรัพย์ = หน้ีสนิ + สว่ นของเจา้ ของ สนิ ทรพั ย์ คือ ทรพั ยากรท่ีอยูใ่ นความควบคุมของกจิ การ และสามารถก่อให้เกดิ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจต่อ กจิ การได้ เชน่ เงินสด ลูกหน้ี สนิ คา้ ท่ดี นิ อาคารและอุปกรณ์ สนิ ทรพั ยไ์ ม่มตี วั ตน เปน็ ต้น หนี้สิน คือ ภาระผกู พนั ทเี่ ปน็ ผลจากอดตี ถึงปัจจบุ ัน ทำให้กจิ การต้องสูญเสยี ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต (เพราะต้องจ่ายชำระคนื ) เช่น เจา้ หนี้ คา่ ใช้จ่ายคา้ งจา่ ย เงินกู้ยืม เป็นตน้ สว่ นของเจา้ ของ คือ มูลค่าสินทรัพยส์ ุทธิ หลักจากหักหนี้สินทงั้ ส้ินออกแลว้ ซง่ึ สามารถเขียนเป็นสมการได้ ดงั น้ี สว่ นของเจา้ ของ = สนิ ทรพั ย์ – หน้สี นิ สมการบัญชจี ะต้องเปน็ จริงเสมอกล่าวคือสินทรัพยจ์ ะต้องเทา่ กบั หน้ีสินบวกส่วนของเจา้ ของเสมอ ซึง่ เด๋ยี วจะมี การอธบิ ายและยกตัวอยา่ งอีกทใี นหวั ขอ้ การวิเคราะหร์ ายการคา้ ครบั การแปลความหมายจากสมการบญั ชี เราลองมาทบทวนสมการบัญชี สินทรพั ย์ = หนสี้ ิน + สว่ นของเจ้าของ จะเห็นได้วา่ หนสี้ นิ + สว่ นของเจ้าของ จะเปน็ แหล่งที่มาของเงนิ ทนุ ในการจดั หาทรัพย์สิน
ยกตวั อยา่ งเชน่ บรษิ ัท A มสี ินทรัพย์ 100 บาท มหี น้ีสนิ 30 บาท และมีส่วนของเจ้าของ 70 บาท หมายความวา่ บรษิ ัทมีสนิ ทรัพย์ทงั้ หมด 100 บาท เพื่อใช้ในการดำเนนิ ธุรกิจ โดยแหลง่ ที่มาของเงนิ ทนุ ในการ จัดหาสนิ ทรัพย์ดังกลา่ วเพื่อนำมาใช้ในการดำเนินงาน เกิดจากการกอ่ หนี้ 30 บาท และเปน็ เงินทุนของกิจการ เองจำนวน 70 บาท หลักการบญั ชี หลักการบัญชีท่สี ำคัญทีผ่ ปู้ ระกอบการควรตอ้ งทราบคอื การบันทึกบัญชีจะบันทึกตามเกณฑส์ ทิ ธิ ไมไดบ้ นั ทึก ตามเกณฑ์เงนิ สด กลา่ วคอื จะบนั ทกึ รายการตามส่งิ ท่เี กดิ ข้ึนจริงในธุรกจิ ยกตัวอย่างช่น เมือ่ บรษิ ัทซ้ือ สนิ คา้ เข้ามาในบรษิ ัทและได้รับสนิ ค้าแล้ว ขอ้ มูลบัญชีจะบันทึกสนิ คา้ เข้ามาในงบการเงินเลย ถงึ แมว้ ่าบรษิ ทั จะ ยงั ไม่ไดจ้ า่ ยชำระคา่ สินค้าดังกลา่ วตามเกณฑ์เงินสด หลกั เกณฑ์ในการบนั ทกึ รายการตามเกณฑ์สทิ ธสิ ามารถสรุปไดด้ งั ต่อไปนี้ 1. การขายสนิ คา้ – จะบนั ทึกขายและรบั รูร้ ายได้เม่ือกจิ การสง่ มอบสินค้าให้แก่ลูกค้าแลว้ ไม่ใช่เมือ่ ได้รบั เงินจากลูกค้า 2. การซอ้ื สินคา้ – จะบันทึกซ้ือสินคา้ เมื่อกจิ การไดร้ บั สนิ ค้าจากทาง Supplier แลว้ ไมใ่ ชเ่ ม่ือจา่ ยเงิน ใหแ้ ก่ Supplier 3. การบันทึกคา่ ใชจ้ ่าย – ค่าใช้จ่ายต่างๆจะถูกบนั ทกึ บญั ชีเมื่อบริษทั ได้ใชบ้ รกิ ารนน้ั แล้ว ยกตัวอย่าง เชน่ คา่ นำ้ คา่ ไฟฟ้า ในเดือน 12 ทบี่ รษิ ทั จะต้องจ่ายในเดือน 1 ปีถดั ไป คา่ น้ำ ค่าไฟฟา้ ดงั กลา่ ว นน้ั จะตอ้ งบนั ทึกบัญชีเขา้ มาที่เดอื น 12 เลยถงึ แม้ว่าบริษัทจะยังไม่ได้จ่ายชำระเงนิ ตามเกณฑเ์ งิน สด
การวิเคราะหร์ ายการคา้ ในสว่ นน้ีจะเปน็ การยกตัวอย่างว่าหากเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจตา่ งๆข้นึ จะสง่ ผลกระทบตอ่ งบการเงินอย่างไร และจะเป็นการอธบิ ายในเร่ืองสมการบัญชไี ปในตัววา่ ทำไม สนิ ทรัพย์ = หน้สี นิ + สว่ นของเจ้าของ เสมอ 1. บริษัท ABC เปิดธรุ กจิ เกยี่ วกับการรบั จ้างลา้ งแอร์ โดยได้นำเงินสดมาลงทุนในธรุ กจิ ท้ังสิ้นจำนวน 100,000 บาท จะเห็นได้วา่ เงนิ สดของบริษทั มียอดที่ 100,000 บาท และทุนของบริษัทมยี อดท่ี 100,000 บาท ตรงตาม สมการบัญชี สินทรพั ย์ 100,000 บาท = สว่ นของเจ้าของ 100,000 บาท 2. บริษัทซ้ือเครอ่ื งมอื เครื่องใชใ้ นการล้างแอร์ เป็นจำนวน 30,000 บาท จะเห็นไดว้ า่ เงนิ สดของบริษทั มียอดท่ี 70,000 บาท มอี ปุ กรณ์ 30,000 บาท และทุนของบริษัทมยี อดท่ี 100,000 บาท ตรงตามสมการบญั ชี สนิ ทรพั ย์ 100,000 บาท = ส่วนของเจ้าของ 100,000 บาท 3. บรษิ ทั ซอ้ื นำ้ ยาล้างแอรม์ ารอใช้งานเป็นจำนวน 20,000 บาท เปน็ เงินเชอื่
จะเห็นไดว้ ่าเงินสดของบริษทั มยี อดท่ี 70,000 บาท มีสนิ ค้าคงเหลือ 20,000 บาท มีอปุ กรณ์ 30,000 บาท เจา้ หนี้มียอด 20,000 บาท และทนุ ของบรษิ ัทมียอดท่ี 100,000 บาท ตรงตามสมการบัญชี สินทรพั ย์ 120,000 บาท = หนส้ี นิ 20,000 บาท + สว่ นของเจ้าของ 100,000 บาท 4. บริษัทไดร้ บั เงินสดจากการลา้ งแอรใ์ ห้ลูกคา้ จำนวน 40,000 บาท รายการท่เี กิดขน้ึ ในงบกำไรขาดทนุ จะวิ่งเขา้ กำไรสะสมในสว่ นของผู้ถือห้นุ เสมอ ดงั น้ันจะเห็นไดว้ ่าเงินสดของ บริษทั มียอดท่ี 110,000 บาท มีสนิ ค้าคงเหลือ 20,000 บาท มีอปุ กรณ์ 30,000 บาท เจ้าหนีม้ ียอด 20,000 บาท ทุนของบรษิ ัทมยี อดที่ 100,000 บาท และกำไรสะสมมียอดที่ 40,000 บาท ตรงตามสมการบัญชี สินทรพั ย์ 160,000 บาท = หนีส้ ิน 20,000 บาท + สว่ นของเจ้าของ 140,000 บาท 5. บรษิ ัทมีรายไดจ้ ากการลา้ งแอร์เพ่ิมเติมจำนวน 10,000 บาท โดยได้รบั เงินสดมาคร่ึงหนงึ่ ท่เี หลือเป็นเงินเช่ือ
จะเหน็ ได้ว่าเงินสดของบริษทั มียอดที่ 115,000 บาท มลี กู หน้ี 5,000 บาท มสี นิ ค้าคงเหลือ 20,000 บาท มี อปุ กรณ์ 30,000 บาท เจ้าหนี้มยี อด 20,000 บาท ทุนของบรษิ ัทมยี อดท่ี 100,000 บาท และกำไรสะสมมยี อด ที่ 50,000 บาท ตรงตามสมการบญั ชี สินทรัพย์ 170,000 บาท = หนส้ี นิ 20,000 บาท + สว่ นของเจ้าของ 150,000 บาท 6. บริษัทไดใ้ ช้ไฟฟ้าและได้รบั บลิ ค่าไฟฟ้าจำนวน 15,000 บาท แตย่ งั ไมไ่ ด้จา่ ย จะเห็นไดว้ ่าเงนิ สดของบริษัทมียอดที่ 115,000 บาท มีลูกหนี้ 5,000 บาท มีสนิ คา้ คงเหลอื 20,000 บาท มี อุปกรณ์ 30,000 บาท เจ้าหนม้ี ยี อด 35,000 บาท ทุนของบรษิ ัทมยี อดท่ี 100,000 บาท และกำไรสะสมมยี อด ท่ี 35,000 บาท ตรงตามสมการบญั ชี สนิ ทรัพย์ 170,000 บาท = หน้ีสิน 35,000 บาท + สว่ นของเจ้าของ 135,000 บาท
7. บริษทั ไดจ้ า่ ยคา่ ไฟฟ้าท่ีเคยต้ังหนเี้ อาไวแ้ ล้วจำนวน 15,000 บาท จะเห็นได้วา่ เงนิ สดของบริษัทมยี อดที่ 100,000 บาท มลี กู หน้ี 5,000 บาท มสี นิ คา้ คงเหลือ 20,000 บาท มี อุปกรณ์ 30,000 บาท เจา้ หนมี้ ยี อด 20,000 บาท ทนุ ของบริษัทมยี อดที่ 100,000 บาท และกำไรสะสมมยี อด ที่ 35,000 บาท ตรงตามสมการบญั ชี สินทรพั ย์ 155,000 บาท = หนส้ี นิ 20,000 บาท + ส่วนของเจา้ ของ 135,000 บาท 8. บริษัทไดร้ บั เงนิ จากลูกหนี้จำนวน 5,000 บาท จะเห็นได้วา่ เงนิ สดของบริษัทมยี อดท่ี 105,000 บาท มีสนิ คา้ คงเหลือ 20,000 บาท มีอุปกรณ์ 30,000 บาท เจ้าหนีม้ ยี อด 20,000 บาท ทุนของบริษทั มียอดที่ 100,000 บาท และกำไรสะสมมยี อดที่ 35,000 บาท ตรง ตามสมการบัญชี
สินทรัพย์ 155,000 บาท = หนสี้ ิน 20,000 บาท + สว่ นของเจ้าของ 135,000 บาท 9. บรษิ ทั ไดน้ ำน้ำยาลา้ งแอรไ์ ปใช้ให้บรกิ ารลกู ค้าจำนวน 20,000 บาท จะเห็นได้วา่ เงินสดของบริษทั มียอดที่ 105,000 บาท มีอปุ กรณ์ 30,000 บาท เจ้าหน้ีมยี อด 20,000 บาท ทนุ ของบริษทั มียอดที่ 100,000 บาท และกำไรสะสมมียอดท่ี 15,000 บาท ตรงตามสมการบัญชี สินทรพั ย์ 135,000 บาท = หนีส้ ิน 20,000 บาท + ส่วนของเจ้าของ 115,000 บาท 10. บริษทั ได้ทำการจ่ายเงนิ ปันผลให้แกผ่ ้ถู ือหุ้นจำนวน 10,000 บาท
การจา่ ยเงนิ ปนั ผลใหจ้ ำเอาไว้ว่าจะไม่ได้ถือเปน็ ค่าใช้จา่ ยนะครับ แต่จะเปน็ การลดกำไรสะสมซ่ึงเปน็ สว่ นหนึง่ ในสว่ นของเจ้าของโดยตรง จะเหน็ ได้ว่าเงินสดของบรษิ ัทมยี อดที่ 95,000 บาท มอี ุปกรณ์ 30,000 บาท เจ้าหนี้มยี อด 20,000 บาท ทุน ของบริษทั มยี อดท่ี 100,000 บาท และกำไรสะสมมยี อดที่ 5,000 บาท ตรงตามสมการบัญชี สนิ ทรพั ย์ 125,000 บาท = หนีส้ นิ 20,000 บาท + ส่วนของเจ้าของ 105,000 บาท รายการคา้ คอื เหตกุ ารณท์ างการเงนิ ท่ีมีผลทำให้การดำเนินงานของกจิ การและกอ่ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน สนิ ทรัพย์ หน้สี นิ และส่วนของเจ้าของ วงจรบญั ชี คือ ลำดับขัน้ ตอนในการลงบัญชี โดยเร่ิมตน้ จากรายการค้า นำไปวเิ คราะห์ จดบันทกึ ในสมุดขน้ั ตน้ จัดใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ โดยผา่ นไปยงั บญั ชีแยกประเภท แล้วนำมาสรปุ ผลในรปู ของรายงานทางการเงิน บัญชีแยกประเภท ไดแ้ ก่ บญั ชแี ยกประเภทสินทรัพย์ หน้สี ิน สว่ นของเจ้าของ รายได้และคา่ ใช้จ่าย มี 2 แบบ คอื แบบตัว T และแบบแสดงยอดคงเหลือ หมวดบญั ชี บนั ทึกเพมิ่ บันทึกลด สนิ ทรัพย์ ดา้ นเดบิต ดา้ นเครดิต หนส้ี ิน ด้านเครดิต ดา้ นเดบติ ส่วนของเจ้าของ ดา้ นเครดติ ด้านเดบติ รายได้ ด้านเครดิต ด้านเดบติ คา่ ใช้จ่าย ดา้ นเดบติ ด้านเครดิต หลัก บัญชีคู่ การบนั ทึกบญั ชใี ช้หลกั 'ทกุ ๆ เดบติ จะต้องบันทึกเท่ากับในทุกๆ เครดติ บญั ชีแยกประเภท จะต้องนำมาจัดใหเ้ ป็นหมวดหมู่ โดยเรยี งจาก สินทรพั ย์ หน้สี ิน ส่วนของเจา้ ของ รายได้และคา่ ใชจ้ ่าย โดยให้ นำหมายเลขมากำกบั เรยี กว่า ผังบัญชี งบการเงิน เป็นรายงาน ทางการเงินทน่ี ำเสนอขอ้ มูลเพ่ือแสดงฐานะการเงนิ ผลการดำเนนิ งาน และกระแสเงินสดของ กิจการโดยถูกต้องตามที่ควรในแต่ละงวดบัญชใี ดบญั ชีหน่งึ หรอื ระหวา่ งงวดบญั ชกี ็ได้งบการเงนิ จะแสดงขอ้ มูล โดยถูกต้องตามที่ควรกต็ ่อ เมื่อกจิ การได้ปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานการบญั ชอี ยา่ งเหมาะสม รวมทั้งการเปิดเผย ขอ้ มลู เพิ่มเติมเมื่อจำเปน็ งบการเงนิ ดังกลา่ วจะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ใช้งบการเงนิ ในการตัดสนิ ใจเชงิ เศรษฐกิจ และสามารถแสดงถึงผลการปฏบิ ัติงานของฝา่ ยบรหิ าร ซ่ึงได้รบั ความไวว้ างใจใหด้ ูแลทรัพยากรของกจิ การ งบ
การเงนิ ต้องจดั ทำอย่างน้อยปีละ 1 คร้งั และจะต้องนำเสนอข้อมลู ดงั ต่อไปน้ี คอื สินทรัพย์ หนส้ี ิน ส่วนของ เจ้าของ รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย และกระแสเงนิ สด สว่ นประกอบของงบการเงินที่สมบรู ณ์ ประกอบดว้ ย งบดุล (Balance sheet) เปน็ รายงานท่จี ัดทำขนึ้ เพื่อแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหน่งึ ว่ามี สนิ ทรัพย์และหนสี้ ินประเภทอะไรเป็นมูลค่าเทา่ ใด และมีเงินทุนเปน็ เทา่ ใด งบกำไรขาดทนุ (Income Statement) เป็นรายงานทจี่ ัดทำข้นึ เพื่อแสดงผลการดำเนินงานของกจิ การใน ระหวา่ งงวดบญั ชี หรือส้ินงวดบญั ชใี ดบญั ชีหน่งึ งบแสดงการเปล่ียนแปลงในสว่ นของเจ้าของ (Statement of changes in owners' equity) หมายถึง รายงานที่จัดทำข้นึ เพ่ือแสดงการเปล่ียนแปลงในส่วนของเจา้ ของ งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) เป็นรายงานทีแ่ สดงถงึ การไดม้ าและใช้ไปของเงนิ สดและรายการ เทยี บเท่าเงนิ สด หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Note of Financial Statement) ประกอบด้วยการอธิบาย และการวิเคราะห์ รายละเอียดของจำนวนเงินที่แสดงในงบดลุ งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงนิ สดและงบแสดงการเปลยี่ นแปลงใน สว่ นของเจา้ ของ โดยแสดงในรูปของงบย่อย หรอื งบประกอบต่างๆ รวมทั้งข้อมลู เพมิ่ เติม ขอ้ มูลท่ีมาตรฐาน การบัญชีกำหนดให้ต้องเปิดเผย และการเปิดเผยขอ้ มลู อ่ืนท่ีทำใหง้ บการเงนิ แสดงโดยถูกตอ้ งตามท่ีควร ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ต่อผใู้ ช้งบการเงินในการตัดสนิ ใจได้ถูกต้อง เดบติ เดบติ (Debit) ใชอ้ ักษรย่อวา่ 'Dr หมายถึง จำนวนเงนิ ที่แสดงทางด้านซ้ายของบญั ชี การลงรายการทางดา้ นซ้ายของบญั ชี หรือการผา่ นบัญชีอันกระทำให้สินทรัพย์ หรือคา่ ใช้จา่ ยเพมิ่ ขึน้ การลงรายการทางด้านซ้ายของบัญชี หรอื การผ่านบัญชอี ันกระทำให้หนส้ี ิน รายการเงนิ ทุน หรือรายไดล้ ดลง เครดติ เครบิต (Credit) ใช้อกั ษรยอ่ ว่า 'Cr หมายถงึ จำนวนเงนิ ทีแ่ สดงทางดา้ นขวาของบัญชี การลงรายการทางดา้ นขวาของบญั ชี หรอื การผ่านบญั ชอี ันกระทำให้สินทรพั ย์ หรือค่าใช้จา่ ยลดลง การลงรายการทางด้านขวาของบญั ชี หรือการผา่ นบัญชอี นั กระทำใหห้ น้สี นิ รายการเงนิ ทุน หรือรายได้เพม่ิ ขนึ้ จาก ความหมายดังกล่าว เดบิตจะใชบ้ นั ทึกรายการพร้อมกับจำนวนเงินทางดา้ นซา้ ยของบัญชี ในการบนั ทกึ รายการจะมผี ลทำให้บัญชสี นิ ทรัพยห์ รอื บัญชคี ่าใช้จ่ายเพ่มิ ขึ้น ส่วนบญั ชหี นสี้ ิน ทนุ หรือบัญชรี ายไดจ้ ะลดลง สำหรับเครดติ จะใชบ้ นั ทึกรายการพร้อมกับจำนวนเงินทางด้านขวาของบญั ชี ในการบนั ทึกรายการจะมผี ลทำ
ใหบ้ ญั ชีหนสี้ ิน ทนุ หรือบญั ชรี ายไดเ้ พ่ิมขึ้น ส่วนบญั ชสี นิ ทรัพย์ หรอื บญั ชคี า่ ใช้จ่ายจะลดลง ผล ตา่ งระหว่างจำนวนเงนิ รวมดา้ นเดบิต และจำนวนเงินรวมดา้ นเครดิตของแต่ละบัญชีเรียกว่ายอดคงเหลอื ใน บญั ชหี รอื ยอด ดุลบัญชี (Account balance) ซึง่ แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คือ ยอดดุลเดบติ (Debit balance) หมายถงึ ผลตา่ งระหวา่ งจำนวนเงนิ รวมทม่ี ากกวา่ จำนวนเงินรวมดา้ นเครดติ ยอดดุลเครดติ (Credit balance) หมายถงึ ผลต่างระหวา่ งจำนวนเงนิ รวมท่มี ากกว่าจำนวนเงนิ รวมดา้ นเดบิต ความหมายของการบัญชี มี การพบหลักฐานวา่ การบัญชเี กดิ ข้ึนมากวา่ 4,000 ปแี ลว้ สมัยนั้นได้มีการจัดทำบญั ชสี ินค้า บญั ชี คา่ แรง และค่าภาษีอากร ในเมโสโปเตเมยี ต่อมากอ่ นคริสตศตวรรษท่ี 14 พ่อค้าชาวอิตาเล่ยี นได้พฒั นาระบบ บญั ชคี ู่ข้ึนใชเ้ ป็นครัง้ แรก แต่หลักเกณฑต์ า่ ง ๆ ท่เี ขาคิดข้นึ น้ันไมไ่ ดร้ วบรวมไว้จนกระทง่ั ในปี ค.ศ. 1494 นาย FRA LUCA PACIOLI ชาวอิตาเลี่ยน ไดแ้ ต่งหนงั สือชอ่ื เรียกส้ัน ๆ วา่ 'Summa' เปน็ ตำราว่าด้วยการคำนวณ เกี่ยวกบั เลขคณติ พชี คณติ การแลกเปล่ียนเงินตรารวมท้ังการบญั ชี ซง่ึ เขาไดร้ วบรวมกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ของ หลกั การบัญชคี ู่ไวอ้ ย่างสมบูรณ์ จนได้รบั การยกยอ่ งวา่ เป็น 'บิดาแห่งวชิ าการบญั ชี' ต่อมาราวคริสตศตวรรษท่ี 18 เกิดการปฏวิ ัติทางอุตสาหกรรมข้ึนในยโุ รป ทำให้เกิดการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ ครั้งใหญ่ มีการลงทุน กนั มากข้นึ โดยเฉพาะมีการลงทุนร่วมกนั ทำให้เกดิ ความคิดทีจ่ ะบันทึกบัญชกี ิจการแยกต่างหากจากเจา้ ของ เพอ่ื จะได้ทราบวา่ ใครลงทนุ เท่าใด และมีสิทธสิ ว่ นได้ ส่วนเสยี ในกจิ การเท่าใด นอกจากนั้นยงั มีการจดั ทำงบ การเงนิ เพ่ือรายงานถึงผลการดำเนินงานและฐานะของ ธุรกิจให้ผู้รว่ มลงทุนได้ทราบ ซ่ึงแนวความคิดนเ้ี ปน็ ท่ี ยอมรับและใช้กนั อยู่จนถึงปจั จุบนั การบญั ชี (Accounting) คอื ข้นั ตอนของระบบการรวบรวม การวเิ คราะห์และการรายงานขอ้ มูลทางการเงนิ (Pride, Hughes and Kapoor. 1996 : 534)สมาคมนักบญั ชีและผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตแหง่ ประเทศไทย ซึ่งเรียกยอ่ วา่ ส.บช. (The Institute of Ceritfied Accountants and Auditor of Thailand : ICAAT) ได้ให้ความหมายของการ บญั ชีไว้ดังนี้ การบญั ชี (Accounting) หมายถึง ศิลปะของการเกบ็ รวบรวม บันทึก จำแนก และทำสรุปข้อมูลอนั เก่ียวกับเหตกุ ารณท์ างเศรษฐกจิ ในรูปตัวเงนิ ผลงานข้ันสุดท้ายของการบัญชีก็คือการให้ขอ้ มูลทางการเงิน ซึง่ เปน็ ประโยชน์แกบ่ ุคคลหลายฝา่ ย และผู้ทสี่ นใจในกจิ กรรมของกจิ การ สมาคม ผ้สู อบบัญชีรับอนุญาตของประเทศสหรัฐอเมริกา ( The American Institute of Certified Public Accountants : AICPA) ไดใ้ ห้ความหมายของการบัญชีไว้ดงั นี้ ' Accounting is the art of recording, classifying and หsummarizing in a significant manner and
in terms of money, transactions and events which are, in part at least, of financial character and interpreting the results thereof.' จากคำนิยามดังกลา่ ว การบัญชี หมายถงึ ศิลปะของการจดบนั ทึก การจำแนกให้เปน็ หมวดหมู่ และการสรปุ ผล ส่ิงสำคัญในรูปตัวเงนิ รายการ และเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกับทางดา้ นการเงนิ รวมท้ังการแปล ความหมายของผลการปฏบิ ัติดังกล่าวดว้ ย การบัญชีมคี วามหมายทีส่ ำคัญ 2 ประการ คือ 1. การทำบัญชี (Bookkeeping) เป็นหน้าท่ีของผู้ทำบัญชี (Bookkeeper) ซ่งึ มีข้ันตอนการปฏิบตั ดิ ังนี้ 1.1 การรวบรวม (Collecting) หมายถงึ การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าทเ่ี กิดข้ึนประจำวันและ หลักฐานข้อมลู ทเ่ี ก่ยี ว กบั การดำเนินธุรกิจ เชน่ หลักฐานการซ้ือเช่ือและขายเช่ือ หลกั ฐานการบั และจ่ายเงิน เป็นต้น 1.2 การบนั ทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกรายการคา้ ท่เี กิดข้ึนแต่ละคร้ังใหถ้ กู ต้องตาม หลักการบัญชีท่ี รับรองทวั่ ไป พรอ้ มกับบนั ทึกข้อมูลให้อยู่ในรปู ของหน่วยเงินตรา 1.3 การจำแนก (Classifying) หมายถงึ การนำข้อมลู ท่จี ดบันทกึ ไว้แลว้ มาจำแนกใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ ของบัญชีประเภทตา่ งๆ เชน่ หมวดสินทรัพย์ หน้สี ิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และคา่ ใช้จ่าย 1.4 การสรปุ ขอ้ มลู (Summarizing) เปน็ การนำข้อมูลที่ไดจ้ ำแนกใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ดังกล่าวมาแลว้ มา สรปุ เป็นรายงาน ทางการเงิน (Accounting report) ซึ่งแสดงถงึ ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของธรุ กจิ ตลอดจนการไดม้ าและใช้ไป ของเงินสดในรอบระยะเวลาบญั ชหี นงึ่ 2. การใหข้ ้อมูลทางการเงนิ เพื่อประโยชนแ์ กบ่ คุ คลทเ่ี กยี่ วข้องหลายฝ่าย เช่น ฝ่ายบริหาร ผู้ให้กู้ เจ้าหน้ี ตวั แทนรัฐบาล นักลงทนุ เปน็ ต้น นอกจากนข้ี ้อมูลทางการเงินยงั สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นการวเิ คราะห์ ทางดา้ น การเงนิ การจัดทำงบประมาณ การปรบั ปรงุ ระบบบญั ชี เป็นต้น หลกั การบันทึกบัญชี หลักการบนั ทึกรายการทางบัญชี (Recording transaction) แบ่งเป็น 2 ระบบ ดังน้ี ระบบบญั ชเี ดย่ี ว (Single - entry bookkeeping or single - entry system) เป็นวิธีการบันทึก บัญชีเพยี งดา้ นเดียวเท่าน้ันคือ ดา้ นเดบิตหรือด้านเครดิต ระบบบญั ชเี ด่ยี วน้ีจะบนั ทกึ เฉพาะรายการในบญั ชีเงิน สด หรือ บัญชที ่สี ำคญั บางบัญชี เชน่ บญั ชลี กู หน้ีหรือบัญชีเจา้ หนเ้ี ท่านั้น โดยไม่ได้ใช้การบนั ทึกรายการตาม ระบบบัญชคี ู่ทตี่ ้องบนั ทึกรายการบัญชที ้งั ด้านเดบิตและเครดิต การบันทึกบัญชีตามระบบบัญชเี ดยี่ วน้นี ยิ มใช้ ในกิจการขนาดเล็กทีเ่ จ้าของเปน็ ผคู้ วบคุมและจดบันทึกเอง สำหรบั ธุรกิจขนาดย่อมข้ึนไปไม่ควรนำระบบ บัญชเี ดี่ยวมาใช้ เน่ืองจากจะมปี ัญหาในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทางการ บัญชี และการจัดทำงบการเงิน ระบบบัญชีคู่ (Double - entry bookkeeping or double - entry system) เป็นวิธีการที่ใช้
ปฏบิ ัตใิ นการบนั ทึกรายการบัญชตี ่าง ๆ ประกอบดว้ ยรายการในสมุดรายวันท่วั ไป รายการในสมดุ บญั ชีแยก ประเภท ตลอดจนเอกสารหลักฐาน การบันทึกเหล่านีม้ ีระบบการและประเพณีปฏิบตั ิตา่ ง ๆ ซ่ึงอาจใช้ได้กบั ท้ัง กจิ การขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ ท้ังนเ้ี พ่ือวตั ถุประสงค์ทจี่ ะทำให้สามารถเสนอรายงานทางการเงินไดถ้ ูกตอ้ ง ตามทคี่ วรและทนั ต่อเหตกุ ารณก์ ารบนั ทึกบญั ชตี ามระบบบัญชคี ู่แต่ละรายการจะ เกยี่ วข้องกับบัญชีสองดา้ น คือบนั ทึกดา้ นเดบิตบัญชีหนึง่ และบนั ทึกด้านเครดิตในอีกบัญชหี นึง่ ด้วยจำนวน เงินท่ีเทา่ กนั และจะมผี ลทำให้ เกดิ ดลุ ขนึ้ ในตัวเอง และในขณะเดยี วกนั ก็จะทำใหผ้ ลรวมของยอดบัญชที ่เี กิดจากทกุ รายการรวมกันแลว้ ได้คา่ เป็นศูนย์ นน่ั ก็คือ ผลรวมของยอดดุลเดบติ เท่ากับผลรวมยอดดลุ เครดติ การจัดทำรายละเอียดของยอดบัญชี ต่าง ๆ ประกอบกันเปน็ ยอดรวมทัง้ สนิ้ เรยี กว่า 'งบทดลอง (สมาคมนักบญั ชีและผู้สอบบัญชรี บั อนญุ าตแหง่ ประเทศไทย.2538:d-4 ) การ บันทกึ บัญชจี ะใชห้ ลกั ระบบบญั ชีคู่ ดังนน้ั รายการคา้ ทุกรายการต้องบันทึกโดยเดบติ บญั ชหี นึง่ และเครดิตอกี บัญชีหนง่ึ ดว้ ยจำนวนเงนิ ท่เี ท่ากันเสมอ เรียกวา่ บญั ชีนนั้ ไดด้ ลุ กนั แตใ่ นบางคร้ังรายการค้าที่ เกิดขนึ้ ในเวลาเดียวกันมหี ลายบญั ชี อาจบัญชี อาจบันทึกบัญชีโดยเดบติ หรือเครดิตบัญชหี ลายบญั ชรี วมกนั ได้ เรียกว่า การรวมรายการ (Compound entry) แต่จำนวนเงินรวมของเดบิตและเครดติ จะตอ้ งเท่ากันเสมอ นอกจากนนั้ เม่ือบันทึกรายการค้าเรยี บรอ้ ยแลว้ ยอดคงเหลือของแตล่ ะบัญชีที่มี ยอดดลุ เดบติ เมื่อนำมารวมกัน จะเทา่ กบั ยอดคงเหลือของแต่ละบญั ชีที่มียอดดุลเครดติ ซ่ึงเป็นไปตามหลักสมการบัญชีที่ว่า สนิ ทรัพย์ เท่ากบั หนี้สนิ และทุนรวมกัน หลักการบันทึกบญั ชีตามระบบบัญชคี ู่ การบนั ทึกบัญชตี ามระบบบัญชีคูข่ องแต่ละหมวดบญั ชี มีหลักดังน้ี 1. หมวดบัญชสี ินทรัพย์ รายการ คา้ ใดท่วี ิเคราะห์แลว้ มีผลทำให้สินทรัพยเ์ พ่มิ ขนึ้ จะบันทึกไว้ทางด้านเดบติ สว่ นรายการค้าใด ทวี่ เิ คราะหแ์ ล้วมีผลทำใหส้ ินทรัพย์ลดลงจะบันทึกไวท้ างด้าน เครดติ 2. หมวดบัญชีหน้ีสิน รายการค้าใดที่ วเิ คราะห์แล้วมผี ลทำใหห้ น้สี ินเพิ่มขน้ึ จะบันทึกไวท้ างด้านเครดิตสว่ นรายการ คา้ ใดที่ วเิ คราะหแ์ ลว้ มีผลทำใหห้ นส้ี นิ ลดลงจะบนั ทกึ ไวท้ างด้านเดบิต 3. หมวดบัญชที ุน รายการ ค้าใดทีว่ ิเคราะหแ์ ล้วมผี ลทำให้ทุนเพิ่มขน้ึ จะบันทึกบัญชไี วท้ างด้านเครดิต ส่วนรายการค้าใด ทว่ี ิเคราะห์แลว้ มีผลทำให้ทนุ ลดลงจะบนั ทกึ ไว้ทางด้านเดบิต 4. หมวดบัญชรี ายได้ จาก การวเิ คราะหส์ มการบญั ชี ถ้าบญั ชรี ายไดเ้ พิ่มขน้ึ มผี ลทำให้บัญชที นุ เพ่ิม ดังนั้น การวิเคราะหย์ ดึ ตามหลักหมวดบัญชที ุน กล่าวคือ ถา้ รายได้เพิม่ ขึ้นจะบนั ทึกบญั ชีดา้ นเครดิต ถา้ รายได้ลดลงจะบนั ทกึ บัญชี ทางดา้ นเดบิต
5. หมวดบญั ชคี า่ ใชจ้ ่าย จาก การวิเคราะห์สมการบัญชี ถ้าบัญชีคา่ ใชจ้ ่ายเพ่มิ ขึ้นมผี ลทำใหบ้ ัญชที นุ ลดลงดังนัน้ หลักการ วเิ คราะห์ ยดึ ตามหลักหมวดบัญชีทุนเช่นกนั กล่าวคอื ถา้ คา่ ใช้จา่ ยเพ่ิมขน้ึ จะบนั ทึกทางด้านเดบติ ถ้าค่าใชจ้ ่าย ลดลงจะบันทึกทาง ด้านเครดิต หมวดบญั ชแี ละสมการบัญชี หมวดบัญชี หมายถงึ การจัดหมวดหมูบ่ ญั ชโี ดยแยกประเภทออกเป็น 5 หมวดบญั ชี ดังน้ี 1. สินทรัพย์ ใชห้ มวดบัญชแี ทนด้วยเลข 1 2. หน้สี ิน ใช้หมวดบญั ชีแทนดว้ ยเลข 2 3. สว่ นของเจา้ ของ หรอื ทนุ ใช้หมวดบญั ชีแทนด้วยเลข 3 4. รายได้ ใชห้ มวดบัญชแี ทนด้วยเลข 4 5. ค่าใชจ้ ่าย ใช้หมวดบญั ชแี ทนดว้ ยเลข 5
บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2532), ระเบยี นการเงนิ 1 และระเบียนการเงนิ 2 หนังสือเรียน พมิ พค์ รง้ั ท่ี 9. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว. นนั ท์ ศรีสุวรรณ. (2549),บัญชเี บอื้ งตน้ 1. หนงั สือเรียนสาระการเรียนรเู้ พม่ิ เติมงานธุรกิจ, กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักพมิ พ์วังอักษร นนั ทยิ า ศภุ ราชโยธนิ . (2550). แบบฝึกทกั ษะงานวชิ าระเบียนการเงนิ , คน้ เม่อื มนี าคม 10, 2556, จาก http://gotoknow.org/file/nuntiya/innovation, ปยิ ฉัตร วุฒิสรรพ์. (2550), รายงานการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น วิชาระเบียนการเงนิ ง 30282 ช้นั มธั ยมศึกษา ปที ่ี 2. คน้ เมอื่ มีนาคม 10, 2556, จาก http://www.horpra.ac.th/pdf /krupiyachat.pdf. สวทช. (2557). ความหมายของระเบียน คน้ เมอื่ มนี าคม 10, 2557, จาก http://dict.longdo.com/search/ https://tanateauditor.com/accounting-equation/ search/
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: