Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป หลักสูตรการทำหมอนฟักทอง

สรุป หลักสูตรการทำหมอนฟักทอง

Published by supavadee, 2023-03-16 17:23:52

Description: สรุป หลักสูตรการทำหมอนฟักทอง

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการศนู ยฝ์ ึ กอาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการรบิ บ้ินโปรยทาน ปี งบประมาณ 2566 กศน.ตาบลโชคชยั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา

บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอโชคชัย ท่ี ศธ 0210.3610/ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เร่ือง สรปุ ผลการดำเนินงาน โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรยี น ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอโชคชยั 1. เรื่องเดมิ ตามที่ งานการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอโชคชัย ได้จัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรอาชีพการทำ หมอนฟักทอง ในระหว่างวันที่ 24-27 มกราคม 2566 ณ ศาลาบ้านสระประทุมใหม่พัฒนา หมู่ที่ 14 ตำบลโชค ชัย อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา เพื่อให้ประชาชนในตำบลโชคชัย ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้นำ ความรู้ ทักษะในการทำหมอนฟักทอง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถลดรายจ่าย ให้กับตนเอง และครอบครัว แก้ไขปัญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ิต เสรมิ สร้างความเข้มแข็งใหก้ บั ชุมชน สงั คม นัน้ 2. ข้อพิจารณา งานการศึกษาต่อเนื่อง ได้ดำเนินการสรุปผล โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร อาชีพการทำหมอนฟกั ทอง เรยี บร้อยแลว้ รายละเอียดดงั แนบ 3. ข้อกฎหมาย ระเบยี บ คำสง่ั - 4. ขอ้ เสนอเพอ่ื พจิ ารณา เพอื่ โปรดทราบ (นางสาวสภุ าวดี ญาติปลม้ื ) ครู กศน.ตำบล ความเห็นของเจา้ หน้าที่งานการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง เพือ่ โปรดทราบ (นางจงรักษ์ เชื่อปญั ญา) ครู อาสาสมัคร กศน. ทราบ (นางจีระภา วฒั นกสิการ) ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอโชคชยั

คำนำ เอกสารสรุปผลโครงการเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมวิธีการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตร อาชีพการทำหมอนฟักทอง จำนวน 6 ชั่วโมง ของ กศน.ตำบลโชคชัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอโชคชยั คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม และพฒั นางานการศกึ ษาต่อเน่อื ง อืน่ ๆ ตอ่ ไป กศน.ตำบลโชคชัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอโชคชัย สรุปผลการดำเนินงานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2566 ก

สารบัญ เน้ือหา หน้า คำนำ ก สารบญั ข บทท่ี 1 บทนำ 1 หลักการและเหตุผล 2 วตั ถุประสงค์ 2 เปา้ หมาย 3 ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 3 เครอื ข่ายท่ีเกยี่ วข้อง 3 ผลลพั ธ์ 3 ดัชนต้ี ัวชว้ี ดั ผลสำเร็จโครงการ 3 การตดิ ตามและประเมินผล 4 บทท่ี 2 เอกสารที่ศึกษาและงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 4 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 8 ประวัตคิ วามเป็นมาหมอนฟกั ทอง 13 19 บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงาน 22 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก รายชื่อผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม ตารางวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรม Google sheet แบบประเมนิ โครงการ โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง คณะผจู้ ดั ทำ สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2566 ข

บทที่ 1 บทนำ หลกั การและเหตุผล ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งด่วน ได้แก่ ความปลอดภัยของผู้เรียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บิ๊กดาต้า (Big Data) การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศ อาชีวศึกษา การพัฒนาทกั ษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต และการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความตอ้ งการ เป็นพิเศษ สำนักงาน กศน.จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือการพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชพี Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์และอาชีพเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความ เข้าใจในการพัฒนาและต่อยอดประกอบอาชีพของตนเองรวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและพัฒนา ผลติ ภณั ฑ์ในชุมชน อนั จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้ให้กบั ประชาชนหรือกลุ่มเปา้ หมาย ท่อี ย่ใู นชุมชน ต่อไป หมอน เป็นเครื่องใช้ประจำวันในครัวเรือน ซึ่งอยู่กับวัฒนธรรมไทยมาตั้งแต่โบราณ โดยมี หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ทกี่ ลา่ วถงึ ธรรมเนียมการใชห้ มอนนับย้อนไปไกลไดถ้ งึ สมัยสุโขทัย ในจารกึ หลกั ที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหง กล่าวถึงประเพณีการทำบุญกฐิน ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงเสด็จพระราชดำเนินไปบำเพ็ญ พระราชกุศลถวายผ้ากฐินในเขตอรัญญกิ และมีการระบุถึงสิ่งของเครื่องใช้ที่นำไปถวายเป็นบริวารผา้ กฐิน โดย มขี องใชท้ เ่ี รยี กว่า หมอนน่งั และ หมอนนอน สำหรบั ถวายแก่พระสงฆ์ นอกจากนี้ ในสำนวนไทยกม็ ีคำวา่ ร่วม เรียงเคียงหมอน หมายถึง การร่วมใช้ชีวิตอยู่เป็นครอบครัว ก็เป็นหลักฐานการมีอยู่ของหมอนมาตั้งแต่โบราณ การใช้หมอนในชีวิตประจำวันถือเป็นวัฒนธรรมสากล แต่ก็มีความแตกต่างของรูปแบบตามแต่ละวัฒนธรรม อย่างเช่น คนจีนนิยมใช้หมอนไม้ เพราะการแพทย์จีนเชื่อว่าการนอนหนุนสิ่งที่อ่อนนุ่มเกินไปส่งผลเสียต่อ สุขภาพ หรือหมอนตามแบบตะวันตกที่เรียกว่า Pillow ก็มีลักษณะเหมือนของที่ใช้ในปัจจุบัน ในเชิง วัฒนธรรมนิยมแยกประเภทของหมอนไปตามวัตถุประสงค์การใช้ และบทบาทหน้าที่ของหมอน หมอนท่ี คุ้นเคยที่สุดในวัฒนธรรมไทย คือ หมอนในห้องนอน ซึ่งบนเตียงนอนของคนไทยมีหมอนอยู่ 2 ประเภท ประเภทแรกคือ หมอนหนุน หรือ หมอนนอน ก็คือหมอนที่ใช้หนุนศีรษะสำหรับนอน ปัจจุบันน้ีมีลักษณะแบบ ตะวันตก แต่เดิมหมอนหนุนของไทยเป็นหมอนที่เย็บเป็นฟูกทีละเปลาะ แล้วจึงพับๆ เข้าด้วยกันเป็นรูป สี่เหลี่ยม นิยมเรียกว่า หมอนหน้าอิฐ ปัจจุบันยังคงเห็นได้ในวัฒนธรรมอีสาน เย็บด้วยผ้าทอลายขิดท่ี เรียกว่า หมอนขิด ซึ่งนอกจากเป็นหมอนหนุนของคนไทยมาแต่ดั้งแต่เดิม ยังนิยมใช้เป็นหมอนสำหรับถวายพระใน เทศกาลงานบญุ ตา่ ง ๆ ดว้ ย ท้งั ยังเป็นของทร่ี ะลกึ สำหรบั ผไู้ ปทำบุญ ประเภทที่สองคือ หมอนข้าง ใช้กอดเพื่อ ความสบายของผู้นอน และใช้ทับชายมุ้งไม่ให้เปิดออก นอกจากในห้องนอน ยังมีหมอนในห้องนั่งเล่นหรือ ห้องรับแขกของคนไทย เรียกว่า หมอนอิง แต่นิยมทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสวางไว้ที่พนักเก้าอี้สำหรับพิง สรุปผลการดำเนินงานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 1

ปัจจุบันนี้ ยังเห็นได้เวลาพระมหากษัตริย์ หรือพระราชวงศ์ผู้ใหญ่เสด็จออกในงานพิธีการต่าง ๆ ที่พระราช อาสน์จะมีหมอนอิงหรือเรียกคำราชาศัพท์ พระเขนยอิง วางถวายไว้เวลาที่ประทับเพื่อความสำราญพระ อิรยิ าบถ หมอนอิงอีกรปู แบบหนง่ึ คือ หมอนขวาน ทำเปน็ รปู สามเหลี่ยม ซึ่งเดมิ คนไทยนง่ั บนพืน้ กระดานหรือ บนตั่ง ก็จำต้องมีหมอนขวานมาอิงสีข้างเพื่อช่วยผ่อนคลายอากัปกิริยา อีกประเภทหนึ่งคือ หมอนรองนั่ง ใช้ หนุนนัง่ บนพน้ื แขง็ ๆ ปจั จุบันมกั เรยี กวา่ เบาะรองน่งั หมอนน่งั มักวางคู่กับหมอนอิง ประกอบกริ ิยาของคนไทยท่ี ชอบนั่งๆ นอนๆ บนพื้น ซึ่งปัจจุบันมีการนำหมอนนั่งกับหมอนขวานมาเย็บติดกันเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว นอกจากนี้ มีหมอนอีกลักษณะที่นิยมใช้ในพิธีการต่าง ๆ ท้ังของหลวงและของราษฎร์ เรียกว่า หมอนรูป ฟักทอง อย่างเช่นในพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่พระบรมวงศานุวงศ์หรือข้าราชการ ตอนที่จะ พระราชทานตัวเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เจ้าพนักงานที่รับผิดชอบการเชิญเครื่องราชฯ ขึ้นทูลเกล้าถวาย จะใช้ พานรองหมอนรูปฟกั ทองสำหรบั วางดวงตราหรือสายสะพายบนนั้น ในพิธีศพของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชฯ โดยเฉพาะชั้นสายสะพาย หน้าหีบศพจะมี หมอนรูปฟักทองสำหรับวางเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือสายสะพายที่ได้รับพระราชทานมา ในพิธีประดับยศ ข้าราชการทหารตำรวจ หรือการประดับเครื่องหมายต่าง ๆ ก็นิยมใช้หมอนรูปฟักทองรองเครื่องหมายยศหรอื เข็มเครื่องหมายที่จะประทานในพิธี ขณะเดียวกันในพิธีมงคลสมรส บางครั้งก็จะใช้หมอนรูปฟักทองสำหรับ เจ้าบ่าวเจ้าสาววางมือให้ผู้ใหญ่รดน้ำสังข์ ก็เป็นอีกวัตถุประสงค์หนึ่งของหมอนรูปฟักทอง ซึ่งเป็นการเพ่ิม รายได้อีกทางหนึ่งให้กับตนเองครอบครัว และการสร้างอาชีพให้กับชุมชน และสามารถสืบสานความรู้ ภูมิ ปญั ญาแก่อนชุ นรุ่นหลงั สบื ไป เพื่อสนองนโยบายของสำนักงาน กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยกศน.ตำบลโชคชัย ตระหนักถึงความสำคัญดังกลา่ ว และได้ดำเนินการ สำรวจกลุ่มเป้าหมายในเชตพื้นที่ตำบลโชคชัย และมีความประสงค์ฝึกทักษะในการพัฒนาอาชีพการทำหมอน ฟักทอง จงึ ได้จดั โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทำหมอนฟักทอง จำนวน 19 ช่วั โมง เพื่อให้ ประชาชน ได้รับความรู้ ทักษะ ในการทำหมอนฟักทอง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถลด รายจ่าย สร้างรายได้ สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้กับตนเองและครอบครัว แก้ไขปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวติ เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ บั ตนเอง ชมุ ชน สังคม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย ได้รับความรู้ ทักษะ ในการทำหมอน ฟกั ทอง และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั 4.2 สามารถลดรายจ่าย สร้างรายได้ สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับตนเองและครอบครัว แก้ไข ปัญหา และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ เสริมสร้างความเขม้ แข็งใหก้ บั ตนเอง ชุมชน สังคม เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ ประชาชน ตำบลโชคชยั จำนวน 6 คน สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปีงบประมาณ 2565 2

เชงิ คณุ ภาพ ประชาชนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ รอ้ ยละ 90 มคี วามรู้ ทกั ษะ ในการทำหมอนฟกั ทอง และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวสุภาวดี ญาตปิ ลม้ื ครู กศน.ตำบล นางจงรกั ษ์ เช่อื ปัญญา ครู อาสาสมคั ร กศน. นายสมชาย มุ่งภกู่ ลาง ครู อาสาสมัคร กศน. ภาคเี ครอื ขา่ ย - ผนู้ ำชมุ ชนตำบลโชคชยั - อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหม่บู า้ น (อสม.) ตำบลโชคชยั โครงการทเี่ กย่ี วข้อง โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชพี การทำเจลลา้ งมือ ผลลพั ธ์ (Outcome) ประชาชนในตำบลโชคชยั มีความรู้ และทักษะ ในการสรา้ งอาชีพและมีรายได้ ลดรายจ่ายให้ ตนเองและครอบครัว ดัชนีชวี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ตัวช้วี ัดผลผลติ (Outputs) ประชาชนในตำบลโชคชยั ท่เี ข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 6 คน มคี วามรู้ และทกั ษะ ในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ลดรายจา่ ย ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์ (Outcomes) ประชาชนในตำบลโชคชยั ท่เี ขา้ ร่วมโครงการฯ รอ้ ยละ 90 นำความร้ทู ่ไี ดร้ ับไปประกอบ อาชีพ สรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ย การประเมินและติดตามผล -สังเกตการมีส่วนร่วม -แบบประเมินโครงการ ฯ สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 3

บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ ง ในการจดั ทำโครงการครง้ั นี้ได้ทำการศึกษาค้นควา้ เนื้อหาจากเอกสารการศึกษาและงานวจิ ัยท่ี เกีย่ วข้อง ดังตอ่ ไปน้ี 1. นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 4. การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี และเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของ กลมุ่ เปา้ หมาย เชน่ ผ้พู กิ าร ผู้สงู อายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกล่มุ อาชีพใหม่ท่รี องรับ Disruptive Technology เพ่ือการเข้าสู่การรบั รองสมรรถะและไดร้ ับคณุ วุฒิตามกรอบคณุ วฒุ ิแห่งชาติ รวมท้ังสามารถนำ ผลการเรียนรู้และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กล่มุ เป้าหมายมีการศกึ ษาในระดบั ท่ีสงู ขึน้ 4.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น \"ส่งเสริม ความรู้สรา้ งอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวติ ที่ดี\" ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอด ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นเพอื่ สร้างมลู ค่าเพิ่ม พฒั นาส่วู สิ าหกิจชมุ ซน ตลอดจบเพิม่ ช่องทางประชาสมั พันธ์และชอ่ งทาง การจำหนา่ ย หมอน เป็นเคร่ืองใช้ประจำวันในครัวเรือน ซง่ึ อยกู่ ับวฒั นธรรมไทยมาตงั้ แต่โบราณ โดยมีหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ทก่ี ลา่ วถึงธรรมเนยี มการใชห้ มอนนับยอ้ นไปไกลได้ถึงสมยั สุโขทยั ในจารึกหลักที่ 1 ของพอ่ ขนุ รามคำแหง กล่าวถงึ ประเพณกี ารทำบุญกฐิน ซง่ึ พอ่ ขุนรามคำแหงเสด็จพระราชดำเนนิ ไปบำเพ็ญพระราชกศุ ล ถวายผ้ากฐนิ ในเขตอรัญญิก และมกี ารระบุถึงสงิ่ ของเครื่องใชท้ นี่ ำไปถวายเป็นบรวิ ารผ้ากฐนิ โดยมขี องใช้ที่ เรยี กว่า หมอนนั่ง และ หมอนนอน สำหรับถวายแกพ่ ระสงฆ์ นอกจากนี้ ในสำนวนไทยกม็ คี ำว่า รว่ มเรียงเคียง หมอน หมายถึง การรว่ มใชช้ วี ติ อยู่เป็นครอบครัว กเ็ ปน็ หลกั ฐานการมอี ยขู่ องหมอนมาตง้ั แตโ่ บราณ การใช้ หมอนในชีวิตประจำวันถอื เปน็ วฒั นธรรมสากล แต่กม็ ีความแตกตา่ งของรปู แบบตามแตล่ ะวัฒนธรรม อยา่ งเช่น คนจีนนยิ มใช้หมอนไม้ เพราะการแพทยจ์ ีนเชอ่ื วา่ การนอนหนุนสิง่ ท่ีออ่ นนุ่มเกนิ ไปสง่ ผลเสียตอ่ สุขภาพ หรอื หมอนตามแบบตะวนั ตกที่เรียกว่า Pillow กม็ ีลกั ษณะเหมอื นของท่ใี ช้ในปัจจบุ ัน ในเชิงวฒั นธรรมนยิ มแยก ประเภทของหมอนไปตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้ และบทบาทหนา้ ทีข่ องหมอน หมอนทค่ี ุ้นเคยที่สดุ ในวัฒนธรรม ไทย คอื หมอนในห้องนอน ซงึ่ บนเตียงนอนของคนไทยมีหมอนอยู่ 2 ประเภท ประเภทแรกคอื หมอนหนนุ หรอื หมอนนอน กค็ ือหมอนทีใ่ ช้หนนุ ศรี ษะสำหรับนอน ปัจจุบนั นี้มีลักษณะแบบตะวนั ตก แตเ่ ดมิ หมอนหนนุ ของ ไทยเป็นหมอนที่เยบ็ เปน็ ฟกู ทีละเปลาะ แล้วจึงพบั ๆ เขา้ ด้วยกันเปน็ รูปสี่เหล่ยี ม นิยมเรียกวา่ หมอนหนา้ อฐิ ปัจจบุ นั ยังคงเห็นได้ในวัฒนธรรมอสี าน เยบ็ ด้วยผา้ ทอลายขิดทเ่ี รียกวา่ หมอนขิด ซง่ึ นอกจากเป็นหมอนหนนุ ของคนไทยมาแตด่ ัง้ แตเ่ ดมิ ยังนยิ มใช้เป็นหมอนสำหรบั ถวายพระในเทศกาลงานบุญตา่ ง ๆ ดว้ ย ทั้งยงั เป็นของ สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 4

ทีร่ ะลกึ สำหรบั ผู้ไปทำบญุ ประเภททส่ี องคอื หมอนขา้ ง ใช้กอดเพือ่ ความสบายของผูน้ อน และใชท้ ับชายม้งุ ไม่ใหเ้ ปดิ ออก นอกจากในห้องนอน ยังมีหมอนในหอ้ งนั่งเลน่ หรือห้องรับแขกของคนไทย เรียกว่า หมอนอิง แต่ นยิ มทำเปน็ รูปสี่เหลีย่ มจัตุรสั วางไวท้ พ่ี นกั เก้าอสี้ ำหรบั พงิ ปจั จุบันนี้ ยงั เห็นไดเ้ วลาพระมหากษตั รยิ ์ หรือพระ ราชวงศผ์ ้ใู หญ่เสด็จออกในงานพิธกี ารตา่ ง ๆ ทพี่ ระราชอาสน์จะมหี มอนองิ หรือเรียกคำราชาศัพท์ พระเขนยองิ วางถวายไว้เวลาทปี่ ระทบั เพือ่ ความสำราญพระอริ ิยาบถ หมอนอิงอกี รปู แบบหนึง่ คอื หมอนขวาน ทำเป็นรปู สามเหลีย่ ม ซง่ึ เดมิ คนไทยนง่ั บนพื้นกระดานหรอื บนตงั่ กจ็ ำตอ้ งมีหมอนขวานมาอิงสีขา้ งเพื่อชว่ ยผ่อนคลาย อากัปกิริยา อีกประเภทหนงึ่ คือ หมอนรองนง่ั ใชห้ นุนน่ังบนพืน้ แข็งๆ ปจั จบุ นั มกั เรยี กวา่ เบาะรองนั่ง หมอนนั่ง มกั วางคูก่ บั หมอนองิ ประกอบกิรยิ าของคนไทยทช่ี อบน่งั ๆ นอนๆ บนพ้ืน ซงึ่ ปัจจบุ ันมกี ารนำหมอนนัง่ กับ หมอนขวานมาเย็บติดกนั เพ่อื วตั ถุประสงคด์ ังกลา่ ว นอกจากน้ี มหี มอนอกี ลกั ษณะท่ีนยิ มใช้ในพธิ กี ารตา่ ง ๆ ท้งั ของหลวงและของราษฎร์ เรยี กว่า หมอนรปู ฟกั ทอง อย่างเชน่ ในพธิ ีพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณแ์ กพ่ ระ บรมวงศานุวงศ์หรอื ข้าราชการ ตอนทจ่ี ะพระราชทานตวั เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เจ้าพนักงานทรี่ บั ผดิ ชอบการ เชญิ เครอื่ งราชฯ ข้ึนทลู เกล้าถวาย จะใชพ้ านรองหมอนรูปฟกั ทองสำหรับวางดวงตราหรือสายสะพายบนน้ัน ในพิธศี พของข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ท่ไี ด้รบั พระราชทานเครือ่ งราชฯ โดยเฉพาะช้ันสายสะพาย หนา้ หบี ศพจะมี หมอนรูปฟกั ทองสำหรับวางเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณห์ รอื สายสะพายท่ไี ดร้ บั พระราชทานมา ในพิธีประดับยศ ข้าราชการทหารตำรวจ หรือการประดับเครือ่ งหมายต่าง ๆ กน็ ยิ มใชห้ มอนรปู ฟกั ทองรองเครอ่ื งหมายยศหรอื เขม็ เครือ่ งหมายทจ่ี ะประทานในพธิ ี ขณะเดยี วกนั ในพธิ มี งคลสมรส บางครั้งก็จะใชห้ มอนรูปฟกั ทองสำหรับ เจ้าบ่าวเจ้าสาววางมอื ใหผ้ ู้ใหญร่ ดนำ้ สงั ข์ ก็เปน็ อีกวัตถปุ ระสงค์หนึ่งของหมอนรปู ฟักทอง ซึ่งเปน็ การเพ่ิมรายได้ อีกทางหนึง่ ใหก้ ับตนเองครอบครัว และการสร้างอาชีพใหก้ ับชมุ ชน และสามารถสืบสานความรู้ ภูมปิ ัญญาแก่ อนุชนรนุ่ หลงั สบื ไป วัสดุ อุปกรณ์ ขนั้ ตอนวธิ ีการทำหมอนฟักทอง วสั ดุ อุปกรณ์ 1. ผา้ ดิน้ เงินด้นิ ทองลายไทยกว้าง 1.10 เมตร 2. เข็มใหญ่ (หวั ทอง) 3. เข็มเล็ก (เข็มเย็บผ้าธรรมดา) 4. เข็มรอ้ ยพวงมาลัย 5. นนุ่ (ประมาณ 7 ขีด) 6. ดนิ สอ 2B 7. ไมบ้ รรทดั พลาสตกิ ยาว 60 เซนติเมตร 8. ดา้ ย (สีตามผ้าทเ่ี ลอื ก) 9. กระดุมสำหรับอัดเม็ด (จากผา้ ทีเ่ ลือก) จำนวน 2 เม็ด 10. กรรไกร สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 5

ข้ันตอนวธิ ีการทำหมอนฟกั ทอง 1. กางผ้าด้ินเงนิ ด้ินทองท่พี ื้น 2. เอาไม้บรรทัดมาทาบ เพ่ือวดั ขนาดตามต้องการ คอื กว้าง 109 x 51.5 เซนตเิ มตร 3. เอาไมบ้ รรทัดมาทาบ เพ่ือแบง่ เป็นช่องดงั นี้ 3.1) จากดา้ นบนวัดลงมา 10 เซนตเิ มตร 3.2) วดั จำนวน 8 ช่อง กวา้ ง 1.5 ซม. สว่ นแนวตั้งเพื่อตดั เส้นแนวนอน ทัง้ 8 เส้น จำนวน 66 ชอ่ ง กว้าง 1.5 ซม. 3.3) วดั ลงมา 7.5 เซนตเิ มตร 3.4) วดั จำนวน 8 ชอ่ ง กว้าง 1.5 ซม. สว่ นแนวตัง้ เพอื่ ตัดเส้นแนวนอน ท้ัง 8 เส้น จำนวน 66 ชอ่ ง กว้าง 1.5 ซม. 3.5) วดั ลงมา 10 เซนติเมตร 4. ใชด้ ินสอ 2 บี ขีดเส้นในตาราง (ตามผงั ลายหมอนฝกั ทองตามแบบ 1-3) สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 6

5. จากน้นั เยบ็ รมิ ผา้ ด้วยมอื โดยเยบ็ ขอบบน ขอบล่าง และขอบขา้ งโดยเยบ็ ตามเสน้ ประในแบบ จากนนั้ ใช้จกั รเย็บผา้ เย็บซำ้ เพ่ือความแน่นหนา 6. ใชเ้ ขม็ รอ้ ยดา้ ยตามสขี องผา้ สอยตามลายท่ไี ดข้ ีดไว้ การสอยตอ้ งสอดทีละแถว 7. จากนั้นใชด้ า้ ยประมาณ 50 เซนตเิ มตร ใช้หนาพอประมาณ (จำนวน 10 เสน้ ) แล้วรอ้ ยกับเข็ม หัวทอง เพือ่ เย็บด้านบนและด้านล่างของหมอนฟักทอง ในการเย็บต้องจดั จบี ผ้าตามรอยของหมอน 8. โดยเม่ือเย็บจบั จีบเสร็จแล้วดา้ นหนึง่ ให้มดั เงอ่ื นที่ไม่สามารถแกะได้ สว่ นอีกด้านหนึง่ ให้เหลอื ด้าย ยาว และมัดปมเพื่อสามารถแกะยดั นุ่นไปได้ 9. ยัดนนุ่ ไปประมาณ 7 ขีด หรือพอประมาณว่าหมอนฟกั ทองแน่นดีแล้ว 10. จากน้นั ดึงด้ายดา้ นท่ียังมัดไม่แน่น ใหม้ ดั เงอื่ นท่ีไมส่ ามารถแกะได้ 11. ใช้ด้ายประมาณ 50 เซนตเิ มตร ใช้หนาพอประมาณ (จำนวน 10 เสน้ ) แล้วร้อยกับเขม็ ร้อย พวงมาลัย มดั ปมท่ที ้ายด้าย 12. สอดเข็มเขา้ ขา้ งหลังกระดุมท่ที ำมา และนำเข็มแทงเข้าไปในดา้ นใดด้านหนึง่ ของหมอน เพื่อให้ ทะลอุ ีกดา้ น 13. จากนั้นสอดเขม็ เขา้ ข้างหลงั กระดมุ ท่ีทำมาอกี เมด็ และแทงเขม็ กลบั มาดา้ นเดิมเพือ่ ให้ทะลุอกี ด้าน 14. ดึงเชอื กใหต้ งึ สงั เกตหมอนฟักทองวา่ มรี ปู แบบท่สี วยงามหรอื ยัง จากนน้ั มัดเชือกให้แน่น 15. ตรวจดูความเรียบรอ้ ย จะได้หมอนฟกั ทองท่ีเสร็จเรยี บรอ้ ยและมีความสวยงาม สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 7

บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง คณะทำงานได้ ดำเนนิ งาน ดงั น้ี 1. สำรวจกลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนในพน้ื ท่ี ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จำนวน 6 คน 2. ประชุม/ชี้แจงวางแผนการดำเนินงาน บุคลากร กศน.อำเภอโชคชัย เพื่อกำหนดรูปแบบและวาง แผนการดำเนินงาน ในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2566 ณ กศน.อำเภอโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสมี า 3. จัดเตรียมสื่อ/วัสดุอุปกรณ์ และประสานงาน เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเอกสารวัสดอุ ุปกรณ์ และ สถานท่ี ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2566 ณ ศาลาบ้านสระประทุมใหมพ่ ัฒนา หมทู่ ่ี 14 ตำบลโชคชยั อำเภอ โชคชยั จังหวัดนครราชสมี า 4. ดำเนินการจัดโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง ณ ศาลาบ้านสระ ประทุมใหม่พัฒนา หมู่ที่ 14 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ดำเนินการ ในวันที่ 24-27 มกราคม พ.ศ. 2566 โดยมี นางจำรอง หงายกระโทก เปน็ วิทยากรให้ความรู้ ดังน้ี 1. ช่องทางการประกอบอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง วิทยากรให้ความรู้ในเรื่องความสำคัญในการประกอบอาชีพ การลงทุน ความต้องการของตลาด การ เพิม่ มลู ค่าผลติ ภัณฑ์ ความสำคญั ของการประกอบอาชีพ 1. ทำให้มีรายได้ประจำเลี้ยงตนเองและครอบครัวโดยซื้อหรือจัดหาสิ่งจำเป็นสำหรับการ ดำรงชีวติ 2. ทำให้มีโอกาสใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ทำงานให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติ 3. ทำให้มีโอกาสสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเองและวงศ์ตระกูล เป็นที่ยอมรับของบุคคลใน สังคม 4. ทำใหม้ ีหลักฐานมนั่ คง เปน็ ทเ่ี คารพนบั ถอื ของบุคคลอื่นๆ 5. ทำใหร้ ้จู กั ใชเ้ วลาว่าใหเ้ ปน็ ประโยชน์ จะได้ไมป่ ระพฤติตนไร้สาระ 6. ทำให้บุคคลเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ที่สามารถพึ่งตนเองได้ และยังทำประโยชน์ แกส่ ังคมโดยส่วนร่วมด้วย 2. การบริหารจดั การในการประกอบอาชีพการทำหมอนฟักทอง วทิ ยากรให้ความรู้เร่อื ง - แหลง่ จัดซ้อื วัสดุ อปุ กรณ์ วตั ถดุ ิบ คูแ่ ข่ง ควรเลอื กซ้อื วัสดุตามแหลง่ ทีม่ ีราคาถูก และมี คณุ ภาพ สรุปผลการดำเนินงานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 8

- การจดั จำหนา่ ย /การทำบัญชรี ายรับ รายจ่าย ควรจดั จำหน่ายในพ้ืนที่ ตลาดในชุมชน มี การจดั ทำบญั ชีรายรับรายจ่ายเพ่อื ทราบ ต้นทนุ ผลกำไรในการทำหมอนฟกั ทอง - การบรกิ ารการตลาด /บรหิ ารจัดการกลุ่ม ควรมกี ารรวางแผนทางการตลาด การขายใน โรงงาน หรือในตลาดใกล้บ้าน รวมถึงการขายผา่ นออนไลน์ วิทยากรแนะนำให้ความรู้แนะนำเกย่ี วกบั การทำหมอนฟักทองในรูปแบบต่าง ๆ พรอ้ มกบั ให้สมาชกิ กลมุ่ ฝึกปฏบิ ัติ วัสดุอปุ กรณ์ 1. ผา้ ดน้ิ เงนิ ดิ้นทองลายไทยกว้าง 1.10 เมตร 2. เข็มใหญ่ (หัวทอง) 3. เขม็ เลก็ (เขม็ เย็บผา้ ธรรมดา) 4. เข็มร้อยพวงมาลัย 5. นนุ่ (ประมาณ 7 ขีด) 6. ดนิ สอ 2B 7. ไมบ้ รรทัดพลาสตกิ ยาว 60 เซนตเิ มตร 8. ดา้ ย (สีตามผา้ ท่ีเลอื ก) 9. กระดมุ สำหรับอดั เม็ด (จากผา้ ท่ีเลือก) จำนวน 2 เมด็ 10. กรรไกร ขน้ั ตอนวิธกี ารทำหมอนฟกั ทอง 1. กางผ้าด้ินเงนิ ด้นิ ทองทพี่ ื้น 2. เอาไมบ้ รรทัดมาทาบ เพ่ือวดั ขนาดตามต้องการ คอื กวา้ ง 109 x 51.5 เซนติเมตร 3. เอาไม้บรรทดั มาทาบ เพอ่ื แบง่ เป็นชอ่ งดังนี้ 3.1) จากดา้ นบนวัดลงมา 10 เซนติเมตร 3.2) วดั จำนวน 8 ช่อง กวา้ ง 1.5 ซม. สว่ นแนวต้ังเพื่อตัดเสน้ แนวนอน ท้งั 8 เส้น จำนวน 66 ช่อง กว้าง 1.5 ซม. 3.3) วดั ลงมา 7.5 เซนตเิ มตร 3.4) วดั จำนวน 8 ชอ่ ง กว้าง 1.5 ซม. สว่ นแนวตัง้ เพือ่ ตดั เสน้ แนวนอน ทัง้ 8 เส้น จำนวน 66 ช่อง กวา้ ง 1.5 ซม. 3.5) วดั ลงมา 10 เซนติเมตร 4. ใชด้ นิ สอ 2 บี ขดี เส้นในตาราง (ตามผงั ลายหมอนฝกั ทองตามแบบ 1-3) 5. จากนนั้ เย็บริมผา้ ด้วยมอื โดยเยบ็ ขอบบน ขอบลา่ ง และขอบข้างโดยเย็บตามเสน้ ประในแบบ จากนน้ั ใช้จกั รเยบ็ ผา้ เย็บซำ้ เพอ่ื ความแน่นหนา 6. ใช้เขม็ ร้อยดา้ ยตามสขี องผา้ สอยตามลายทีไ่ ด้ขีดไว้ การสอยต้องสอดทีละแถว สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 9

7. จากน้ันใชด้ ้ายประมาณ 50 เซนติเมตร ใช้หนาพอประมาณ (จำนวน 10 เสน้ ) แลว้ รอ้ ยกับเข็ม หัวทอง เพอื่ เย็บด้านบนและด้านล่างของหมอนฟักทอง ในการเยบ็ ตอ้ งจัดจบี ผ้าตามรอยของหมอน 8. โดยเม่ือเย็บจบั จบี เสร็จแล้วดา้ นหนง่ึ ใหม้ ัดเงื่อนทไ่ี มส่ ามารถแกะได้ สว่ นอีกด้านหนง่ึ ใหเ้ หลือดา้ ย ยาว และมดั ปมเพอื่ สามารถแกะยัดนุน่ ไปได้ 9. ยดั นุ่นไปประมาณ 7 ขดี หรือพอประมาณวา่ หมอนฟกั ทองแน่นดีแล้ว 10. จากนนั้ ดงึ ด้ายดา้ นทีย่ งั มดั ไม่แนน่ ใหม้ ดั เงอ่ื นทไี่ ม่สามารถแกะได้ 11. ใชด้ ้ายประมาณ 50 เซนติเมตร ใชห้ นาพอประมาณ (จำนวน 10 เสน้ ) แล้วรอ้ ยกบั เขม็ รอ้ ย พวงมาลัย มดั ปมที่ท้ายดา้ ย 12. สอดเข็มเข้าขา้ งหลังกระดุมท่ีทำมา และนำเข็มแทงเขา้ ไปในดา้ นใดดา้ นหน่งึ ของหมอน เพื่อให้ ทะลอุ ีกดา้ น 13. จากนัน้ สอดเข็มเขา้ ขา้ งหลงั กระดุมท่ที ำมาอกี เม็ด และแทงเข็มกลับมาดา้ นเดมิ เพือ่ ให้ทะลอุ กี ด้าน 14. ดึงเชือกให้ตึง สังเกตหมอนฟักทองวา่ มรี ูปแบบทีส่ วยงามหรอื ยัง จากน้นั มัดเชอื กให้แน่น 15. ตรวจดคู วามเรียบรอ้ ย จะได้หมอนฟักทองทีเ่ สรจ็ เรียบร้อยและมคี วามสวยงาม สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 10

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 11

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 12

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร อาชีพการทำหมอนฟักทอง มีกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ ตำบลโชคชัย จำนวน 6 คน เครื่องมือ ที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินโครงการ ได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซึ่งใช้โปรแกรม Google sheet เพื่อวิเคราะห์ คา่ สถิติท้ังหมด ดังมีรายละเอียดตอ่ ไปน้ี ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถี่ และ คา่ ร้อยละของตัวแปร ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอน ฟักทอง โดยการแจกแจงคา่ เฉลี่ย คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ ของตวั แปร ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการที่เข้าร่วมกจิ กรรม โดยการแจกแจงความถี่และค่า รอ้ ยละของตัวแปร ดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จำนวน และค่าร้อยละ ของผู้สอบแบบประเมินโครงการ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศกึ ษา และอาชพี (N=6) ขอ้ มลู สว่ นตัว จำนวน รอ้ ยละ 1. เพศ ชาย -- หญิง 6 100.0* รวม 6 100 2. อายุ ตำ่ กว่า 15 ปี -- 15 – 39 ปี 1 16.7 40 – 59 ปี 3 50.0* 60 ปีขน้ึ ไป 2 33.3 รวม 6 100 สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง ปีงบประมาณ 2565 13

ขอ้ มลู ส่วนตวั จำนวน ร้อยละ 3 50.0* 3. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 2 33.3 1 16.7 มัธยมศึกษาตอนต้น 6 100 มัธยมศึกษาตอนปลาย 4 66.7* 2 33.3 ปริญญาตรี - - - รวม - - 6 - 4. อาชพี เกษตรกรรม 100 รบั จา้ ง คา้ ขาย พนักงานของรัฐ/รัฐวิสาหกจิ ธุรกิจสว่ นตวั รวม หมายเหตุ : * หมายถึง ข้อมูลส่วนใหญ่ จากตาราง ที่ 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบประเมินโครงการ จำนวน 6 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนใหญ่มีอายุ 40 – 59 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.0 รองลงมา 60 ปีขึ้น ไป จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 และ 15-39 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 ส่วนใหญ่มีระดับ การศึกษา ระดับประถมศึกษา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 สำหรับ อาชีพ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.7 รองลงมา คือ รับจ้าง จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.3 ตามลำดับ ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอน ฟักทอง โดยการแจกแจงค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจำแนกระดบั ผลการประเมนิ โครงการ แบบมาตรฐานประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดบั ดงั น้ี 5 คะแนน หมายถงึ ระดับผลการประเมนิ มากที่สดุ 4 คะแนน หมายถงึ ระดบั ผลการประเมนิ มาก 3 คะแนน หมายถงึ ระดบั ผลการประเมนิ ปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ ระดบั ผลการประเมนิ น้อย 1 คะแนน หมายถงึ ระดับผลการประเมินนอ้ ยท่ีสุด N หมายถงึ จำนวนผูต้ อบแบบประเมิน ���̅��� หมายถงึ ระดบั ค่าเฉลย่ี ผลการประเมนิ สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปีงบประมาณ 2565 14

S.D. (Standard deviation) หมายถงึ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยระดับผลการประเมนิ ของผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงการ ค่าเฉลยี่ 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถึงระดับผลการประเมนิ มากทสี่ ุด คา่ เฉลย่ี 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถงึ ระดบั ผลการประเมินมาก คา่ เฉล่ีย 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถึงระดบั ผลการประเมนิ ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึงระดบั ผลการประเมนิ น้อย คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึงระดบั ผลการประเมินน้อยที่สดุ ตารางที่ 2.1 คา่ เฉลย่ี คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ในภาพรวมและ รายด้าน รายการ N = 6 ระดับผลการ 1. ด้านเนือ้ หา ̅X S.D. ประเมิน 2. ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 3. ด้านวิทยากร 4.42 0.25 มาก 4. ด้านการอำนวยความสะดวก 4.20 0.27 มาก 4.39 0.02 มาก 4.28 0.31 มาก รวม 4.32 0.13 มาก จากตารางที่ 2.1 พบว่า โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง มีผล การประเมินโครงการอยู่ในระดับมาก (X̅=4.32) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีผลการประเมินโครงการ ดา้ นเนื้อหา อย่ใู นระดับมาก (̅X=4.42) รองลงมาคือ ดา้ นวทิ ยากร อยู่ในระดบั มาก (X̅=4.39) ดา้ นการอำนวย ความสะดวก มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅X=4.28) และด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม (̅X=4.20) ตามลำดับ ตารางที่ 2.2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง ของผ้ตู อบแบบประเมินโครงการ ด้านเนื้อหา โดยจำแนกเป็น รายขอ้ ดงั นี้ สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 15

รายการ N=6 ระดับผล ̅X S.D. การประเมิน ดา้ นเนื้อหา 1. เน้ือหาตรงตามความต้องการ 4.00 0.00 มาก 2. เนื้อหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 4.33 0.52 มาก 3. เนอ้ื หาปจั จุบนั ทนั สมัย 4.50 0.55 มากท่ีสดุ 4. เน้อื หามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 4.83 0.41 มากท่ีสุด 4.42 0.25 มาก รวม จากตารางที่ 2.2 พบวา่ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทำหมอนฟักทอง มีผล การประเมินโครงการในด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมาก (X̅=4.42) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เนื้อหามี ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.83) รองลงมาคือเน้ือหาปัจจุบันทันสมัย อย่ใู นระดับมากท่ีสดุ (̅X=4.50) เนอื้ หาเพียงพอต่อความต้องการ มีผลการ ประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅X=4.33) และเนื้อหาตรงตามความต้องการ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (X̅=4.00) ตามลำดบั ตารางท่ี 2.3 ค่าเฉล่ยี คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลกั สตู รอาชีพการทำหมอนฟักทอง ของผตู้ อบแบบประเมนิ โครงการ ดา้ นกระบวน การจดั กจิ กรรมการอบรม โดยจำแนกเปน็ รายขอ้ ดังนี้ รายการ N = 6 ระดบั ผลการ ̅X S.D. ประเมนิ ด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 5. การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นอบรม 4.00 0.00 มาก 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.33 0.52 มาก 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.17 0.41 มาก 8. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย 4.50 0.55 มากทีส่ ดุ 9. วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 4.00 0.00 มาก รวม 4.20 0.27 มาก จากตารางที่ 2.3 พบว่า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง มีผลการ ประเมินโครงการ ในด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดับมาก (X̅=4.20) เมื่อพิจารณาเป็นราย สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 16

ข้อพบว่า การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมากที่สุด (̅X=4.50) รองลงมาคือ มีผลการ ประเมินอยู่ในระดับมาก (̅X=4.33) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยู่ในระดับมาก (X̅=4.17) และการ เตรียมความพร้อมก่อนอบรม วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก (̅X=4.00) ตามลำดับ ตารางท่ี 2.4 คา่ เฉลีย่ ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรมโครงการศนู ย์ ฝึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ดา้ นวิทยากร โดยจำแนกเป็นรายขอ้ ดังนี้ รายการ N=6 ระดับผลการ ̅X S.D. ประเมนิ ด้านวทิ ยากร 10. วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเรื่องทีถ่ า่ ยทอด 4.50 0.55 มากท่ีสุด 11. วิทยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 4.33 0.52 มาก 12. วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีสว่ นร่วมและซกั ถาม 4.33 0.52 มาก 4.39 0.02 มาก รวม จากตารางท่ี 2.4 พบว่า โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง มีผล การประเมินโครงการ ในด้านวิทยากร อยู่ในระดับมาก (̅X=4.39) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมี ความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด อยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.50) รองลงมา คือวิทยากรมีเทคนิคการ ถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนร่วมและซักถาม อยใู่ นระดับมาก (X̅=4.33) ตามลำดับ ตารางท่ี 2.5 ค่าเฉลีย่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ด้านการอำนวย ความสะดวก โดยจำแนกเปน็ รายข้อ ดงั นี้ รายการ N=6 ระดับผลการ X̅ S.D. ประเมนิ ดา้ นการอำนวยความสะดวก 13. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก 4.00 0.00 มาก 14. การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ 4.33 0.52 มาก 15. การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา 4.50 0.55 มากท่สี ุด 4.28 0.31 มาก รวม สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง ปีงบประมาณ 2565 17

จากตารางที่ 2.5 พบว่า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง มีผลการ ประเมินโครงการ ในด้านการอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก (X̅=4.28) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่า การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.50) รองลงมา การสื่อสาร การสร้าง บรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (̅X=4.33) สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความ สะดวก มีผลการประเมิน อย่ใู นระดับมาก (̅X=4.00) ตามลำดบั ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอืน่ ๆ วสั ดุ อุปกรณใ์ นฝกึ น้อยเกนิ ไป ไมเ่ พยี งพอตอ่ การฝกึ สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 18

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผลการดำเนนิ งานโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลกั สูตรอาชพี การทำ หมอนฟกั ทอง สามารถสรุปผล อภิปรายผล และมีขอ้ เสนอแนะดังนี้ ตอนที่ 1 วเิ คราะหข์ ้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมนิ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จำนวน 6 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนใหญ่มีอายุ 40 – 59 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมา 60 ปีขึ้นไป จำนวน 2 คน คิด เป็นร้อยละ 33.3 และ 15-39 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษา ระดับ ประถมศึกษา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 คน คิด เป็นร้อยละ 33.3 และมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 สำหรับอาชีพ ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.7 รองลงมา คือ รับจ้าง จำนวน 2 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 33.3 ตามลำดบั ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำ หมอนฟักทอง จากตารางที่ 2.1 พบว่า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง มีผลการ ประเมินโครงการอยู่ในระดับมาก (̅X=4.32) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีผลการประเมินโครงการ ด้าน เนื้อหา อยู่ในระดับมาก (̅X=4.42) รองลงมาคือ ด้านวิทยากร อยู่ในระดับมาก (̅X=4.39) ด้านการอำนวย ความสะดวก มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (X̅=4.28) และด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม (̅X=4.20) ตามลำดบั จากตารางที่ 2.2 พบว่า โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง มีผล การประเมินโครงการในด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมาก (X̅=4.42) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เนื้อหามี ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (̅X=4.83) รองลงมาคอื เน้อื หาปัจจุบันทันสมัย อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ (̅X=4.50) เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ มีผลการ ประเมิน อยู่ในระดับมาก (X̅=4.33) และเนื้อหาตรงตามความต้องการ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (X̅=4.00) ตามลำดับ จากตารางที่ 2.3 พบว่า โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง มีผลการ ประเมินโครงการ ในด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดับมาก (X̅=4.20) เมื่อพิจารณาเป็นราย ข้อพบว่า การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมากที่สุด (̅X=4.50) รองลงมาคือ มีผลการ ประเมินอยู่ในระดับมาก (X̅=4.33) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยู่ในระดับมาก (̅X=4.17) และการ สรุปผลการดำเนินงานโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปงี บประมาณ 2565 19

เตรียมความพร้อมก่อนอบรม วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก (X̅=4.00) ตามลำดบั จากตารางที่ 2.4 พบวา่ โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง มีผล การประเมินโครงการ ในด้านวิทยากร อยู่ในระดับมาก (X̅=4.39) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมี ความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด อยู่ในระดับมากที่สุด (̅X=4.50) รองลงมา คือวิทยากรมีเทคนิคการ ถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซกั ถาม อยใู่ นระดับมาก (X̅=4.33) ตามลำดับ จากตารางที่ 2.5 พบว่า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอนฟักทอง มีผลการ ประเมินโครงการ ในด้านการอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก (̅X=4.28) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่า การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อยู่ในระดับมากที่สุด (̅X=4.50) รองลงมา การสื่อสาร การสร้าง บรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (̅X=4.33) สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความ สะดวก มผี ลการประเมิน อย่ใู นระดับมาก (̅X=4.00) ตามลำดับ ตอนท่ี 3 ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ วัสดุ อปุ กรณใ์ นฝึก น้อยเกินไป ไม่เพียงพอต่อการฝกึ อภิปรายผล จากการสรุปผลการดำเนินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ชุมชน หลักสูตรอาชีพการทำหมอน ฟักทอง พบว่า มีผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมาก (X̅=4.32) เนื่องจาก คณะทำงาน ได้ประชุม/ชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน กำหนดรปู แบบ และแผนการดำเนนิ งาน เตรียมความพรอ้ มในการดำเนินงานโครงการ มีการนเิ ทศกิจกรรมโครงการอยา่ งตอ่ เน่ือง เพอ่ื แกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหเ้ กิดความเหมาะสม จากผลการประเมินดังกล่าว มีประเด็นที่น่าสนใจนำมาอภิปรายผล ดังนี้ เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย และเนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (̅X=4.83) ทั้งนี้เป็นเพราะ สมาชิกลุ่มอาชีพการทำหมอนฟักทอง ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และ ทักษะในการประกอบอาชีพ ให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจยุคใหม่เน้นความชำนาญเฉพาะเรื่องพัฒนาคุณภาพ เป็นอาชีพเสริม ท่ีพง่ึ พาตนเองได้ สร้างรายได้ ใหค้ รอบครัว และเปน็ การใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ เกิดความ รัก ความสามัคคี แก่คนภายในชุมชน และรู้จักการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของ ณัฐอรียา สุขสุวรรณพร (2553) กล่าวไว้ว่า อาชีพเสริม หมายถึง เป็นอาชีพที่ประกอบขึ้น เป็นอาชีพที่ 2 รอง จากอาชีพหลกั และเปน็ แหลง่ รายได้เสริมเพิ่มเติมจากงานหลกั การประกอบ อาชีพเสริมนน้ั จะต้องไม่กระทบ กับงานอาชพี หลกั อาชีพเสริมนัน้ อาจประกอบเป็นธรุ กิจ หรือ กิจการในรูปแบบใดกไ็ ด้ และจะต้องเป็นอาชีพ ที่มีรายได้เสริมจากรายได้หลัก มีการรวมกลุ่มกันเพื่อพัฒนาอาชีพและเพื่อสร้างรายได้โดยสมาชิกในกลุ่มมี แนวคิดหลักของการจัดตั้งกลุ่ม ไม่ใช่เพียงมุ่งหวังรายได้และผลกำไรเท่านั้น แต่เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ สร้างความสามัคคีให้แก่คนภายในชุมชน และรู้จัก การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง ทำให้ลดปัญหา สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปงี บประมาณ 2565 20

หนี้สินลง สิ่งเหล่านี้จะส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศ และเป็นการสนองแนวพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจ พอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวอยา่ งแท้จริง โดยสมาชกิ กลุ่มอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง นำความรู้ และทักษะไปใช้ในการประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ ส่งผลให้โครงการประสบ ความสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ ข้อเสนอแนะในการพฒั นาครั้งตอ่ ไป ควรมีการติดตามผลการดำเนินงานของสมาชิกกลุ่มอาชีพการทำหมอนฟักทอง อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ เกดิ ผลประโยชนส์ ูงสุด สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลักสตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ปีงบประมาณ 2565 21

บรรณานกุ รม ณฐั อรยี า สุขสวุ รรณพร.(2553).อาชพี เสริม.[ออนไลน]์ .เข้าถึงได้จาก. http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54930386/chapter2.pdf (วนั ที่ค้นข้อมูล วนั ที่ 28 มถิ นุ ายน 2565) http://mompumpkinpillow.blogspot.com/2013/11/blog-post.html http://www.mculture.in.th/album/หมอนฟักทอง http://www.industry.in.th/dip/knowledge_detail.php?id=1300&uid=41095 สุจินต์ วังใหม่.(2563.) การดำเนินงานตามรปู แบบศูนย์ฝกึ วิชาชีพระยะส้นั เพ่อื ชมุ ชน.[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก. https:// ThaiJOhttps://so06.tci-thaijo.org (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มูล วนั ท่ี 28 มิถุนายน 2565) สำนกั งาน กศน.(2565).ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565. [ออนไลน]์ .เข้าถึงได้จาก. http://www.nfe.go.th/onie2019/index.php/about- us1/strategic-operations-focus.html (วนั ท่ีคน้ ข้อมูล วนั ที่ 24 มถิ นุ ายน 2565) สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ปีงบประมาณ 2565 22

ภาคผนวก

หลักสตู รอาชพี การทำหมอนฟักทอง จำนวน 6 ชั่วโมง ในระหวา่ งวนั ที่ 24 - 27 มกราคม 2566 สถานทีจ่ ัด ณ ศาลาบา้ นสระประทมุ ใหม่พัฒนา หมู่ 14 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า ลำดับท่ี เลขประจำตวั ประชาชน ชอ่ื – สกลุ 1 1660300070601 นางสาวปานทพิ ย์ รื่นลม 2 3300700060172 นางสายสมร ขลุ่ยกระโทก 3 3300700080131 นางเหว่า เขตจอหอ 4 3300200271034 นางสาวเสงี่ยม โขนกระโทก 5 3160400262863 นางศรแี พร มอบกระโทก 6 3300700138571 นางสาคร รัตนเล่ือนทอง

ตารางวเิ คราะหข์ อ้ ม โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หล ในระหวา่ งวันท่ี 24 – ณ ศาลาบ้านสระประทุมใหมพ่ ัฒนา หมู่ นครรา

มูล Google sheet ลักสูตรอาชพี การทำหมอนฟกั ทอง – 27 มกราคม 2566 14 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชยั จงั หวัด าชสีมา

ตารางวิเคราะห์ขอ้ มูล Google sheet โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ในระหวา่ งวนั ท่ี 24 – 27 มกราคม 2566 ณ ศาลาบา้ นสระประทุมใหม่พฒั นา หมู่ 14 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา

ตารางวิเคราะห์ขอ้ มูล Google sheet โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทำหมอนฟกั ทอง ในระหวา่ งวนั ท่ี 24 – 27 มกราคม 2566 ณ ศาลาบา้ นสระประทุมใหม่พฒั นา หมู่ 14 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา

แบบประเมินความพงึ พอใจ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชพี การทำหมอนฟักทอง ในระหว่างวันท่ี 24 – 27 มกราคม 2566 สถานที่จัด ณ ศาลาบ้านสระประทุมใหม่พัฒนา หมู่ 14 ตำบลโชคชยั ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จงั หวดั นครราชสมี า ข้อมลู พืน้ ฐานของผ้ปู ระเมนิ ความพึงพอใจ ( ) ชาย ( ) หญงิ ( ) 40-59 ปี ( ) 60 ปีขึน้ ไป เพศ ( ) ตำ่ กว่า 15 ปี ( ) 15–39 ปี ( ) ระดับ ม.ปลาย ( ) ปรญิ ญาตรี อายุ ( ) ระดับประถม ( ) ระดับ ม.ต้น ( ) คา้ ขาย อ่นื ........................ วุฒกิ ารศึกษา ( ) เกษตรกร ( ) รบั จ้างทัว่ ไป อาชีพ คำชแ้ี จง 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครื่องหมาย √ ในช่องวา่ งระดับความพงึ พอใจตามความคิดเห็นของทา่ น ระดบั ความพงึ พอใจ ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย หมายเหตุ กลาง ทสี่ ุด ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เน้อื หาตรงตามความตอ้ งการ 2 เนื้อหาเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ 3 เนอื้ หาปัจจุบนั ทนั สมัย 4 เนอ้ื หามปี ระโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่อื งท่ีถา่ ยทอด 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีสว่ นรว่ มและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแก้ปญั หา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ………………………………………………………………………………………………………..…………….…………………………....................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………................................................................................................................................................





















คณะผ้จู ัดทำ ท่ีปรกึ ษา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอโชคชัย นางจรี ะภา วฒั นกสิการ บรรณารกั ษช์ ำนาญการพเิ ศษ นางสุวิมล หาญกล้า ครอู าสาสมคั ร กศน. นายสมชาย มุง่ ภกู่ ลาง ครอู าสาสมคั ร กศน. นางจงรักษ์ เช่ือปัญญา วิเคราะหข์ ้อมลู /เรียบเรยี งและทำตน้ ฉบับ ครู กศน.ตำบล นางสาวสุภาวดี ญาตปิ ลม้ื บรรณาธกิ าร ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอโชคชยั นางจรี ะภา วัฒนกสกิ าร เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ นางสาวอรอนงค์ เนอื่ งกระโทก

กศน.ตำบลโชคชยั ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อำเภอโชคชยั สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จงั หวดั นครรำชสีมำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook