Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDA711 Group2

EDA711 Group2

Published by NATSUDA KESA, 2022-02-16 14:23:29

Description: การศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศสหภาพเมียนมา ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศมาเลเซีย

Search

Read the Text Version

50 จากภาพที่ 6 แสดงเห็นได้ว่าในสิงคโปร์จะคัดคนเป็นครูต้ังแต่เร่ิมเข้ามหาวิทยาลัยผู้สมัครต้องสอบได้ 30% สูงของกลุ่มอายุ และจากจำนวนผสู้ มัคร 100 คน สามารถเข้าเรยี นได้เพียง 20 คน ในจำนวนนี้สามารถเรียนจบ ได้ 18 คน โดยผู้ได้รบั การคดั เลอื กจะได้รบั การจ้างจากกระทรวงศึกษาธิการและได้รับเงนิ เดือนตลอดชว่ งระยะเวลาที่ ศึกษา รปู แบบน้ีแสดงให้เห็นวา่ การเขา้ ศึกษาในสถาบันผลิตครูในสิงคโปรไ์ ม่ใช่ทางเลือก แต่หากเป็นวิชาชีพท่ี ถูกคัดเลือกและเปน็ ส่ิงที่ดึงดูดใจสำหรับผู้ท่ีมีคุณภาพเท่านั้น มาตรการเหล่านี้ทำให้อาชีพครเู ปน็ อาชีพที่น่าสนใจ มี เกยี รติ และมีสถานภาพเปน็ วชิ าชพี ช้ันสูงอยา่ งแทจ้ ริง หลกั สูตรการฝึกหดั ครู (Teacher Preparation Program) กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์ จะกำหนดกรอบสมรรถนะสำหรับผู้สำเร็จ การศึกษาด้านครูเพ่ือให้ NIE นำไปกำหนดหลักสูตรการผลิตครู ซ่ึงกรอบสมรรถนะ ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) สมรรถนะการปฏิบัติด้าน วิชาชีพ มี 4 สมรรถนะ (2) สมรรถนะด้านภาวะผู้นำและการจัดการ มี 2 สมรรถนะ และ (3) สมรรถนะด้าน ประสิทธิภาพ ส่วนบุคคล มี 1 สมรรถนะ (Goodwin, Low, & Darling-Hammond, 2017 : Ministry of Education, 2560) ดังภาพท่ี 7 CB : Capacity Building AR : Awareness Raising ภาพท่ี 7 กรอบสมรรถนะของผู้สำเร็จการศึกษาดา้ นครขู องสิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034 ท่ีมา : Ministry of Education (MOE) รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์

51 สิงคโปร์มีการจัดหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้ครูมีความรู้ลึกซึ้งในวิชาที่สอน วิธีการสอน (Pedagogy) และการฝึกสอน (Practicum) (Barber & Mourshed, 2007 : National Institute of Education, 2014 : Goodwin, Low, & Darling-Hammond, 2017) ดงั นี้ 1. จำนวนหน่วยกิตท่ีต้องเรียน สิงคโปร์แบ่งหลักสูตรผลิตครูเป็นสองปริญญาคือ ปริญญาทางศิลปะ ศาสตร์ (BA) และปริญญาทางวิทยาศาสตร์ (BSc) และจำแนกหลักสตู รผลิตครูตามระดับการใช้ครู เป็นสองระดับคอื ครูประถมศึกษา (Primary) และครูมัธยมศึกษา (Secondary) และแต่ละหลักสูตรต้องเรียน 125 - 135 หน่วยกิต ตามตารางที่ 2 – 3 ตารางท่ี 2 จำนวนหน่วยกิตท่ีต้องเรียนแตล่ ะสาขาและช้ันปขี องหลกั สตู รผลิตครปู ระถมศกึ ษา ท่ีมา : National Institute of Education (2014) ตารางท่ี 3 จำนวนหนว่ ยกติ ที่ต้องเรียนแตล่ ะสาขาและช้ันปขี องหลักสูตรผลติ ครูมัธยมศกึ ษา ท่มี า : National Institute of Education (2014) พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034 รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์

52 2. โครงสร้างรายวชิ าของหลักสตู ร หลกั สูตรจะออกแบบโครงสร้างรายวิชาออกเปน็ 3 กลุม่ ดังน้ี 2.1 วิชาแกน (Core Courses) เปน็ วิชาบังคับท่ัวไปท่ีนักศึกษาทกุ คนตอ้ งเรยี นเพื่อเตมิ เต็มความเป็น ครตู ามหลักสตู ร 2.2 วิชาบังคับเลือก (Prescribed Electives) เป็นวิชาท่ีนักศึกษาจะเลือกเรียนจากชุดรายวิชาเพ่ือ สร้างความเช่ียวชาญ ความลึกซึ้งในองค์ความรู้ และทักษะเฉพาะดา้ นตามวิชาเอกของตน 2.3 วชิ าเลอื กทั่วไป (General Electives) เป็นวชิ าท่ีนักศึกษาจะเลือกเรยี นจากรายวิชาท่ีทางสถาบัน จดั ไวใ้ ห้เลือก หรอื เปน็ วิชาที่สามารถไปเลอื กเรียนกบั ภายนอกคณะท่ีเปิดสอนได้ ภายใต้ความเห็นชอบของคณบดี 3. โครงสร้างของหลักสตู ร การออกแบบหลักสตู รประกอบด้วยสว่ นสำคญั 9 ส่วน คือ 3.1 ศาสตร์ทางการศึกษา (Education Studies) โดยนักศึกษาจะได้เรียนเกี่ยวกับมโนทัศน์สำคัญ และหลักการทางการศึกษาที่จำเป็นเพ่ือสรา้ งประสิทธภิ าพการสอน และสัมพนั ธก์ ับการปฏบิ ตั งิ านในโรงเรียน 3.2 ศาสตร์ด้านหลกั สูตร (Curriculum Studies) นักศกึ ษาจะถกู ฝึกใหม้ ความเช่ียวชาญด้านวิธีการ สอนและทักษะการสอนที่เหมาะสมกบั ระดับประถมศกึ ษา หรอื มธั ยมศกึ ษาที่ตนเองตอ้ งออกไปสอน 3.3 ความรู้ในวชิ าที่สอน (Subject Knowledge) กลุ่มวิชาน้ีจะชว่ ยสร้างความเข้มแข็งดา้ นวิชาการ ในวชิ าท่ีสอนใหน้ ักศกึ ษาท้ังระดบั ครูประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา 3.4 วิชาเฉพาะ (Essential Course) นักศึกษาจะไดเ้ รียนรายวิชาเฉพาะ 1 รายวิชาท่ีเก่ียวกับความ แตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมในสังคม ที่เรียกว่า ‘Multicultural Studies : Appreciating & Valuing Differences’ 3.5 การฝึกสอน (Practicum) นกั ศกึ ษาตอ้ งออกฝึกประสบการณก์ ารสอนในโรงเรียนทกุ ปีตั้งแต่ปี 1 จนถึงปี 4 เป็นเวลา 2, 5, 5 และ 10 สปั ดาห์ ตามลำดับ 1) ปที ี่ 1 วิชาประสบการณใ์ นโรงเรยี น (School Experience) ใช้เวลา 2 สปั ดาห์ 2) ปที ่ี 2 วชิ าผู้ช่วยสอน (Teaching Assistantship) ใช้เวลา 5 สัปดาห์ 3) ปที ่ี 3 วชิ าฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอน 1 (Teaching Practice 1) ใช้เวลา 5 สัปดาห์ 4) ปที ่ี 4 วชิ าฝกึ ปฏิบตั ิการสอน 2 (Teaching Practice 2) ใชเ้ วลา 10 สปั ดาห์ 3.6 การพัฒนาความสามารถและทักษะทางภาษา (Language Enhancement and Academic Discourse Skills : LEADS) ซ่ึงนักศึกษาจะถูกฝึกให้มีทักษะการสื่อสาร และการใช้น้ำเสียงในการสอนท่ีมี ประสิทธิภาพ 3.7 การเรียนรู้เชิงบริการ (Group Endeavours in Service Learning : GESL) โดยนักศึกษาต้อง รวมกลุ่มกันทำโครงการเรยี นรู้เชิงบริการกับชุมชน รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

53 3.8 วชิ าในเชิงวิชาการ (Academic Subjects) นกั ศึกษาตอ้ งได้เรยี นวิชาที่เป็นเชงิ วิชาการอยา่ งน้อย 1 - 2 วิชา เพ่ือใหเ้ ข้าใจมโนทัศนแ์ ละหลักการพ้ืนฐาน รวมถงึ องค์ความรู้เชงิ เนื้อหาของวิชานั้นๆ เช่น วิชาศิลปะ หรือ วิชาวทิ ยาศาสตร์ เป็นต้น ตัวอยา่ งรายวชิ าสำหรับหลักสูตร BA ดังตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 รายวิชาเชิงวชิ าการที่นักศึกษาตอ้ งเรียน ท่ีมา : National Institute of Education (2014) 3.9 วิชาเลือกทั่วไป (General Electives) นักศึกษาต้องเลือกวิชาในกลุ่มรายวิชาเลือกทั่วไปเรียน อยา่ งนอ้ ย 3 หน่วยกติ นอกจากน้ี หลักสูตรผลิตครูของสิงคโปร์ยังกำหนดให้นักศึกษาต้องศึกษาเรียนรู้เพ่ือสร้างทักษะเชิง วชิ าชีพในอกี 5 กิจกรรม ดงั นี้ 1) โครงการกลุ่มการเรียนรู้เชิงบริการ (Group Endeavours in Service Learning : GESL) โดย นักศึกษาจะต้องรวมกลุ่มประมาณ 20 คน แล้วคิดโครงการบริการชุมชนเพื่อออกไปสัมผัสและเกิดการเรียนรู้จาก ชมุ ชนรอบตัว เพ่ือฝกึ ทกั ษะการจัดการ การทำงานเป็นทีม การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการจำเปน็ การตดั สินใจ การเขา้ ใจ ผอู้ ื่น รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

54 2) ประกาศนียบัตรภาษาอังกฤษ (Certificate in English Language Studies : CELS) นักศึกษายัง ตอ้ งเรียนภาษาอังกฤษต้ังแต่ปที ี่ 1 โดยให้ไดใ้ บประกาศนยี บัตรภาษาอังกฤษ ในช้ันปที ่ี 2 หรอื 3 ซ่ึงออกแบบหลักสูตร มาเพื่อให้นักศึกษามีความมั่นใจในวิธีการสอนด้วยภาษาอังกฤษ และสร้างทักษะการสื่อสารท้ังด้านการพูดและการ เขียน ภาษาอังกฤษ 3) โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพครู หรือเรียกว่า The Meranti Project โครงการนี้ถูกออกแบบให้ นักศึกษาเป็นรายบุคคลไดพ้ ัฒนาตนเองและสมรรถนะ ทางสังคมของครู โดยแลกเปลี่ยนกบั ครูท่ีมปี ระสบการณส์ อน รวมถึงนักเรียนในช้ันเรียน ซ่ึงโครงการน้ีจะสร้างมุมมองเชิงประสบการณ์การเป็นครูต้ังแต่แรกให้กับนักศึกษาครู และทำใหน้ กั ศกึ ษาเข้าใจวิธีการสำหรบั การจัดการศึกษาของประเทศ และคณุ ลกั ษณะ ความเป็นพลเมืองในท้ายท่ีสดุ 4) การเข้าร่วมการเสวนา สัมมนา ประชุมปฏิบัติการ และกิจกรรมอื่นๆ ท่ีจัดข้ึนสำหรับนักศึกษาตาม หลักสตู รในระหวา่ งเรียนทั้ง 4 ปี 5) การปลูกฝังความซ่ือสัตย์ทางวิชาการ (Academic Integrity) ทางสถาบันจะเข้มงวดกับเรื่องความ ซื่อสัตย์ทางวิชาการของนักศึกษา โดยหนังสือ เอกสารการสอน อุปกรณ์การเรียนต่างๆ ของสถาบันที่ใช้ในการเรียน การสอนจะต้องจัดซ้ืออย่างถูกต้อง ตามลิขสิทธ์ิเพ่ือเป็นตวั อยา่ งแกน่ ักศึกษา และฝึกนักศกึ ษาให้มีความซ่ือสัตย์ เช่น การเขียน เอกสารต่างๆ ต้องมีการอ้างอิงเสมอ เป็นต้น รวมท้ังมีการจัดให้เรียนรายวิชาความซ่ือสัตย์ ทางวิชาการ (academic integrity course) ใหน้ กั ศึกษาเรยี นอกี ดว้ ย การเข้าสวู่ ิชาชพี และการพัฒนา (Induction and Mentoring) รัฐบาลสิงคโปร์เชื่อว่า ‘ครู คือ หัวใจของการศึกษา’ จึงให้ความสำคัญและส่งเสริม วิชาชีพครูให้เป็น อาชีพท่ีมีเกียรติ จริงจงั ในการคดั เลือกคุณภาพ และใหเ้ งินเดือนสูง เพื่อดึงดูดคนเกง่ ให้มาเป็นครกู ันมากขึ้น ครูทุกคน ท่จี บการศกึ ษาแล้วต้องเข้ารับการฝึกอบรมวิชาชพี ครูจากสถาบันการศึกษาแห่งชาติสงิ คโปร์ (National Institute of Education : NIE) เป็นเวลา 1 ปี เมื่อปฏิบัติหน้าที่ครูแล้วก็ต้องเข้ารับการประเมินและพฒั นาทุกปี หากไม่ผ่านการ ประเมินในครั้งที่ 3 ก็จะต้องออกจากการเป็นครู และระหว่างที่ทำหน้าที่เป็นครูก็สามารถลาสอนเพื่อไปศึกษาหา ความรู้เพ่ิมเติมได้ (Barber & Mourshed, 2007) โครงสร้างโปรแกรมการพัฒนาครูใหม่ของสิงคโปร์ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การปฐมนิเทศ การกำกับ ติดตามระดับโรงเรียน และโปรแกรมการเรียนรู้สำหรับครูใหม่ดังภาพ โดยในระดับโรงเรียนน้ันจะมีครูพ่ีเลี้ยงคอย ช่วยเหลือในการกำกับติดตามและพัฒนา ซึ่งมี 2 รูปแบบ รูปแบบแรกเป็นแบบตัวต่อตัว และรูปแบบท่ี 2 เป็นแบบ กลุ่มพิเศษ ดงั ภาพท่ี 8 – 9 รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

55 ภาพท่ี 8 โครงสรา้ งโปรแกรมการพัฒนาครใู หมข่ องสงิ คโปร์ ท่มี า : Chong and Tan (2006) ภาพท่ี 9 รปู แบบการจดั ครูพี่เลี้ยงสำหรับครใู หม่ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034 ท่ีมา : Chong and Tan (2006) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์

56 การเรยี นรู้ในวชิ าชพี (Professional Learning) สงิ คโปรจ์ ดั วางระบบการพัฒนาเชงิ วิชาชีพของครูและมีระบบสนับสนุนการศึกษา และพัฒนาตนเองของ ครู (Barber & Mourshed, 2007) ดงั น้ี 1. ครเู ข้ารับอบรมทางวิชาการอยา่ งตอ่ เนื่องทุกปี สิงคโปร์ให้ความสำคัญกับการพัฒนาครูอย่างย่ิง โดยจะเน้นความรู้ทางวิชาการท่ีแข็งแกร่งของครูเปน็ ปัจจัยสำคัญ ซึ่งสนับสนุนให้ครูเข้ารับการอบรมเพื่อพฒั นาความก้าวหน้าทางวิชาการปีละ 100 ชั่วโมง โดยรัฐเป็นผู้ ออกค่าใชจ้ า่ ยให้ทั้งหมด กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์ได้ประกาศรูปแบบการพัฒนาการเรียนรู้ และการยกย่องยอมรับใน วิชาชีพครูที่เรียกว่าโมเดล ‘GROW’ ในปี ค.ศ. 2006 และต่อมามีการปรับปรุงเป็นโมเดล ‘GROW 2.0’ ในปี ค.ศ. 2007 ประกอบดว้ ย 4 สว่ น คอื การเพิ่มจำนวนครู (Growth) ที่ได้รับการยกย่องยอมรับ (Recognition) และสร้างโอกาส (Opportunities) ท่ีครูจะมีชวี ติ ที่ดี (Well - being) ดงั ภาพที่ 10 ภาพที่ 10 รูปแบบการพัฒนาการเรียนรู้และการยกย่องยอมรบั ในวิชาชพี ครูของสงิ คโปร์ ท่ีมา : Ministry of Education (MOE) (n.d.) รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

57 2. มอบหนา้ ที่ครใู หญ่เป็นผ้นู ำการพฒั นาทางการสอน นอกจากการฝึกอบรมทางวชิ าการ 100 ช่ัวโมงตอ่ ปแี ล้ว สิงคโปร์ยังใหค้ วามสำคัญในการพัฒนาครูโดย ใชโ้ รงเรียนเป็นฐานดว้ ยตัวผ้บู ริหารโรงเรียนเป็นผู้นำดา้ นการเรียนการสอน ซ่ึงการพัฒนาครใู หญ่ใหเ้ ป็นพลังสำคัญใน การพัฒนาคณุ ภาพการสอนของครูจะดำเนินการใน 3 ประการ ดงั น้ี 1) สรรหาครูท่ีดีมาพัฒนาเป็นครูใหญ่ สิงคโปร์จึงมีระบบการคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเข้ามาเป็น ครูใหญ่ มีการกำหนดเงินเดือนครูใหญ่ไว้ค่อนข้างสูง กำหนดวิธีการคัดเลือกที่เข้มข้น โดยผู้สมัครจะถูกประเมินด้วย แบบประมาณกลางเพ่ือประเมินพฤตกิ รรมต่างๆ ที่สมั พันธก์ บั คณุ ลักษณะการเปน็ ผู้นำในโรงเรียน หลงั จากนั้นผู้ได้รับ การคดั เลอื กจะเข้ารับการอบรมที่ NIE เปน็ เวลา 6 เดือน ในระหวา่ งนี้ ผสู้ มคั รจะได้รบั การประเมนิ อย่างต่อเนื่องจาก ทีมผู้อบรม และนำผลการประเมินมาใช้คัดเลือกต่อไป ซึ่งการประเมินอย่างต่อเนื่องตลอด 6 เดือนนี้จะทำให้ทราบ ข้อมูลพฤติกรรมมากกวา่ การประเมนิ โดยปกติ และผู้ท่ีเหมาะสมจะได้รับการแต่งต้ังเปน็ ครูใหญใ่ นโรงเรียนที่เหมาะสม ต่อไป 2) พฒั นาทกั ษะการเป็นผนู้ ำทางการสอน การฝึกอบรม 6 เดือนที่ NIE จะมงุ่ การพัฒนาทกั ษะภาวะผู้นำ ทางการสอนโดยมวี ธิ กี ารสำคญั คอื 2.1) การจัดรายวิชาการจัดการและภาวะผู้นำจะนำมาจากการฝึกผู้บริหารระดับแนวหน้าของ ประเทศ 2.2) ให้ปฏิบัติงานอยู่ที่โรงเรียนสัปดาห์ละ 1 วัน มอบหมายให้พัฒนาวิธีการใหม่เพ่ือแก้ปัญหาที่ โรงเรียนกำลงั เผชิญ 2.3) ใหจ้ ดั ทำโครงการกลุ่มเพ่ือฝึกการทำงานเปน็ ทมี เพ่ือพัฒนาวิธกี ารทางการศกึ ษาใหม่ 2.4) ฝึกงานในต่างประเทศ 2 สปั ดาห์กับบรรษัทตา่ งชาติ (เชน่ IBM HP Ritz Carton) เพ่ือติดตาม ผู้บรหิ ารภาคธรุ กิจท่ีไมข่ ้ึนตรงต่อรฐั เพื่อเรยี นรูก้ ารเป็นผนู้ ำในเชิงธุรกิจ 2.5) ประเมินผลอย่างเข้มข้น ผู้สมัครที่สามารถแสดงให้เห็นว่ามีคุณสมบัติที่ต้องการจึงจะไดร้ ับการ แต่งตั้งเปน็ ครูใหญ่ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

58 ภาพที่ 11 การพฒั นาครูใหญใ่ หมใ่ ห้มภี าวะผนู้ ำของสงิ คโปร์ ท่ีมา : Barber & Mourshed (2007) 3. เนน้ การใช้เวลาสว่ นมากของครูใหญใ่ นด้านภาวะผนู้ ำในการสอน มุง่ พัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน ของผเู้ รียนอยา่ งจรงิ จงั ครใู หญ่ต้องใช้เวลาเกือบท้ังหมด ในการให้คำแนะนำครูในโรงเรยี นดา้ นการสอน การประเมินและการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั (Teacher Feedback and Appraisal) สิงคโปร์มีระบบการประเมินและสะท้อนผลการประเมินในการพัฒนาตนเอง และการสอนของครู โดย กำหนดระบบการกำกับติดตามและแทรกแซงในระดับโรงเรียน เพื่อประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับการสอนของครู โดยจะให้ความสำคัญกับโรงเรียน ด้อยคุณภาพมากกว่าโรงเรียนท่ีมีคุณภาพ โรงเรียนชั้นนำจะได้รับการยกเว้นการ ทดสอบ บางอย่าง ขณะท่ีโรงเรียนด้อยคุณภาพจะถูกกำกับติดตามอย่างเคร่งครัด โดยการตรวจสอบ โรงเรียน (School Review) จะดำเนินการโดยหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการและ มีการประเมินทุก 5 ปี แต่การทดสอบ (Examinations) เพ่ือสำเร็จการศกึ ษาจากโรงเรยี น ของนักเรยี นจะดำเนินการโดยหนว่ ยงานภายนอกทกุ ปี (Barber & Mourshed, 2007) ในด้านประเมนิ ผลการทำงานของครู สงิ คโปรใ์ ชร้ ะบบ Performance - based Evaluation เพื่อให้ครู เกิดการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ โดยครูต้องสอน 30 - 32 คาบต่อสัปดาห์ ซึ่งต้องใส่ใจในการสอนเปน็ อย่างมากเพราะ รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

59 ผลการเรียนของเด็กมผี ลต่อการประเมิน นอกจากนี้ครูยังต้องติดต่อกบั ผ้ปู กครองอย่างสม่ำเสมอ และทกุ ครั้งที่ติดต่อ ผู้ปกครอง จะมีการบันทกึ ไว้ การประเมินผลครูจะแบง่ เป็นระดับต้ังแต่ A – E ครทู ี่ได้ E ต้องปรับปรงุ ถ้าได้ E ถึง 3 ครั้ง จะถูกเรียกไปยงั กระทรวงศึกษาธกิ ารของสิงคโปร์ และอาจถูกตัดสิทธิ ไม่ให้ประกอบอาชีพครูอกี ต่อไป แต่หาก ผู้ใดมีผลงานดจี ะมีโบนสั ให้ตามผลการประเมนิ (The Matter Team, n.d.) พัฒนาการทางวิชาชพี และการเป็นผนู้ ำ (Career and Leadership Development) สิงคโปรม์ รี ะบบการสง่ เสริมเชงิ วิชาชีพและพัฒนาการเป็นผู้นำทางวิชาชพี ดังนี้ 1. เงินเดือนและค่าตอบแทน สิงคโปร์จ่ายเงินเดือนเร่ิมต้นสูงเม่ือเทียบกับประเทศในกลุ่ม OECD เงินเดือนเป็นงบประมาณหลักในระบบโรงเรียน ประมาณร้อยละ 60 - 80 ของงบประมาณท่ีใช้ ในโรงเรียน โดยครู แรกเข้าจะได้รับเงินเดอื นประมาณ 3,360 ดอลลาร์สิงคโปร์ (82,290 บาท) (The Matter Team, n.d.) มาตรการที่ สิงคโปร์ใช้เพื่อนำงบประมาณ มาเพิ่มเงินเดือนให้ครู คือ การเพิ่มขนาดห้องเรียนเพ่ือลดจำนวนครูลง วิธีการน้ีทำให้ สามารถคัดเลือกครูใหม่ ได้อย่างเต็มท่ี มาตรการน้ีจึงทำให้สถานภาพของครูดีขึ้น และอาชีพครูเป็นวิชาชีพครูที่ น่าสนใจมากขึ้น (Barber & Mourshed, 2007) 2. การสรา้ งการยอมรับของสังคมตอ่ วชิ าชพี ครู สิงคโปร์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดมาใช้ในการยกระดับ วิชาชีพครู โดยเชื่อมโยงกับโปรแกรมการรับเข้าศึกษาเพ่ือยกระดับสถานภาพวิชาชีพครูให้สูงข้ึน มีการใช้ตัวอย่าง Best practices จากภาคธุรกจิ และระบบการตลาดซ่ึงต้องมีข้อมูลยืนยันให้เห็นถงึ ผลการปรับปรุงพฒั นาท่ีดีขึ้นอย่าง ชัดเจนในทุกข้ันตอนต้ังแต่เร่ิมดำเนนิ การ โดยเฉพาะ การเพ่ิมเงินเดอื นให้สงู ขึ้น 3. การกำหนดเส้นทางในอาชีพท่ีชัดเจน โดยการกำหนดให้เร่ิมต้นจากการเป็นครูประจำชั้น (Class Teacher) แล้วสามารถข้ึนสเู่ ส้นทางความก้าวหนา้ ได้ 3 สาย คอื สายแรก เปน็ สายการสอนสามารถข้ึนไปเป็นครูใหญ่ ได้ สายท่ี 2 เป็นสายผู้นำ สามารถข้ึนสู่การเป็นผู้บริหารการศึกษาได้ และสายท่ี 3 สายผู้เช่ียวชาญ ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับ ความสามารถ และความตอ้ งการของครู ดังภาพที่ 12 รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

60 ภาพที่ 12 เส้นทางความกา้ วหน้าในวชิ าชพี ครูสงิ คโปร์ ท่มี า : Ministry of Education (MOE) (n.d.) 4. การสนับสนุนการพัฒนาตนเองของครูอย่างต่อเนื่อง โดยกระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์ได้ กำหนดกรอบการสอน (TEACH Framework) ที่ทางกระทรวงมีพันธะสัญญาจะให้การสนับสนุนครูทุกคนในการ พัฒนาตนเองตลอดช่วงอาชีพครู โดยเปิดโอกาสการพัฒนาเพื่อสร้างศักยภาพ ความเช่ียวชาญ และความก้าวหน้าใน ผลลัพธ์ของวิชาชีพอย่างเต็มท่ี โดยให้ครูมีความสมดุลทั้งชีวิต สุขภาพ และการทำงาน (Ministry of Education, n.d.) ดังภาพที่ 13 ภาพที่ 13 framework ของสิงคโปร์สำหรับให้การสนับสนุนครูพัฒนาตนเอง พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034 ท่มี า : Ministry of Education (MOE) (n.d.) รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์

61 การเตบิ โตในอาชพี แนวทางการเตบิ โตในอาชีพของครูในสิงคโปรน์ ั้นยืดหยุ่น กว้างขวาง และสร้างสรรค์ โดยแบ่งเป็นสาม เส้นทางหลัก ไดแ้ ก่ เสน้ ทางผนู้ ำการจดั การเรียนรู้ เสน้ ทางผูบ้ รหิ ารการศึกษา และเสน้ ทางผู้ชำนาญการ ดงั แผนภาพ ด้านลา่ ง ซ่ึงครูเปล่ียนเส้นทางได้อยา่ งอิสระตามแตค่ วามจำเป็นและความสนใจของตน ภาพท่ี 14 การเตบิ โตในอาชีพ ท่ีมา : Ministry of Education (MOE) (n.d.) 1. เส้นทางผู้นำการจัดการเรียนรู้ เส้นทางทั้งสามล้วนมีมาตรฐานการปฏิบัติงานแตกต่างกัน โดย เส้นทางผู้นำการจัดการเรียนรู้นั้นยึดโยงกับผลงานทางวิชาการ ครูผู้ต้องการเลื่อนตำแหน่งต้องแสดงข้อเขียนระบุ เหตผุ ลของการเลือ่ นตำแหนง่ หลักฐานแสดงการบรรลมุ าตรฐานการจัดการเรยี นรู้ และข้อมูลประกอบหลักฐานนน้ั ๆ ประเด็นที่น่าสนใจคือ ครูต้นแบบที่มีตำแหน่งบริหารหรือผู้ชำนาญการต้นแบบนั้นจะได้รับค่าตอบแทนเทียบเท่า ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ดงั น้ัน ครผู ูเ้ ช่ยี วชาญจงึ มแี รงจงู ใจในการพัฒนาทักษะตามความสนใจของตนอยา่ งแทจ้ รงิ ขณะท่ี กำลังเติบโตในเส้นทางผู้นำการจัดการเรียนรู้นั้น ครูเหล่านี้จะมีบทบาทนำในโรงเรียนและในวิชาชีพ ในฐานะผู้นำ ศาสตร์การจัดการเรียนรู้ ครูพี่เลี้ยง และผู้นำการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยพวกเขาต้องส่งเสริมการดำเนินงานของท้งั รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

62 โรงเรยี นและเครือข่ายชมุ ชนการเรยี นรู้ วชิ าชีพทางการศึกษาในสงิ คโปรจ์ ึงเตม็ ไปดว้ ยความท้าทาย และโอกาสพัฒนา ตนเองเพ่อื เผชญิ อุปสรรคใหม่ๆ เสมอ 2. เส้นทางผู้บริหารการศึกษา ครูผู้แสดงคุณสมบัติเหมาะสมตอ่ การบรหิ ารจัดการจะได้รับการเฟ้นหา บม่ เพาะ และแตง่ ต้งั ให้ดำรงตำแหนง่ ที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ โดยในแต่ละปี ครตู ้องรว่ มการประเมินศักยภาพการ เป็นผู้นำเช่นเดียวกับทักษะการจัดการเรียนรู้ โดยกระทรวงศึกษาธิการจะติดตามความก้าวหน้าของครผู ู้มีศักยภาพ ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง และพวกเขาจะมีโอกาสรับผิดชอบภาระงานใหม่ๆ รวมถึงเข้าร่วมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนา ตนเอง ยง่ิ กวา่ น้ัน ครเู หลา่ นี้ยังมีโอกาสเป็นผู้นำทางการศึกษาในกระทรวงศกึ ษาธิการ ครูในสิงคโปร์จึงมีปากเสียงใน การกำหนดนโยบาย พัฒนาหลกั สตู ร ตลอดจนมีส่วนร่วมในการปฏิรปู การศึกษา โดยครูสามารถทดลองปฏิบัติหน้าที่ ในกระทรวงเป็นเวลา 2-4 ปี และหากตัดสินใจไมเ่ ดนิ ทางบนเส้นทางสายนี้ตอ่ พวกเขาก็กลับไปสชู่ นั้ เรียนได้ 3. เส้นทางผู้ชำนาญการ เส้นทางสายนี้เป็นเส้นทางสำหรบั ครูผูม้ ีความสนใจลึกซึ้งในด้านใดด้านหนึง่ และเลือกเป็น “ผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นที่มีความรู้และทักษะลึกซ้งึ ในด้านใดดา้ นหนงึ่ เก่ยี วกับการศึกษา (เช่น หลักสูตร การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบรายวิชา เทคโนโลยีการศึกษา ฯลฯ) พวกเขาจะไดม้ สี ว่ นร่วมในการ ออกแบบหลักสูตรการศึกษา ประยุกต์ใช้องค์ความรู้จิตวทิ ยาในการจัดการศึกษา ดำเนินการวิจัยด้านการศึกษา วัด และประเมินผลการศึกษา ทั้งน้ี กระทรวงศกึ ษาธกิ ารยงั สนบั สนุนการศึกษาตอ่ ระดับปรญิ ญาโทขนึ้ ไปในสาขานด้ี ว้ ย สรปุ จากท่ีกล่าวมาทั้งหมดจะเห็นว่า สิงคโปร์มีการดำเนินการในระบบผลิตและพัฒนา ครูอย่างเป็นระบบ จนทำให้การจัดการศึกษาประสบผลสำเร็จอย่างสูง อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาของ Barber and Mourshed (2007) ช้ีให้เห็นว่า การสร้างระบบดึงดูดให้ได้คนท่ีเหมาะสมเข้าสู่อาชีพครูมีความสัมพันธ์กับสถานภาพวิชาชีพครู อย่างยิ่ง ซ่ึงผลการสำรวจความคิดเห็นของสาธารณชนส่วนใหญ่เชื่อว่าครูเป็นอาชีพที่ทำคุณประโยชน์ ต่อประเทศ มากกว่าอาชีพอื่น และครูใหม่ให้เหตุผลการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพครู เพราะสถานภาพวิชาชีพ เป็นปัจจัย ความสำเร็จที่สำคญั ที่สดุ ของการศกึ ษาสงิ คโปร์ รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

63 การเปรยี บเทยี บการจัดการศกึ ษา ตารางที่ 5 เปรยี บเทียบการจดั การศึกษาประเทศไทยและสาธารณรฐั สิงคโปร์ ประเด็นเปรยี บเทียบ ไทย สาธารณรัฐสิงคโปร์ 1. หลกั การและจดุ มงุ่ หมายทั่วไปใน หน่วยงานจัดการศึกษาของไทย คือ สิงคโปร์ ได้ประกาศนโยบาย การจัดการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of มาตรฐานการศึกษาของชาติที่เรียก Education – Thailand) ระบบ ว่า การศึกษาของชาติ ( National ความมงุ่ หมายและหลกั การ Education) เพราะการศึกษาเป็น การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือ ร า ก ฐ า น ส ำ ค ั ญ ใ น ก า ร พ ั ฒ น า พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ี ทรัพยากรมนุษย์ จึงได้กำหนดแผน สมบรู ณท์ ั้งรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา และนโยบายในการพัฒนาประเทศ ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม ผา่ นการพฒั นาประชากรที่มีคุณภาพ และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ทั้งการส่งเสริมให้พลเมืองสิงคโปร์มี สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสามารถด้านภาษามากกว่า ความสขุ หนึ่งภาษาตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา หลกั การจัดการศึกษา และให้โอกาสเด็กนักเรียนได้เลือก 1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับ เรียนสิ่งที่ตนถนัด เพื่อให้เด็กแต่ละ ประชาชน คนเตบิ โตมาเป็นประชากรทีส่ ามารถ 2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด ท ำ ง า น ข อ ง ต น ไ ด้ อ ย่ า ง มี การศกึ ษา ประสิทธภิ าพมากท่สี ุด 3. การพัฒนาสาระและกระบวนการ เรียนรใู้ หเ้ ปน็ ไปอย่างตอ่ เน่ือง ( 2 . ก ฎ ห ม า ย ก า ร ศ ึ ก ษ า ห รื อ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย กฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาของ กฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ณ วันท่ี 6 เมษายน พ.ศ.2560 สิงคโปร์ ประกอบด้วยกฎหมาย การศึกษา พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ สำคัญ 3 ฉบับ ได้แก่ Compulsory พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) Education Act (Chapter 51) พ.ศ.2545 (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2553 Education Act (Chapter 87) และ และ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562 Private Education Act (Chapter 247A) รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

64 พระราชบัญญัติการศกึ ษาภาคบงั คับ พ.ศ.2545 พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ฯลฯ 3. โครงสร้างและการจัดระบบ เปน็ ระบบ 6+3+3 เปน็ ระบบ 6+4+2 การศกึ ษา โดยมีระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 โดยมีระบบการศกึ ษา ปี จากอายุ 7 - 15 ปี แบง่ ไดเ้ ปน็ ภาคบังคับ 6 จากอายุ 6 - 11 ปี 1. ระดบั ปฐมวัย (Primary) เรียนรู้2 ภาษาควบคู่กนั เน้นใช้ 2.ระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และ (Secondary) เลือกเรียนภาษาแม่อกี 1 ภาษา 3.ระดับอาชีวศึกษา(Vocational 1 . ร ะ ด ั บ ก ่ อ น ป ร ะ ถ ม ( Pre- Education) Primary) ใช้เวลาเรียน 3 ปี 4.ระดบั อดุ มศึกษา (Higher เริ่มเข้าเรียนระหว่างอายุ 4 - 6 ปี Education) โดยความสมคั รใจ 2. ระดับประถมศึกษา (Primary) ใช้เวลาเรียน 6 ปี เด็กจะเริ่มเข้า เรียน เมื่ออายุ 7 - 12 ปี การเลื่อน ชั้นจะมีการทดสอบด้วยข้อสอบ Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อที่จะเข้า ศกึ ษาตอ่ ในระดับมัธยมศึกษา 3. ระดบั มัธยมศึกษา (Junior high School/Secondary) ระยะเวลาเรียน 4 ปี ช่วงอายุ นักเรียนอยู่ระหว่าง 13 - 16/17 ปี จะมี 3 หลักสูตรให้เลือกตาม ความสามารถและความสนใจ โดย ใช้เวลา 4 - 5 ปี ได้แก่ หลักสูตร พเิ ศษ หลกั สตู รเร่งรดั หลักสตู รปกติ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พันโท กรีเทพ เขมะเพช็ ร 64560034

65 4. ระดบั หลังมธั ยมศกึ ษา (Post- Secondary) - ระดับเตรยี มอุดมศกึ ษา - ระดบั อาชีวศกึ ษา 5. ระดับอุดมศกึ ษา 4. ครผู ูส้ อน ต้องมีคุณสมบัตดิ งั น้ี สงิ คโปรแ์ บ่งหลกั สูตรผลติ ครูเปน็ 2 1.มีวฒุ ิไม่ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรีทาง ปรญิ ญาคอื การศึกษา ปริญญาทางศลิ ปะศาสตร์ (BA) และ 2. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ปริญญาทางวทิ ยาศาสตร์ (BSc) เมื่อได้รับการบรรจุต้องดำรง และจำแนกหลักสูตรผลิตครูตาม ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย 2 ปี ระดบั การใชค้ รู 1. ข้าราชการครู 2. ครูสัญญาจ้าง เป็น 2 ระดับคือ ครูประถมศึกษา และครจู ้างโรงเรยี นเอกชน (Primary) และ คร ูมัธ ยมศึก ษ า ครผู ู้สอนจะได้รับเงนิ เดือนตอบแทน (Secondary) ประมาณ 15,800 บาท และแตล่ ะหลักสูตรตอ้ งเรียน 125 - ทำงานวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เริ่ม 135 หน่วยกิต ทำงานเวลา 08.30 – 16.00 น. ประเทศสิงคโปร์ ได้รับการยอมรับว่าเป็นประเทศหนึ่งที่มีระบบที่มีคุณภาพและเป็นศูนย์กลางทาง การศึกษา การบริหารจัดการทางการศึกษาโรงเรียนทุกระดับมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับโดยเฉพาะการศึกษาปฐมวัยที่ ประเทศสงิ คโปร์ ให้ความสำคัญเปน็ พเิ ศษ มีรปู แบบการพัฒนาครทู ด่ี ี และมกี ารบริหารจัดการสภาพแวดลอ้ มหลักสูตร สื่อการเรยี นอย่างเหมาะสมย่งิ จนถือว่า เป็นศนู ยเ์ ด็กเล็กตน้ แบบกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่นเล็งเห็นความสำคัญ ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยเน้นการจดระบบศูนย์การศึกษาที่ดี เอื้ออำนวยการอบรมพัฒนาเด็กอีกท้ังมีโครงการ พัฒนาครูผู้ดูแลเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่ผู้ดูแลเด็กให้รอบรู้ท้ังวิธีการ ทำงาน วิธคีิ ิดสู่การปฏบิ ตั อิ ยา่ งมีคุณภาพจงึ เหน็ ควรจดโั ครงการอบรมและศกึ ษาดูงานการจัดการศึกษาปฐมวัยสำหรับ ผู้ดูแลเด็ก ณ ประเทศสิงคโปร์ข้ึน เพื่อประโยชน์ต่อผู้ดูแลเด็กต่อไป สิงคโปร์ ประกอบด้วย การส่งเสริมการเรียนรู้ คุณธรรมจรยิ ธรรมระดับรัฐบาล และโครงการส่งเสรมิ การเรยี นรูค้ ณุ ธรรมจรยิ ธรรม รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

66 การวิเคราะหบ์ ทความวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง บทความท่ี 1 การศึกษาเปรยี บเทยี บคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในหลักสตู รประถมศึกษาของประเทศไทยและประเทศสงิ คโปร์ A Comparative Study Desired Characteristics in Primary Curricula of Thailand and Singapore รปู แบบการวจิ ัย การวจิ ัยเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในหลักสูตรประถมศึกษาของประเทศไทย และประเทศสงิ คโปร์ วธิ ีดำเนินการ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชก้ ารวเิ คราะห์เชงิ เนอื้ หา ภายใต้กรอบการวิเคราะห์ทผ่ี วู้ จิ ัยสังเคราะหข์ นึ้ ผลการวิจยั 1) ด้านจุดมุง่ หมายของหลกั สูตร ทง้ั สองประเทศมคี วามสอดคล้องกันในการกำหนดทิศทางของหลักสูตร ดา้ นการพฒั นาผ้เู รียนแบบองค์รวม โดยท่ีจุดเด่นของประเทศไทยคือ การคงอัตลกั ษณ์ของความเป็นไทย และจุดเด่น ของประเทศสิงคโปร์คือ ผเู้ รยี นจะต้องเกดิ การเรียนรูอ้ ย่างกว้างขวางและลกึ ซึ้ง และเมื่อพิจารณาด้านคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ พบว่าสอดคล้องกับบริบทของ ทั้งสองประเทศ แต่จุดที่แตกต่างคือ ประเทศสิงคโปร์มีการกำหนดการ เรียนรูท้ างอารมณ์และสังคมไว้อย่างเป็นรูปธรรม 2) ด้านเนื้อหาวิชา ทั้งสองประเทศมีความสอดคล้องกันในการกำหนดรายวิชาพื้นฐาน และกิจกรรม พฒั นาผเู้ รียน จดุ เดน่ ของประเทศสิงคโปร์คือ การจัดกลุ่มรายวชิ าเปน็ การศกึ ษาแบบฐานกวา้ ง 3) ด้านโครงสร้างเวลาเรียน ทั้งเวลาเรียนต่อคาบและโครงสร้างเวลาเรียนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องประเทศไทย มจี ำนวนชั่วโมงต่อปีมากกว่าประเทศสิงคโปร์ 4) ดา้ นแนวปฏิบตั ิและกจิ กรรมการพฒั นาผู้เรยี น ท้งั สองประเทศมีแนวปฏิบัติที่สอดคลอ้ งกัน มีการบูร ณาการคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ อีกทั้งยังมีกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นตามความสนใจและความ ถนัดของผเู้ รยี น และการมสี ่วนรว่ มของผู้ปกครอง 5) ดา้ นการวัดและประเมินทงั้ เชิงคณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณ ทงั้ สองประเทศมเี กณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล ตามสภาพจริงผ่านกิจกรรม และบริบทของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน จุดเด่นของประเทศสิงคโปร์คอื มีรูปแบบการ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

67 ประเมินทั้งเชงิ คุณภาพและเชิงปริมาณ ซึ่งเป็นการประเมินแบบองค์รวม และจากการเปรยี บเทียบคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในหลักสูตรระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 ของประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์ พบว่าหลักสูตรของทั้งสอง ประเทศได้กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรอย่างชัดเจน มีความสอดคล้องกับบริบทของสังคมในศตวรรษที่ 21 อีกทั้ง ยังคงอัตลักษณ์ของประเทศไว้ ด้านเนื้อหาวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีความสอดคล้องกับจุดมุ่ งหมายของ หลักสูตร มีลำดับการพัฒนาที่เหมาะสมตามระดับช่วงชั้นและอายุ มีกิจกรรมที่หลากหลาย และสอดคล้องกับการ ดำเนินชีวิตประจำวัน นอกจากนี้มีการกำหนดเกณฑ์วัดและประเมินผลไว้อย่างชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติใน ทิศทางเดียวกนั การนำมาใช้ 1) ดา้ นโครงสรา้ งเวลาเรียน โดยเฉพาะเวลาเรียนรวมของหลักสูตรนั้น ควรที่จะคำนงึ ถงึ ความเหมาะสม ในระดับช่วงชั้นและอายุของผู้เรียน ดังนั้นสถานศึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศกึ ษาทั้งทางภาครัฐ และเอกชน สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการวิจยั ในครั้งนี้ไปเป็นขอ้ มลู พ้ืนฐาน เพื่อนำไปปรับใช้เป็นแนวทางในการจัด หลักสูตรเพ่ือพฒั นาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นระดับชาติ หรอื ระดับสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2) ด้านการวดั และประเมนิ ผลคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ควรท่จี ะใหผ้ ู้เรยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนั้นผู้บรหิ ารสถานศึกษาควรจะต้องมีการกำหนดแนวทางและเกณฑ์การประเมิน โดย การให้ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในการประเมนิ ไว้อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากน้ีครูผู้สอนและครูผรู้ ับผดิ ชอบควรเปิดโอกาสให้ ผเู้ รียนได้ประเมนิ ตนเอง ทำใหผ้ เู้ รยี นได้ตระหนกั รใู้ นตนเอง และเกดิ การพัฒนาตนเองได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ แหล่งขอ้ มูลของไทยที่เก่ยี วขอ้ ง 1) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) 2) แนวทางการพัฒนาการวดั และประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พื้นฐาน, 2554) 3) แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน, 2553) รายงานการศึกษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

68 4) หลักสตู รระดับประถมศกึ ษาจากเอกสาร Bringing Out The Best in Every Child เอกสาร Primary School Education: Preparing Your Child for Tomorrow แ ล ะ เ อ ก ส า ร Advancing 21st Century Competencies in Singapore (MOE, 2015, MOE, 2020 & Tan, et al., 2017) เอกสารอ้างอิง ภัทรภร พกิ ลุ ขวัญ และ ปฐั มาภรณ์ พิมพท์ อง. (2563). การศกึ ษาเปรยี บเทียบคุณลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ น หลักสตู รประถมศกึ ษาของประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์. ครุศาสตรส์ าร, 14(2), 153-164. บทความท่ี 2 การศึกษาเปรียบเทยี บศักยภาพและความสามารถของเด็กและเยาวชน 4 ประเทศในกลมุ่ ประเทศอาเซียน The Comparative Study of Capability of Child and Youth of 4 Countries in ASEAN Countries รปู แบบการวจิ ัย การวจิ ยั เชงิ คุณภาพ วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 1. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบศักยภาพและความสามารถของเดก็ และเยาวชนในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยเปรียบเทยี บใน 3 มติ ิ คอื 1.1 ด้านความสามารถและศกั ยภาพทางสตปิ ัญญา (Analytical Capability) 1.2 ความสามารถและศกั ยภาพทางอารมณ์และสังคม (Social Capability) 1.3 ความสามารถและศักยภาพทางดา้ นสขุ ภาพ (Health Capability) 2. เพื่อศึกษาปจั จัยท่ีมผี ลต่อศักยภาพและความสามารถของเดก็ ในประเทศอาเซยี น วิธีดำเนินการ วิจัยเชิงเอกสาร และสัมภาษณ์เจาะลึก แล้ววิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ค่าสถิติจากองค์กร หรือ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และการสัมภาษณ์ใช้วิธกี ารวิเคราะห์สถิติเนื้อหาและการยกตวั อย่างประกอบในการวิเคราะห์ เพื่อให้ได้บทสรปุ ท่ีสำคญั ในด้านนำเสนอข้อมลู นั้น ผู้วิจัยได้จำแนกวเิ คราะห์และจัดหมวดหมู่ประเภทของข้อมูลตาม รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

69 วัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์เป็นข้อมูลที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ ในช่วงระยะเวลา ปี 2009- 2014 ผลการวิจัย 1. มิติท่ี 1 ความสามารถและศักยภาพทางด้านสติปญั ญา เด็กและเยาวชนสิงคโปร์มีระดับความสามารถ และศักยภาพสูงกว่าค่าเฉล่ียทัว่ โลก เป็นอันดบั 1 ในอาเซยี น และเป็นอนั ดับ 2 ของโลก ซงึ่ ตรงกนั ข้ามประเทศอ่ืนใน อาเซยี นที่ยงั มคี ่าเฉล่ยี ต่ํากวา่ เกณฑ์ 2. มติ ทิ ่ี 2 ความสามารถและศักยภาพทางอารมณ์และสังคม พบวา่ เด็กและเยาวชนในอาเซียนมรี อ้ ยละ ของค่าเฉลยี่ สงู กว่าค่าเฉล่ียทวั่ โลก โดยอนิ โดนีเซยี มีคะแนนสงู เป็นอันดับ 1 ของโลก 3. มิตทิ ่ี 3 ความสามารถและศักยภาพทางด้านสุขภาพ พบว่า เดก็ และเยาวชนของอินโดนเี ซีย และไทย ยงั คงประสบปญั หาทพุ โภชนาการ 4. เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อศักยภาพและความสามารถของเด็กและเยาวชนในแต่ละ ประเทศใหม้ คี วามแตกตา่ งกันมากที่สุด พบว่า ปจั จยั ภายในประเทศดา้ นการศกึ ษา เป็นปจั จัยสำคัญที่เป็นพ้ืนฐานทำ ให้เด็กและเยาวชนมคี วามแตกต่างกนั การนำมาใช้ 1. เร่งยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเสริมสร้างการเรียนรู้ให้กับเด็กและเยาวชนไทย เพื่อพัฒนา ระดับสตปิ ัญญาของเด็กและเยาวชนไทยใหม้ ีศักยภาพเพม่ิ มากข้ึน รัฐควรมนี โยบาย ในการส่งเสรมิ การพัฒนาทิศทาง การศึกษาของไทยในเชิงนโยบาย โดยเน้นการพัฒนาเชิงรุกให้ทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนกบั การพัฒนาทักษะวิชาการต่าง ๆ ทักษะทางเทคโนโลยี และทักษะในการดำเนินชีวิตต่อไป เน้นการผลิตบัณฑิตที่มี คณุ ภาพโดยมีระบบการคดั กรองท่ีสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของสถานศกึ ษา ควรมนี โยบายสร้างแรงจูงใจโดยการให้ ทนุ การศึกษาเพอ่ื ดงึ คนเก่งเขา้ มาเปน็ ครู 2. หนว่ ยงานและองคก์ รทเี่ กีย่ วข้องตอ้ งใหค้ วามสำคญั และยกระดบั การดูแลสุขภาพของเด็กและเยาวชน ในเชิงของการปอ้ งกันสขุ ภาพใหแ้ ขง็ แรงมากกว่าการรักษาเม่ือเกิดการเจ็บป่วย ท้งั ในเชิงนโยบายและการนำไปปฏิบัติ สร้างความตระหนกั โดยการปลูกฝังเด็กและเยาวชนในการปอ้ งกันสุขภาพท้ังการด่ืมสุราและการสบู บุหรี่ รวมถึงการ รับประทานอาหารทีม่ ีประโยชนแ์ ละการออกกำลงั กายอย่างสม่ำเสมอ รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สิงคโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

70 แหลง่ ข้อมูลของไทยทีเ่ กีย่ วข้อง 1) ผลการประเมิน PISA2012 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บทสรุปเพื่อการบริหาร (โครงการ PISA ประเทศไทยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี 2553) 2) มุมความรู้อาเซียน (สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, 2558) 3) รายงานการศกึ ษาวิจัยเปรียบเทยี บ เร่อื ง การดำเนินงานดา้ นนโยบาย การศกึ ษาขององค์กรนโยบาย การศึกษาระดับชาติในกลุ่มประเทศอาเซียนและอาเซียนบวกสาม (กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, 2557) เอกสารอ้างอิง อุไรวรรณ รงุ่ ไหรญั และ คริษฐา อ่อนแก้ว. (2560). การศึกษาเปรยี บเทยี บศักยภาพและความสามารถของเด็กและ เยาวชน 4 ประเทศในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น. วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร,์ 8(พิเศษตุลาคม), 153-173. รายงานการศึกษาเชงิ เปรียบเทียบระบบการศึกษาไทย - สงิ คโปร์ พันโท กรเี ทพ เขมะเพช็ ร 64560034

71 บรรณานกุ รม จนั ทพร ศรโี พน. (n.d.). กฎหมายเกย่ี วกบั การศึกษาของประเทศสิงคโปร์. สบื ค้นจาก https://lawforasean. krisdika.go.th/File/files/1511381924.7e6189dc9a1d0f7d3b03565897d62f76.pdf ชลดิ า หนูหล้า. (2563). ปน้ั ครู เปลยี่ นโลก: ถอดนโยบายสรา้ งครูแหง่ ศตวรรษท่ี 21. สืบคน้ จาก https://bookscape.co/infographic-singapore-education-policy ทวกิ า ต้ังประภา. (2556). การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสมรรถนะของนกั เรียน: กรณีศกึ ษาการยกระดับการจัด การศกึ ษาเพ่อื พัฒนา “สมรรถนะและผลลัพธข์ องนกั เรยี นในศตวรรษท่ี 21” ของประเทศสิงคโปร.์ วารสาร ครุศาสตร์, 40(3), 203-227. บุษบา เหมะวิศัลย์. (2555). ทศั นะของข้าราชการครทู มี่ ตี อ่ การปฏริ ูปการศึกษาตามยุทธศาสตรด์ า้ นหลักสตู รการเรียน การสอนของการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา จนั ทบรุ ี เขต 2. วารสารวิจัยรำไพ พรรณี, 7(1), 5 – 11. ประวติ เอราวรรณ์. (2561). สิงคโปรผ์ ลติ และพฒั นาครูอยา่ งไร. วารสารราชภฎั สรุ าษฏรธ์ านี, 5(2), 61 – 84. ภัทรภร พิกุลขวัญ และ ปัฐมาภรณ์ พิมพท์ อง. (2563). การศึกษาเปรียบเทียบคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ น หลักสตู รประถมศึกษาของประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์. ครศุ าสตร์สาร, 14(2), 153-164. มนตรี สามเมือง. (2546). การจดั การศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงมหาดไทย ดา้ นผลผลิต ในโรงเรียน สงั กัดเทศบาลนคร ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . สถาบันราชภฏั เลย,:ม.ป.ท. สำนักข่าวกรองแห่งชาต.ิ (2564). ขอ้ มลู พ้ืนฐานของต่างประเทศ 2564. สบื คน้ จาก https://www.nia.go.th/newsnow/almanac-files/static/pdf/2564/สงิ คโปร์_2564.pdf สำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.). (n.d.). ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สิงคโปร.์ สืบค้น จาก http://www.mahasarakham.go.th/asean/images/pdf/gov%20SG.pdf อุไรวรรณ รุง่ ไหรัญ และ ครษิ ฐา อ่อนแก้ว. (2560). การศึกษาเปรยี บเทียบศักยภาพและความสามารถของเดก็ และ เยาวชน 4 ประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน. วารสารมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร,์ 8(พเิ ศษตุลาคม), 153-173. รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรเี ทพ เขมะเพ็ชร 64560034

72 ภาคผนวก รายงานการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาไทย - สงิ คโปร์ พนั โท กรีเทพ เขมะเพ็ชร 64560034

EDA711 Comparative Educational Administration

2 EDA Comparative Educational Administration Principles and general objectives of education) Laws and other basic regulations concerning education) Structure and organization of education system) The Educational Process)

3 1. Context of Country 2. Principles and general objectives of education) 3. Laws and other basic regulations concerning education) 4. Structure and organization of education system) 5. The Educational Process)

4

5

1 (http://www.thaiheritage.net/nation/neighbour/myanmar.htm) Context of Country)

2 , , ,

3 tropical monsoon) rhododendron) magnolia)

4 Mt.Gamlanrazi musk deer Mt.Sarameti Mt.Victoria 'x]u) birch) civet cat) takin red pandar Mogok)

5 Tavoy) Mergui) The Mergui Archipelago) Salon) sea gypsies) : DLTV Resources https://youtu.be/z-eS4RbIvz0

6 Principles and general objectives of education)

7 Laws and other basic regulations concerning education)

8 Structure and organization of education system) Ministry of Education) Office Staff; Department of Higher Education; Department of Basic Education; Department of Myanmar Language Commission; Department of Myanmar Board of Examinations Myanmar Education Research Bureau

9 Higher Education ) Departments of upper Myanmar) lower Myanmar) medical schools technological universities Yangon, Mandalay Manlamyine

10 Manlamyine Yangon Mandalay University of Yangon) University of Oxford) University of Cambridge) Housing)

11 Burmese) Computer Science) English) Geography) History) Philosophy) Psychology) Law) Botany) Chemistry) Mathematics) Physics) Zoology) The Educational Process) CPR)

12 ECCE) DSW) ECCE ECCE EFA (NAP) ECCE ECCE ECCE ECCE ECCE ECCE

13 1. Context of Country) , 2. Principles and general objectives of education)

14 . 6 2560 Laws and 2542 2) 2545 4 other basic 3) 2553 regulations 2562 concerning education) 2545

15 2546 . - 6-3-3 - Structure and - 2-4-2-3 organization of education system) - 1 16 30 21 31 5. The Educational Process)

16 Documentary study) Qualitative research) Group interview) In-depth interview) Grounded Theory) Field study) (

17

, 18 Cross- , , (Chaiwong et al., CLMV

19 , https://so tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/download/

20 Best Practice)

21 NGO

22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook