คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน การเปลยี่ นมอเตอรเ์ ครอ่ื งซกั ผา้ รนุ่ Panasonic แบบ 2 ถงั นายกรรชัย ขนั พแกว้ รหัส 6441040001 สาขาเทคโนโลยไี ฟฟ้าวทิ ยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคใต้ อ้างอิงรายวิชา :การเขยี นรายงานในงานอาชีพ รหัส : 20-4000-1101 ที่ปรึกษา: ดร.สมหวัง ศภุ พล
สารบัญ 1 1 บทนำ 3 ขนั้ ตอนการเปลียนมอเตอร์เครื่องซกั ผ้า รนุ่ Panasonic แบบ2 ถงั 6 เคร่อื งมอื อุปกรณ์และขอ้ ควรระวัง 9 01.การตรวจเช็คมอเตอร์ 12 02.การถอดมอเตอรเ์ ครื่องซักผา้ 15 03.การประกอบมอเตอรเ์ ครื่องซกั ผา้ 18 04.ทดลองการทำงานของมอเตอร์ 19 ภาคผนวก 23 ภาคผนวก ก มอเตอร์ 28 ภาคผนวก ข คมี 35 ภาคผนวก ค สว่าน 44 ภาคผนวก ง ไขควงวดั ไฟและมัลตมิ เิ ตอร์ 46 บรรณานกุ รม ประวัติผู้จัดทำ
-1- บทนำ ในปจั จุบนั เครอื่ งซักผ้าเปน็ เครอ่ื งอำนวยความสะดวกและย่นเวลาในการซกั ผ้าจากหนงึ่ วัน เหลือเพยี ง 1 ช่วั โมง เพราะเหตุน้ีเครือ่ งซกั ผา้ จงึ หลายชนิดหลายยี้หอ้ และยังมีท่ีเสยี อกี เปน็ จำนวน มากจงึ ตอ้ งมกี ารซ่อมบำรุงในการใชง้ านตอ่ ๆไป คู่มอื ฉบบั นม้ี ีขน้ั ตอนการเปล่ียนมอเตอร์เคร่อื งซักผา้ รนุ่ Panasonic แบบ 2 ถัง รายละเอียด ต่างๆของ วสั ดอุ ปุ กรณ์และหวงั ว่าอยา่ งย่งิ วา่ คมู่ อื ฉบับนจี้ ะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้อ่านไมม่ ากก็น้อย คมู่ ือการเปล่ียนมอเตอร์เครือ่ งซกั ผ้า รุ่น Panasonic แบบ 2 ถงั มี 4ข้นั ตอน ควรใชอ้ ย่าง การตรวจเชค็ มอเตอร์ ระมัดระวงั 01 การถอดมอเตอร์เคร่อื งซักผา้ 02 02 การประกอบมอเตอร์เคร่ืองซักผ้า 03
-2- คมู่ อื การเปลย่ี นมอเตอรเ์ ครื่องซกั ผ้า รุ่น Panasonic แบบ 2 ถงั มี 4 ขั้นตอน การทดลองและการประกอบฝาหลัง 04 เครื่องซักผา้
-3- เครอ่ื งมืออุปกรณ์และข้อควรระวังการเปลยี่ นมอเตอร์เคร่ืองซกั ผา้ ห้ามไหโ้ ดนนำ้ ชุดไขควง (screwdriver มลั ตมิ เิ ตอร์ (multimeter) set) ข้อควรระวงั : ขอ้ ควรระวัง เวลาขันควรใชแ้ รงกดดว้ ย ห้ามมกี ารกระทบกระเทือน ตัวดดู 3 ขา (suction cup 3 legs) (pliers) ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง ตวั ดดู 3 ขา (suction cup 3 legs) ควรทำความสะอาดหลังใช้งาน คีมปอกสายไฟ (wire stripping pliers) คอ้ น (hammer) ข้อควรระวัง ข้อควรระวัง ควรเลือกใช้ไห้เหมาะกบั งาน ควรสำรวจดา้ มจับค้อนก่อนใช้งาน
-4- เครื่องมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวงั การเปล่ียนมอเตอร์เคร่ืองซกั ผา้ กาวทายาง (rubber glue) เทปพันสายไฟ (duct tape) ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวงั ควรทำความสะอาดอุปกกรณ์ก่อนทา ควรพันซอ้ นกนั 2 – 3 รอบ ชดุ ประแจตวั ที เบอร์ 10 (T wrench) ประกาเคมี (chemical splash) ขอ้ ควรระวัง ข้อควรระวงั ควรเลอื กขนาดทีเ่ หมาะสม กระดาษ A4 (A4 paper) สว่านแบตเตอร่ี (battery drill) ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวัง ทำความสะอาดทุกครั้งหลงั ใชง้ าน ไหเ้ อาออกไหห้ ่างจากน้ำและไฟ
-5- เครือ่ งมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวงั การเปลยี่ นมอเตอรเ์ ครื่องซกั ผา้ ไขควงวัดไฟ (electric screwdriver) ผ้าสะอาด (clean cloth) ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวัง คตั เตอร์ (cutter) มอเตอร์ (Moter) ขอ้ ควรระวัง ขอ้ ควรระวงั ซลี กนั น้ำ (waterproof seal) ควรเลอื กขนาดท่ีเหมาะสำหรบั เครือ่ งซักผา้ คีม ประแจก๊อกแกก๊ (socket wrench) ข้อควรระวัง ข้อควรระวงั ควรทากาวไห้ท่ัวๆก่อนใสเ่ ข้าครือ่ งซกั ผ้า เลอื กขนาดทีเ่ หมาะสม
-6- 01 การตรวจเช็คมอเตอร์ เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั -ควรวาดรูปวงจรมอเตอรเ์ พอื่ ทำความ • -ตั้งค่าสเกลสูงสดุ ของยา่ นการวัดขณะวัดจุดท่ี เขา้ ใจในการวัดค่าความตา้ นทานมากข้ึน ไมท่ ราบค่าแน่นอน • -ก่อนทำการวัดทุกคร้ังต้องแนใ่ จวา่ เลือกยา่ น การวดั ถกู ตอ้ งเสมอ
-7- 01 การตรวจเชค็ มอเตอร์ https://bit.ly/3B50DiK 01 วาดวงจรของขดลวดในมอเตอร์เพื่อวดั ค่า 02 วดั คา่ ความต้านทานของมอเตอรส์ ายไฟเส้นสี ความต้านทาน น้ำเงนิ – สีแดง จะต้องไดป้ ระมาณ 19 -21 Ω
-8- 01 03 วดั คา่ ความตา้ นทานของมอเตอรส์ ายไฟเสน้ สนี า้ เงนิ 04 วดั คา่ ความตา้ นทานของมอเตอรส์ ายไฟเสน้ – สเี หลือง จะตอ้ งไดป้ ระมาณ สแี ดง – สีเหลืองเม่ือรวมคา่ ความตา้ นทานท่วี ดั ได้ แลว้ จะตอ้ งการประมาณ 38 – 42 Ω ถา้ วดั แลว้ คา่ 19 -21 Ω ความตา้ นทานไม่ถงึ เกณฑก์ จ็ ะตอ้ งเปลย่ี นมอเตอร์
-9- 02 การถอดมอเตอรเ์ คร่ืองซกั ผ้า เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคการทำงาน ข้อควรระวัง -ควรใช้อปุ กรณ์ใหถ้ กู กับหลกั การใชง้ าน - ควรปฎบิ ัติตามขน้ั ตอนเพ่อื ช่วยใหก้ าร ถอดง่ายยิง่ ข้นึ
- 10 - 02 การถอดมอเตอรเ์ ครอ่ื งซกั ผ้า https://bit.ly/3l1PKbn 01 ถอดสกรูตวั บนออกเพ่อื จะยกถงั ป่ันแหง้ 02 ถอดถงั ป่ันแหง้ ออก ออก 03 ทาการนอนเครอื่ งซกั ผา้ ในลกั ษณะนี้ 04 ถอดสกรูขายึดแกนมอเตอร์
02 - 11 - 05เม่ือนามอเตอรอ์ อกมาแลว้ ใหแ้ ยกสายของ 06 ใชต้ วั ดดู 3 ขา ถอดบชู มอเตอรอ์ อก มอเตอรท์ งั้ 3 เสน้ คอื สแี ดง สนี า้ เงิน สีขาว 07 ถอดชดุ เบรก
- 12 - 03 การประกอบมอเตอรเ์ ครอ่ื งซักผ้า เครื่องมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคการทำงาน -ขอ้ ควรระวัง - ควรใชเ้ คร่ืองมือใหเ้ หมาะสมกบั งาน - ควรใช้คอ้ นตอกทอ่ี ปุ กรณเ์ บาๆ -เวลาขันตอ้ งสกรขู ันใหแ้ นน่ ๆ -ควรรอใหก้ าวแหง้ กอ่ นที่จะตดิ ตง้ั ถังป่นั
- 13 - 03 การประกอบมอเตอร์เครอื่ งซกั ผา้ https://bit.ly/2Y9kZrU 01 ทากาวขอบซีลกนั นา้ เพ่อื กนั นา้ ร่วั ลงสู่ 02 ตดิ ตงั้ ซลี กนั นา้ มอเตอร์ 03 ตดิ ตงั้ ขายดึ แกนมอเตอร์ 04 ตดิ ตงั้ ชดุ เบรคและบชู ของมอเตอร์
- 14 - 05 เม่ือกาวท่ที าซลี กนั นา้ แหง้ นามอเตอร์ 06 ตอ่ สายไฟตามสีของมอเตอร์ กบั เขา้ ตาแหนง่ เดิม 07 เกบ็ สายไฟใส่ถงุ กนั นา้ และตอ่ สายเขา้ 08 นาถงั ป่ันมาประกอบเขา้ ทเ่ี ดมิ กบั คาปาซเิ ตอร์ 09 ใส่สกรูตวั ยดึ ถงั ป่ัน
- 15 - 04 การทดลองและการประกอบฝาหลังเครอื่ งซกั ผา้ เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวัง - ต้องเช็คระบบก่อนทจี่ ะเทสมอเตอร์ - ต้องดเู ครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ทอี่ ยู่ภายใน เครอ่ื งซักผา้ วา่ เอาออกหมดหรือยัง
- 16 - 04 การทดลองและการประกอบ shorturl.asia/uTOg1 02 ลองเปิดฝาครอบเช็คระบบเบรค 01 เทสมอเตอรว์ า่ หมนุ หรอื ใหม่ 03 ทาการปิดฝาครอบหลงั เคร่ืองซกั ผา้
- 17 - ภาคผนวก
- 18 - ภาคผนวก 01 มอเตอร์
- 19 - มอเตอรไ์ ฟฟ้า เป็นอปุ กรณ์ไฟฟา้ ท่ีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังกล มอเตอร์ทใี่ ช้งานในปจั จุบนั แต่ละชนดิ กจ็ ะมคี ณุ สมบตั ิที่แตกตา่ งออกไปต้องการความเร็ว รอบหรอื กำลังงานท่ีแตกตา่ งกัน ซึ่งมอ เตอร์แตล่ ะชนิด จะแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ชนิด ตามลกั ษณะการใชง้ านกระเเสไฟฟ้า มอเตอรไ์ ฟฟ้าแบง่ ออกตามการใช้ของกระแสไฟฟ้าได้ 2 ชนิดดงั น้ี 1.มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Motor) หรอื เรียกว่าเอ.ซี มอเตอร์ (A.C. MOTOR) การแบ่งชนดิ ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ สลับแบ่งออกเป็น 3 ชนิดไดแ้ ก่ 1. มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับชนิด 1 เฟส หรอื เรียกว่าซงิ เกิลเฟสมอเตอร์ (A.C. Sing Phase) จะใช้กบั แรงดนั ไฟฟา้ 220 โวลตม์ ีสายไฟ เขา้ 2 สาย มแี รงม้าไมส่ งู ส่วนใหญ่ตามบา้ นเรือน - สปลิทเฟส มอเตอร(์ Split-Phase motor) - คาปาซเิ ตอร ม์ อเตอร์ (Capacitor motor) - รีพัลชั่นมอเตอร์ (Repulsion-type motor) - ยูนิเวอร์แวซลมอเตอร์ (Universal motor) - เช็ดเดดโพล มอเตอร์ (Shaded-pole motor) 2. มอเตอรไ์ ฟฟา้ สลับชนิด 2 เฟสหรือเรียกว่าทูเฟสมอเตอร์ (A.C.Two phas Motor) 3. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั ชนดิ 3 เฟสหรือเรยี กว่าทีเฟสมอเตอร์ (A.C. Three phase Motor) เป็นมอเตอรท์ ่ีใช้ในงานอตุ สาหกรรมตอ้ งใช้ระบบไฟฟา้ 3 เฟส ใช้แรงดนั 380 โวลต์ มสี ายไฟ เข้ามอเตอร์ 3 สาย 2.มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง (Direct Current Motor ) หรอื เรียกว่าดี.ซี มอเอตร์ (D.C. MOTOR) การ แบ่งชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกไดด้ งั น้ี มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกเปน็ 3 ชนิดได้แก่ 1.มอเตอร์แบบอนุกรมหรอื เรียกวา่ ซรี ีส์มอเตอร์ (Series Motor) 2.มอเตอรแ์ บบอนขุ นานหรอื เรยี กว่าชันทม์ อเตอร์ (Shunt Motor) 3.มอเตอร์ไฟฟา้ แบบผสมหรอื เรียกว่าคอมเปาวด์มอเตอร์ (Compound Motor)
- 20 - ส่วนประกอบหลกั ๆ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1.) ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Coil) คอื ขดลวดทถี่ กู พนั อยกู่ บั ขว้ั แมเ่ หล็กที่ยึดตดิ กับโครง มอเตอร์ ทำหนา้ ทกี่ ำเนิดขัว้ แมเ่ หล็กขั้วเหนอื (N) และขั้วใต้ (S) แทนแมเ่ หลก็ ถาวรขดลวดที่ใช้เปน็ ขดลวดอาบน้ำยาฉนวน สนามแมเ่ หล็กจะเกิดข้นึ เมือ่ จ่ายแรงดันไฟตรงใหม้ อเตอร์ 2.) ขวั้ แม่เหลก็ (Pole Pieces) คือแกนสำหรบั รองรับขดลวดสนามแมเ่ หลก็ ถกู ยดึ ติดกบั โครง มอเตอร์ดา้ นใน ขวั้ แมเ่ หล็กทำมาจากแผน่ เหลก็ อ่อนบางๆ อัดซอ้ นกนั (Lamination Sheet Steel) เพ่ือลดการเกิดกระแสไหลวน (Edy Current) ท่ีจะทำให้ความเข้าของสนามแม่เหลก็ ลดลง ขวั้ แมเ่ หล็กทำหนา้ ที่ให้กำเนดิ ขัว้ สนามแม่เหลก็ มีความเขม้ สูงสดุ แทนขัว้ สนามแม่เหลก็ ถาวร ผิว ดา้ นหนา้ ของขวั้ แมเ่ หล็กทำใหโ้ ค้งรบั กบั อารเ์ มเจอร์พอดี 3.) โครงมอเตอร์ (Motor Frame) คอื สว่ นเปลอื กหุ้มภายนอกของมอเตอร์ และยิดึ สว่ นอยกู่ ับที่ (Stator) ของมอเตอร์ไว้ภายในร่วมกบั ฝาปดิ หวั ท้ายของมอเตอร์ โครงมอเตอร์ทำหน้าทีเ่ ป็นทางเดนิ ของเส้นแรงแม่เหล็กระหว่างข้วั แมเ่ หลก็ ใหเ้ กดิ สนามแม่เหล็กครบวงจร 4.) อาร์เมเจอร์ (Armature) คอื ส่วนเคลื่อนที่ (Rotor) ถกู ยึดตดิ กบั เพลา (Shaft) และรองรบั การ หมุนดว้ ยท่รี องรับการหมุน (Bearing) ตวั อารเ์ มเจอร์ทำจากเหล็กแผน่ บางๆ อดั ซ้อนกัน ถูกเซาะร่อง ออกเป็นส่วนๆ เพอ่ื ไวพ้ ันขดลวดอาร์เมเจอร์ (Armature Winding) ขดลวดอารเ์ มเจอร์เป็นขดลวด
- 21 - อาบน้ำยาฉนวน ร่องขดลวดอาร์เมเจอรจ์ ะมขี ดลวดพนั อยู่และมีลิ่มไฟเบอร์อดั แน่นขึดขดลวดอาร์ เมเจอรไ์ ว้ ปลายขดลวดอาร์เมเจอรต์ อ่ ไวก้ บั คอมมวิ เตเตอร์ อาร์เมอเจอรผ์ ลกั ดันของสนามแมเ่ หล็กทง้ั สอง ทำให้อาร์เมเจอรห์ มุนเคล่ือนที่ 5.) คอมมวิ เตเตอร์ (Commutator) คือสว่ นเคล่ือนทอ่ี กี สว่ นหนึ่ง ถกู ยึดตดิ เข้ากับอาร์เมเจอร์และ เพลาร่วมกนั คอมมิวเตเตอร์ทำจากแ่ทง่ ทองแดงแขง็ ประกอบเขา้ ดว้ ยกันเป็นรูปทรงกระบอก แต่ละ แท่งทองแดงของคอมมิวเตเตอรถ์ กู แยกออกจากกันด้วยฉนวนไมก้า (Mica) อาร์เมเจอร์ คอมมิวเต เตอรท์ ำหน้าทเี่ ปน็ ขั้วรับแรงดันไฟตรงท่ีจ่ายมาจากแปรงถ่าน เพ่อื สง่ ไปให้ ้ขดลวดอาร์เมอร์ 6.) แปรงถ่าน (Brush) คือ ตวั สมั ผัสกบั คอมมิวเตเตอร์ ทำเปน็ แท่งสีเ่ หลี่ยมผลิตมาจากคาร์บอนหรอื แกรไฟตผ์ สมผงทองแดง เพื่อใหแ้ ข็งและนำไฟฟา้ ไดด้ ี มสี ายตวั นำต่อรว่ มกับแปรงถ่านเพ่อื ไปรับ แรงดนั ไฟตรงท่ีจา่ ยเข้ามา แปรงถา่ นทำหน้าทีร่ ับแรงดันไฟตรงจกแหลง่ จา่ ย จ่ายผา่ นไปใหค้ อมมวิ เต เตอร์
- 22 - การทำงานของมอเตอร์ การทำงานเบ้ืองต้นของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง มีแรงดนั ไฟตรงจา่ ยผ่านแปรงถ่านไปคอมมิวเต เตอร์ ผา่ นไปใหข้ ดลวดตัวนำทีอ่ าร์เมเจอร์ ทำให้ขดลวดอาร์เมเจอร์เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าขึน้ มา ทางดา้ นซา้ ยมือเปน็ ขัว้ เหนือ (N) และด้ า้ นขวาเปน็ ขวั้ ใต้ (S) เหมอื นกับขว้ั แมเ่ หล็กถาวรท่ีวางอยู่ใกล้ๆ เกดิ อำนาจแม่เหลก็ ผลักดันกนั อาร์เมเจอรห์ มุนไปในทิศทางตามเข็มนาฬกิ า พร้อมกับคอมมวิ เตเต อรห์ มนุ ตามไปดว้ ย แปรงถ่านสมั ผสั กบั ส่วนของคอมมิวเตเตอร์ เปลย่ี นไปในอีกปลายหนึ่งของขดลวด แตม่ ีผลทำใหเ้ กิดข้วั แมเ่ หลก็ ท่ีอารเ์ มเจอร์เหมือนกับช้วั แมเ่ หลก็ ถาวรที่อยูใ่ กล้ๆอีกครงั้ ทำให้อาร์ เมเจอร์ยงั คงถูกผลกั ใหห้ มุนไปในทิศทางตามเขม็ นาฬิกาตลอดเวลา เกิดการหมุนของอาร์เมเจอร์คือ มอเตอร์ไฟฟา้ ทำงาน https://bit.ly/3iCReHX
- 23 - ภาคผนวก ข คีม
- 24 - คีมรปู แบบน้ี เป็นคมี มาตรฐานนะครับ เลยเอามาให้ดสู ่วนประกอบกนั กอ่ น ปากจับ (Jaws) เป็นส่วนปลายของคีมมหี นา้ ท่ี ประคองและเป็นชน้ิ ส่วน เดยี วกบั ปากจบั และปากจบั ปากจบั (Pipe Grips) สว่ นมากจะมีรอยหยกั และลักษณะโค้งมน เพ่ือประโยชนใ์ นการบบี และจบั วัตถทุ รงกลม ตัวตัด (Cutters) ชิ้นส่วนนีจ้ ะทำหนา้ ท่เี อาไวต้ ัด หลกั การหนีบแล้วกด ใหช้ ิน้ ส่วนขาดจากกัน ดว้ ยคม ของคมี หมุดยึด (Fulcrum or Pivot Point) หมุดนี้ ไมไ่ ดท้ ำหน้าท่ีเพียงแค่ ยดึ ชิ้นส่วนของคีมใหต้ ดิ กัน แต่ ยงั สามารถใช้ เสริมแรงให้คมี มแี รงบบี อีกด้วย ดา้ มจบั (Handles) ดา้ มจบั คอื สว่ นท่ีใช้มอื ถอื ซ่งึ จะมลี ักษณะแตกต่างกนั อาจจะเปน็ ทรงตรงหรอื โค้งกไ็ ด้ และอาจจะมลี กั ษณะหุม้ ยาง เปลือย หรือ เคลอื บพลาสตกิ https://bit.ly/3CFXHJS
- 25 - คีมยำ้ Crimping Pliers ลักษณะการใช้งาน เครอ่ื งมือย้ำวัสดุ คมี ยำ้ น้ี จะมหี ลายรปู แบบ แต่วตั ถุประสงคห์ ลกั ก็คอื การยำ้ สายไฟ หรอื สายลวด สายสัญญาณ เพอ่ื ใชบ้ ีบวสั ดุหุ้ม (พลาสติกหรอื โลหะ) ใหเ้ ปลีย่ นรูปตามรูปทรงตา่ งๆ ของการออกแบบของคีม โดยวสั ดทุ ่ี นำมาหุ้มสายสัญญาณ หรือสายไฟต่างๆน้นั จะเกาะตดิ ตัวสายไปดว้ ย ซงึ่ คมี ชนิดน้นี ิยมใชก้ ันมากใน วงการไฟฟ้า การส่ือสาร และคมนาคม https://bit.ly/2Xhbre6 คีมตัดสาย Diagonal Pliers ลักษณะการใช้งาน ใช้เพ่อื ตัดวัสดุ ทรี่ ปู ทรงตา่ งๆ คมี ตดั คือ คีมทมี่ ีลักษณะการทำงานคล้ายกรรไกร ออกแบมาเพอ่ื ตัดลวดหนาๆ ตะปู หรอื ตดั ทรงโคง้ โดยใช้แรงบีบจากด้ามจับ กดเพอ่ื ให้วัตถขุ าดจากกนั โดยใชค้ มของปากคมี นิยมอย่างแพร่หลายท้งั งาน ช่างไมแ้ ละงานชา่ งไฟฟ้า
- 26 - คีมปากแหลม (คมี ปากจ้ิงจก) ใชส้ ำหรบั จับโลหะแบน หรอื สายไฟ ปากคีมมีลกั ษณะเรยี วแหลม และมขี นาดเล็ก เหมาะกบั การใช้ งานในทแี่ คบ และงานไฟฟ้า คมี ปากโคง้ Bent Nose Pliers ลกั ษณะการใชง้ าน จบั ชิน้ งานท่ลี กั ษณะพนื้ ทเ่ี ฉพาะ คมี ปากโค้ง เป็นคีมลักษณะ ปลายคมี โค้งลงมา โดยทว่ั ไปจะมมี มุ โคง้ ท่ี 45 หรือ 90 องศา ทำใหห้ ยบิ จบั วตั ถใุ นพน้ื ท่ี ทเี่ ข้าถึงยาก ไดด้ ีจงึ ทำใหค้ ีมชนิดนี้ เปน็ ประโยชนใ์ นงาน จิวเวอร่ี หรือ งานไฟฟา้ อยา่ งมาก
- 27 - https://bit.ly/3xDJ6eu คีมปอกสาย Wire Strippers ลักษณะการใชง้ าน ใช้เพื่อปลอกสายพลา่ สติกที่หุ้มสายไฟ คีมชนดิ นเี้ ปน็ คมี ทีน่ ิยมใน ชา่ งไฟมาก เพราะตวั คีมเอง มหี น้าท่ปี ลอกสายไฟหรือสายทองแดงทม่ี ี พลาสติกเปน็ ฉนวนหมุ้ เพ่ือนำตวั ลวดมาต่อเชอื่ มการใช้งานในลกั ษณะน่นั เอง หลักการทำงานของตวั คีมจะทำการตัด แตจ่ ะตัดไมข่ าดถึงสายไฟ จะทำการตดั แค่ ตัวฉนวนทห่ี ุ้มสายไฟเทา่ นั้นทง้ั น้ีกข็ ้ึนอยู่ กบั วา่ คมี ถูกออกแบบมาให้ตดั สายไฟในลกั ษณะใดด้วยซ่ึงปจั จุบนั ตวั คมี ปอกสายไฟ มีหลายลักษณะ มากมายตามผผู้ ลติ ออกแบบมา ดงั น้ันจึงขนึ้ อยู่กับการเลือกการใช้งานด้วยนน่ั เอง
- 28 - ภาคผนวก ค สว่าน สว่าน (Drill) เป็นเคร่ืองมืองานช่างท่ัวไป มักใช้ในงานไม้ งานปูนคอนกรีต และงานโลหะ มีหน้าที่ใช้สำหรับเจาะรู กระแทกวัตถุใช้ไขหรือคลายสกรูในการถอดและประกอบช้ินส่วน ต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยท่ีไม่ต้องออกแรงมาก สว่านมีรูปทรงลักษณะคล้ายปืน มีด้ามจับ ส่วน
- 29 - ปลายเป็นปากสำหรับยึดดอกสว่าน ซ่ึงดอกสว่านมีลักษณะเป็นแท่งเกลียวยาวปลายแหลมท่ี สามารถหมุนเจาะทำให้เป็นรูได้ ดอกจะสว่านมีหลายประเภทและมีหลายขนาดสามารถถอด และเปล่ียนดอกสว่านได้ตามต้องการ ชนิดของสว่าน สว่านไฟฟา้ ( Electric Drill ) สว่านไฟฟ้า สว่านไร้สาย ชนดิ ต่างๆ สว่านไฟฟา้ เปน็ สวา่ นพน้ื ฐานที่เรารจู้ ักกนั ดี รปู ร่างคล้ายปนื มสี ายไฟตอ่ มากบั ตัวสว่าน ถูก ออกแบบมาเพอื่ เจาะเนอื้ ไม้ เจาะแผน่ เหล็กไมห่ นามาก หรือเจาะวัสดุทีเ่ ปน็ พลาสติก ส่วนใหญส่ วา่ น ไฟฟา้ จะมีระบบเดียว และกำลงั วตั ต์สำหรับสว่านไฟฟา้ จะไม่สูงมาก มักจะอยู่ที่ 300-550 วัตต์ โดยประมาณ จึงไม่เหมาะกบั การใช้เจาะผนังปนู หรือพ้ืนผวิ ทหี่ นาและแขง็ มาก ข้อดขี องสวา่ นไฟฟา้ คอื มสี ายไฟตอ่ ทำใหใ้ ช้งานได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง ไม่มีปัญหาการขาดช่วงจากแบตเตอร่ีหมด หรอื เสียเวลา ชาร์จแบต เหมาะสำหรับงานเจาะทวั่ ๆ ไป สว่านกระแทก ( Hammer Drill )
- 30 - สวา่ นไฟฟา้ ชนดิ ตา่ งๆ สว่านไฟฟา้ สว่านไร้สาย ชนิดตา่ งๆ สว่านกระแทกมคี วามคลา้ ยคลงั กบั สว่านไฟฟา้ เพียงแต่เปน็ สว่านทเ่ี พิ่มความสามารถขนึ้ มา อกี ข้นั โดยมกี ำลงั ไฟฟา้ อยู่ที่ 550-720 วัตตโ์ ดยประมาณ มีระบบการทำงาน 2 ระบบ คือการเจาะ และการกระแทก ทำให้สามารถเจาะไม้ แผน่ เหลก็ พลาสตกิ และปนู อิฐได้ เหมาะสำหรับผ้ทู ่ตี ้องการ ใช้งานครอบคลมุ มากข้นึ เชน่ การเจาะผนงั บา้ นเพ่อื แขวนกรอบรปู นาฬิกา สวา่ นโรตาร่ี ( Rotary Drill ) สว่านไฟฟ้า สว่านไร้สาย ชนดิ ต่างๆ
- 31 - สวา่ นไฟฟ้า สว่านไร้สาย ชนิดตา่ งๆ สว่านโรตารี่เป็นสวา่ นทเ่ี หมาะกบั งานหนกั ทำออกมาเพ่ืองานคอนกรตี โดยเฉพาะ เนือ่ งจากคอนกรีตบางชนิดเชน่ คอนกรตี อดั แรงอยา่ งเช่นคอนกรตี ตามเสาอาคาร จะมคี วามแขง็ กวา่ คอนกรีตปกติ ทำใหก้ ารเลือกใชส้ วา่ นกระแทกธรรมดาไมเ่ หมาะทจี่ ะใชง้ านและทำใหต้ อ้ งใช้แรงกด มากข้นึ แต่สว่านโรตาร่ีจะเข้ามาชว่ ยทำใหง้ านเจาะคอนกรีตแขง็ ง่ายข้ึน สามารถทุ่นแรงผู้ใชง้ านได้ กำลงั ไฟฟา้ เฉลีย่ จะสูงกว่าสว่านแบบอ่นื ๆ อยทู่ ป่ี ระมาณ 600 วัตต์ขน้ึ ไป และในรุ่นใหม่ๆเกือบทกุ ย่ีห้อ กจ็ ะเพ่มิ ระบบแย๊กขน้ึ มา หรอื ระบบ สกัดปูนนน่ั เอง โดยจะมดี อกสำหรับสกดั โดยเฉพาะ ทำใหเ้ รา ทำงานได้อย่างงา่ ยดายมากยง่ิ ขึน้ และไม่เปลืองแรง โดยสวา่ นโรตารี่หลกั ๆทว่ั ไปจะมี 2 แบบ สว่านโรตารี่ 2 ระบบ: ระบบเจาะ ระบบกระแทก มตี ัวแยกสำหรบั งานเจาะไมเ้ จาะเหล็กไดด้ ว้ ย ซ่ึง จะมเี สริมมาในชดุ ใหอ้ ยู่แลว้ สว่านโรตาร่ี 3 ระบบ: ระบบเจาะ ระบบกระแทก และระบบสกัด ซึง่ ระบบสกดั ทเ่ี พิ่มเขา้ มาชว่ ยใน งานสกัดหน้าปนู ต่างๆ โดยสว่านโรตารแ่ี บบ 3 ระบบจะมกี ารเพมิ่ ดอกสวา่ นสกัดมาในชดุ อปุ กรณ์ คือ แบบหัวแหลมและหัวแบน ในรุ่นล่าสดุ จะมีตวั ลดความความเรว็ ที่สวทิ ซ์ซ่งึ เปน็ ระบบท่สี ำคัญมากในการชว่ ยเจาะเหล็ก เพราะถา้ รอบเร็วเกนิ ไปในการเจาะเหลก็ จะทำให้หัวดอกสวา่ นไหม้ได้ สว่านไร้สาย compact drill or battery drill
- 32 - สว่านไรส้ าย FLOW 12Vสว่าน ไร้สาย สว่านแบตเตอร่ี 12 V flow fd-1 สว่านไร้สายออกแบบมาเพอ่ื การใช้งานทีง่ า่ ยข้ึน เนอื่ งจากไมม่ สี ายไฟให้ระเกะระกะในระหวา่ ง การทำงาน เนื่องจากให้พลังงานด้วยแบตเตอร่ี จงึ ต้องเสียเวลาในการชารจ์ แบต หรอื เปล่ียนแบต และ ผู้ใชจ้ ะรับภาระเรอื่ งน้ำหนักของแบตเตอร่ีทีต่ ดิ อยกู่ ับสวา่ นมากขนึ้ เหมาะกับการใชง้ านนอกสถานท่ที ี่ สายไฟไปไม่ถงึ หรอื การใช้งานบนที่สงู ๆ สว่านไร้สายมีหลายแบบ ทั้งเป็นสว่านไฟฟ้าปกติ สวา่ น กระแทกไรส้ าย และสว่านโรตารี่ไร้สายนั่นเองค่ะ และสวา่ นไร้สายยังแบ่งมอเตอร์การทำงานเป็น 2 ประเภทดว้ ยนะคะ 1.มอเตอร์แปรงถา่ น หรอื carbon brush เป็นมอเตอรท์ ตี่ อ้ งใชแ้ ปรงถ่านในการขับเคล่ือนมอเตอร์ให้ออกตวั ข้อดี มรี าคาถกู ข้อเสยี แปรงถา่ นมหี มดไดต้ ้องหาซอ้ื เปลี่ยน มปี ระกายไฟ กำลังน้อยกวา่ แบบไรแ้ ปรงถ่านถ้าเปรียบ ในรุน่ มอเตอร์เท่ากนั
- 33 - 2.มอเตอร์ไร้แปรงถา่ น หรอื มอเตอรบ์ สั เลส brushless motor สว่านไร้สาย brushless Fd-2 เปน็ สวา่ นท่ีใช้การขบั เคลื่อนมอเตอร์ดว้ ยคลืน่ ความถก่ี ระแสไฟฟา้ จากแผงอเิ ลคทรอนคิ ส์ ขอ้ ดี ประหยัดพลังงาน แรงกว่าแบบแปรงถ่านในรุ่นเท่ากนั ความคมุ รอบการหมนุ ได้คงท่ี ไมต่ ้อง เปล่ยี นแปรงถ่าน ประหยัดพลังงานกว่า ข้อเสีย มีราคาสูงกว่า เคล็ดลบั ใชง้ านสว่านอยา่ งปลอดภัย แนะนำเพ่มิ เติมสำหรบั การใชง้ านสวา่ น เนอื่ งจากการใชง้ านอปุ กรณ์ตา่ งๆทเ่ี ป็นอปุ กรณไ์ ฟฟ้า จะมี แรงกระทำท่มี ากกวา่ การใชง้ านอปุ กรณ์แบบระบบ Manual รวมถึงควบคุมได้ยากกวา่ ดงั นัน้ เราจงึ ควรใสใ่ จเรือ่ งความปลอดภัยเปน็ อันดบั แรก
- 34 - สว่านไรส้ าย12โวลต์ FLOW รุ่น FD1 1.ควรใส่เส้ือแขนสัน้ หรอื รัดกุม หากเป็นเส้อื ผ้าแขนยาวก็ควรพับแขนเสื้อข้ึนไม่ใหบ้ ดบงั การทำงาน ควรงดการใส่เคร่ืองประดบั ท่ีมือ และรวมผมใหเ้ รียบรอ้ ยสำหรบั คนทผี่ มยาว 2.ควรสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ขณะใช้งานสว่าน ทัง้ แวน่ ตา และผ้าปดิ จมูกเพ่ือป้องกนั ฝุ่น ถุงมือท่สี ามารถ จบั สวา่ นได้ถนดั รวมถึงที่อุดหู เน่ืองจากสว่านบางชนิดอย่าง สว่านโรตารี่ จะทำให้เกิดเสียงดังมาก ขณะใช้งาน 3.หากต้องการเจาะบนชิ้นงานที่ขยับได้ ควรล็อกชน้ิ งานให้แนน่ ก่อนใช้สวา่ นเจาะ 4.ก่อนใชง้ านสว่านควรตรวจเช็คอปุ กรณก์ ่อนทุกคร้งั ให้อย่ใู นสภาพที่พรอ้ มใช้งาน ทัง้ ตัวสว่านและ สายไฟ 5.ในการใส่ดอกสวา่ นหรอื เปลยี่ นอปุ กรณ์ต่าง ให้เชค็ ซ้ำเสมอเพื่อไมใ่ หอ้ ปุ กรณ์เคลื่อนและเกิดอันตราย ตอ่ ผใู้ ช้เอง 6.กดแรงลงบนสวา่ นในขณะใช้งานแต่พอดี เนอื่ งจากสวา่ นไฟฟ้าจะมีแรงทสี่ ามารถเจาะได้งา่ ยอยแู่ ล้ว การกดแรงมากเกนิ ไปจะทำใหม้ อเตอร์ทำงานหนกั เกินไป และอาจเกดิ ปญั หาได้ https://bit.ly/3xCy3lJ
- 35 - ภาคผนวก ง ไขควงวดั ไฟและมัลติ มิเตอร์
- 36 - อุปกรณป์ ระจำบ้านทห่ี ลายคนอาจคิดไมถ่ ึง คอื “ไขควงวดั ไฟ” หรอื “ไขควงลองไฟ” ซง่ึ เป็นอปุ กรณส์ ำคัญในการตรวจสภาพเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า ว่าไฟรั่วหรือไม่ สำหรบั ลักษณะท่บี ง่ บอกว่า เคร่ืองใช้ไฟฟ้านนั้ มไี ฟร่วั กต็ อ่ เมอื่ นำไขควงวัดไฟไปแตะท่ตี ัวเคร่อื งใช้ไฟฟา้ หากมแี สงสวา่ งปรากฎ ขึ้นมา แสดงว่าเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ นนั้ มไี ฟรั่ว จะตอ้ งถอดปลก๊ั ทง้ิ แลว้ รีบให้ช่างดทู ันที ไขควงวดั ไฟในทอ้ งตลาดสว่ นใหญจ่ ะแบง่ ออกเป็นไขควงวดั ไฟแบบธรรมดา และไขควงวดั ไฟ แบบตวั เลขดจิ ิตอล ซ่ึงแบบท่เี ปน็ ท่นี ยิ มและคนส่วนใหญ่คุน้ หนา้ คนุ้ ตาทส่ี ดุ คอื ไขควงวดั ไฟแบบ ธรรมดาทม่ี หี ลอดไฟอยู่ทดี่ ้ามจับนนั่ เองครับ ไขควงวัดไฟชนดิ นเ้ี ป็นไขควงเช็คไฟทมี่ ีขนาดเลก็ มีปลายไขควงเปน็ โลหะรูปร่างแบน ด้ามจับ ทำจากแก้วหรอื พลาสตกิ ทีไ่ มน่ ำไฟฟา้ มปี ุ่มโลหะอยบู่ รเิ วณก้นด้าม สว่ นภายในด้ามจะบรรจุหลอด นอี อนและตวั ต้านทานตอ่ อนกุ รมจากปลายไขควงเช็คไฟมาทป่ี มุ่ โลหะบริเวณกน้ ด้ามเพ่ือทำหน้าท่ี แสดงผลแรงดัน เรยี นรู้เรื่องไฟฟ้าเพิ่มเตมิ ได้ท่นี ี่ ฟนื ไฟไม่ใชเ่ รอ่ื งลอ้ เล่น เปลี่ยนสายไฟกอ่ นเกดิ ไฟฟ้าลดั วงจร เรยี นรู้เร่อื งไฟตกเพิ่มเตมิ ไดท้ ่นี ี่ ไฟตก รู้สาเหตแุ กไ้ ขไดด้ ว้ ยตวั เอง
- 37 - ไขควงลองไฟหรือไขควงวดั ไฟทำงานอย่างไร? หลักการทำงานของไขควงวัดไฟคอื การอาศัยร่างกายของผู้ใชง้ านเปน็ ส่ือ นน่ั คอื การอาศยั ค่า ความตา่ งศักย์ของกระแสไฟฟา้ ทต่ี ามหลกั แลว้ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดท่มี ีศกั ย์มากไปยงั จุดทมี่ ี ศกั ย์น้อยกว่า เมอื่ ปลายไขควงวดั ไฟสมั ผัสกบั ตัวนำที่มกี ระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ จะไหลผ่านตวั ตา้ นทานเพ่อื ทำการจำกดั กระแสให้ลดลงจนอยูใ่ นระดบั ท่ีไมท่ ำใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ผู้ใชง้ าน จากนน้ั จงึ ไหลผา่ นไปยงั หลอดนอี อน ก่อนจะไหลต่อเนอื่ งไปยงั ร่างกายของผู้ใช้งานแลว้ ไหลลงพื้นเปน็ อันครบ วงจร ทำใหห้ ลอดนีออนสวา่ งขึ้นมาได้ และเป็นเหตุผลทร่ี ะหวา่ งใชง้ านไขควงวัดไฟตอ้ งไม่ใสร่ องเท้า นนั่ เอง
- 38 - ไขควงลองไฟหรอื ไขควงวัดไฟใชง้ านอย่างไร? เมอื่ ตอ้ งการทดสอบแรงดันไฟฟ้าโดยไขควงวัดไฟ ใหจ้ ับบริเวณดา้ มของไขควงที่เป็นแก้วหรอื พลาสตกิ โดยระวังไมใ่ ห้มอื สมั ผัสโดนสว่ นปลายของไขควงเช็คไฟเดด็ ขาด จากนั้นนำปลายไขควงเช็ค ไฟไปแตะทตี่ วั นำ เตา้ รับไฟฟ้า สายไฟ หรือบนโลหะทต่ี อ้ งการทดสอบ แลว้ จึงใช้นิ้วหน่งึ แตะที่ปุม่ กด โลหะบริเวณก้นดา้ มจบั หากหลอดนอี อนในด้ามไขควงวัดไฟสวา่ งขน้ึ แปลว่าบริเวณที่ทดสอบนัน้ มี กระแสไฟฟา้ เป็นเส้นไลน์ หรือมไี ฟฟา้ รัว่ ในระบบนน่ั เอง เรยี นรู้เร่อื งสายไฟเพิม่ เตมิ ได้ท่นี ่ี รเู้ รอ่ื งสายไฟ ปลอดภัยอยา่ งมืออาชีพ เรยี นรู้เรอื่ งปัญหาไฟฟา้ รัว่ เพิม่ เตมิ ไดท้ น่ี ี่ เช็คกอ่ นช็อต 4 สัญญานเตือน ไฟฟ้าในบ้านกำลงั ร่วั
- 39 - เมื่อใชไ้ ขควงลองไฟหรอื ไขควงวัดไฟต้องระวังอะไรบา้ ง? ขอ้ ควรระวงั เม่ือใชไ้ ขควงวัดไฟที่ HomeGuru อยากแนะนำเพอ่ื ความปลอดภยั ของผใู้ ช้งานมี ดังนี้ครับ 1. ควรเลือกไขควงวดั ไฟทม่ี ขี นาดเหมาะสมกบั ชนิดของไฟฟา้ โดยไฟฟา้ กระแสตรง DC คือไฟฟ้าที่ ใช้ในรถยนต์ หรือไฟฟา้ กระแสสลับ AC จะใช้กบั ไฟที่มาจากการไฟฟา้ 2. นอกจากชนดิ ของไฟฟา้ ขนาดแรงดันของไฟฟ้าก็ต้องพอเหมาะ ไม่สูงหรอื ตำ่ เกินไป เช่น การวัด กระแสไฟฟา้ ในบ้านซ่ึงใช้ไฟ 200 – 250 โวลต์ กไ็ ม่ควรใชไ้ ขควงวัดไฟสำหรับแรงดนั 80 – 125 โวลต์ เปน็ ตน้ และห้ามนำไขควงเช็คไฟไปใชท้ ดสอบกับไฟฟา้ ทไ่ี ม่รคู้ า่ แรงดัน หรือไฟฟา้ แรงสงู เดด็ ขาด 3. การจบั ไขควงวัดไฟขณะใชง้ าน ต้องระวังไมไ่ ปแตะบริเวณปลายไขควงส่วนทเ่ี ปลือยเด็ดขาด ควร ใชไ้ ขควงวดั ไฟทด่ี า้ มจบั อยใู่ นสภาพสมบูรณ์ ห้มุ ด้วยฉนวนทไี่ ม่นำไฟฟ้าอยา่ งแก้ว หรอื พลาสตกิ และ อาจใช้เทปพันสายไฟพันให้รอบเพือ่ ชว่ ยป้องกันการเกิดไฟฟา้ ลัดวงจรจากการใช้งานท่ีไมร่ ะมัดระวงั เพยี งพอด้วย
- 40 - 4. การใช้ไขควงวดั ไฟท่ีถูกวธิ ี คอื การนำปลายไขควงเช็คไฟไปแตะที่ตัวนำที่ตอ้ งการทดสอบกอ่ น แล้วจงึ ใชน้ วิ้ แตะปมุ่ โลหะบรเิ วณด้ามจับในขณะที่ถอดรองเทา้ และไมย่ นื อยบู่ นพืน้ ฉนวน เพอื่ ให้ไฟฟ้า ไหลครบวงจร และสามารถแสดงค่าแรงดนั ทถี่ กู ต้องได้ 5. ทุกครงั้ ทใ่ี ช้งานไขควงวดั ไฟ ใหร้ ะมัดระวงั และระลกึ เสมอว่าอาจมีอนั ตราย เช่น ตวั ไขควงวดั ไฟ อาจชำรุดหรือมีการลดั วงจรภายในได้ การใชง้ านจงึ ต้องแตะพียงเล็กนอ้ ยเท่านั้น 6. นอกจากน้ันเวลาแตะตวั นำไฟฟ้าตอ้ งระมัดระวังไมใ่ หไ้ ขควงวัดไฟไปแตะโดนสว่ นอน่ื ท่เี ปน็ ขว้ั ไฟฟา้ คนละข้วั พร้อมๆ กัน โดยเฉพาะในพ้นื ท่ีแคบๆ เชน่ การแตะโดนขัว้ ไฟต่างเฟส หรือขว้ั มไี ฟ แตะกับขั้วดนิ เปน็ ตน้ เพราะจะทำใหเ้ กิดการลัดวงจรและประกายไฟพุ่งออกมาใสผ่ ้ใู ชง้ านจนอาจ บาดเจ็บรนุ แรงได้
- 41 - 7. สืบเน่ืองจากขอ้ ท่ีแล้ว ในสถานการณท์ ม่ี ีข้วั ไฟฟ้าเปิดโลง่ หรอื เปลอื ย เช่น บรเิ วณแผงสวติ ช์ หรอื เตา้ รบั ทเ่ี ปดิ ฝาออก ต้องใชช้ า่ งไฟฟา้ มืออาชีพท่มี ีความชำนาญเฉพาะทางเปน็ ผดู้ ำเนินการวัดไฟ ให้เทา่ น้ัน 8. สำหรบั ไขควงวัดไฟท่ีไม่ไดใ้ ช้งานมานาน หลอดนีออน หรือตวั ต้านทานภายในอาจชำรดุ ใช้การ ไมไ่ ด้ จงึ ควรทดสอบกอ่ นการใชง้ านจรงิ โดยทดสอบกับสว่ นท่รี ู้วา่ มไี ฟแนน่ อนเสยี ก่อน เช่น การแตะ ปลายไขควงเชค็ ไฟเขา้ ไปในรเู ตา้ รับผนัง จะมีรหู นึ่งเท่านั้นทม่ี ีไฟ เปน็ ตน้
- 42 - 9. ในกรณีทไ่ี ขควงวัดไฟชำรดุ หา้ มนำมาซอ่ มใช้ใหม่เด็ดขาด รวมถงึ หา้ มดัดแปลงไขควงวดั ไฟดว้ ย ตนเอง เช่น ดดั แปลงเปล่ยี นคา่ ความต้านทาน หรอื ต่อตรงความต้านทาน เป็นต้น https://bit.ly/3iAnCut
- 43 - มลั ติมเิ ตอร์ เปน็ เคร่อื งมอื วดั ไฟฟ้าชนิดหนึง่ ตัวเครอื่ งมีลักษณะเปน็ รูปส่ีเหล่ยี มขนาดเทา่ ฝ่า มอื ใช้สำหรับวดั ค่าหรือตรวจสอบสภาพการทำงานของอปุ กรณ์ตา่ งๆ มีการใช้งานกันโดยท่ัวไป เชน่ งานอุตสาหกรรม งานรถยนต์ และงานซอ่ มบำรุงไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ สโ์ ดยมลั ตมิ ิเตอรส์ ามารถแบ่ง ออกได้ 2 ประเภทหลกั ๆ คอื มลั ตมิ ิเตอร์แบบดิจิตอล และมิลเตอร์แบบอนาล็อก ซ่งึ ท้ังสองประเภทนี้ จะมีลกั ษณะการแสดงผล มีรปู รา่ ง และฟงั ก์ช่นั การทำงานท่แี ตกต่างกนั แตล่ ักษณะการใชง้ าน โดยรวมแล้วสามารถใช้วัดไดท้ ง้ั โวลท์มิเตอร์ แอมปม์ ิเตอรห์ รอื โอหม์ มเิ ตอร์ รวมทั้งมีคุณสมบัติการ ทำงานทสี่ ามารถตรวจวัดปริมาณไฟฟ้า วัดแรงดันไฟฟ้าท้ังกระแสตรงและกระแสสลับได้ มคี วาม ละเอียดแม่นยำในการอ่านคา่ แขง็ แรงทนทาน มขี นาดกะทดั รดั พกพาไปใชง้ านได้สะดวกสบาย การ เลือกใชม้ ัลตมิ เิ ตอร์ควรเลือกใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน ท้งั นีก้ เ็ พ่อื ป้องกันการวัดค่าผิดพลาด และเกิด อันตรายตอ่ ผู้ใช้งานได้ https://bit.ly/3CvAfz0
- 44 - บรรณานกุ รม มอเตอร.์ [ออนไลน์]. [สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี 15 กนั ยายน 2564]. https://bit.ly/3iCReHX คีม. [ออนไลน์]. [สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี 16 กันยายน 2564]. https://bit.ly/39W87rM สว่าน. [ออนไลน์]. [สืบคน้ เม่อื วันท่ี 17 กันยายน 2564]. https://bit.ly/3xCy3lJ
- 45 - ไขควงวดั ไฟ. [ออนไลน์]. [สบื คน้ เมอื่ วันที่ 18 กันยายน 2564]. https://bit.ly/3iAnCut มลั ติมิเตอร์ [ออนไลน์]. [สบื ค้นเมื่อวันที่ 18 กนั ยายน 2564]. https://bit.ly/3CvAfz0
- 46 - ประวัติผู้จัดทำ ชอื่ ผจู้ ัดทำ : นายกรรชัย ขันพแก้ว หลกั สูตร : เทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชา : สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟา้ ประวตั กิ ารทำงาน ปี พ.ศ. 2563 ถึงปี พ.ศ.2564 ตำแหน่งผู้ช่วยช่างซอ่ มอปุ กรณไ์ ฟฟา้ หน้าที่ 1.คอยเชค็ ระบบไฟ 2.ติดตัง้ อุปกรณ์ ชื่อสถานท่ีประกอบการ (ปัจจบุ นั ) :PKอเิ ลก็ ทรอนคิ สถานท่ีติดตอ่ :32/11 หมู่ 7 ต.ท่าข้าม อ.พุนพิน จ.สุราษฏ์ธานี
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: