Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการสอนอิเหนา

ชุดการสอนอิเหนา

Published by kamonwat0949868337, 2021-07-02 12:27:05

Description: ชุดการสอนอิเหนา

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี น วชิ าภาษาไทยชนั มธั ยมศึกษาปที ๔ เรอื ง อิเหนา

คำนำ แบบฝึกทักษะวรรณคดีบทละคร เรื่อง อิเหนากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ ๔ จัดทำขึ้นนเพื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ให้เกิดการเรียนรู้ เรื่องวรรณคดี ไทยอย่างมี ประสิทธิภาพ แบบฝึกทักษะวรรณคดีบทละคร เรื่อง อิเหนาประกอบด้วยนวัตกรรม ท้ังหมด ๕ เรือ่ ง ๑. เร่ือง ประวตั ิความเปน็ มาของเรอื่ ง ๒. เรอ่ื ง ลักษณะคำประพันธ์ ๓. เรอ่ื ง คำศพั ท์และตวั ละคร ๔. เร่อื ง คณุ คา่ งานประพันธ์ ๕. เรื่อง ความร้ปู ระกอบการเรียน ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะวรรณคดีบทละคร เรื่อง อิเหนาตอน ศึกกะหมังกุหนิง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ จะเป็นโยชน์แก่ นักเรยี นในการศกึ ษาหาความรู้ และบรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูเ้ รือ่ งอิเหนาเปน็ อยา่ งดี

คำชแ้ี จงสำหรับครูผสู้ อน เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ภาษาไทย ท๓๑๑๐๒ เร่ือง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนิง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ สร้างขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนในรายวชิ า ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ ๑. ศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ ใบความรู้ ใบงานจากคู่มอื การใช้เอกสารประกอบการเรียน ๒. เตรยี มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามคมู่ ือการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ๓. ให้นกั เรียนศกึ ษาเนือ้ หาในใบความรู้ ทำแบบฝึกหดั ในใบงาน โดยครูคอยชี้แนะ ให้ความ ช่วยเหลือ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อผู้เรียนจะได้ขอคำแนะนำได้ทันทีเมื่อมี ปัญหา ๔. ครูสามารถพจิ ารณายืดหยนุ่ เวลาในการจดั กิจกรรมได้ตามความเหมาะสม ๕. เฉลยแบบฝึกที่เป็นข้อสอบเขียนตอบเป็นเพียงแนวทางในการตอบเท่านั้นครูผู้สอน สามารถพจิ ารณาตรวจ คำตอบได้ตามดลุ ยพนิ ิจ

คำชแี้ จงสำหรบั นกั เรยี น เอกสารประกอบการเรยี นทน่ี ักเรยี นกำลังศึกษาอย่นู ้ี เป็นเอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ภาษาไทย(ท๓๑๑๐๑) เรือ่ ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนงิ ให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนดงั นี้ ๑. นักเรยี นอ่านคำแนะนำ และคำชแ้ี จงในการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนให้เขา้ ใจ ๒. อา่ นจุดประสงคก์ ารเรียนร้ใู ห้เขา้ ใจ ๓. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน จำนวน ๑๐ ขอ้ ๔. ศึกษาใบความรใู้ นเอกสารประกอบการเรียน ๕. เมอ่ื จบหนงึ่ ใบความรู้ก็ทบทวนความรูโ้ ดยการทำใบงานทา้ ยใบความรไู้ ปตามลำดบั ไม่ ควรข้ามขั้นตอน ๖. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งจากเฉลยใบงานทา้ ยบทเรียน ๗. เมื่อนักเรียนทำใบงานครบทุกใบงานตามลำดับแล้ว ให้ทำแบบทดสอบหลังเรียนแล้ว ตรวจสอบความถกู ตอ้ งจากเฉลย ๘. ข้อห้ามคือไม่ควรเปิดคำตอบดูก่อน เพราะจะทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไม่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ นักเรียนต้องมี ความซื่อสัตย์ มุ่งมั่น และมีความ เช่ือม่ันใน ตนเองทีจ่ ะเรยี นรู้ ๙. ในกรณีที่เอกสารเล่มนี้ใช้เป็นเอกสารของส่วนรวม ให้นักเรียนทใบงานลงในสมุดของ ตนเอง อย่าขีดเขยี นหรอื ทำเครื่องหมายใด ๆ ลงในเอกสาร

บทนำ ความนำ บทละครเรอื่ งอิเหนาเป็นพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั โปรด ใหป้ ระชมุ กวีนิพนธบ์ ทละครเรอื่ งอเิ หนาข้นึ ใหมจ่ ากบทของรัชกาลที่๑เพื่อใชแ้ สดงละครใน โดยทรงเปล่ยี นสำนวนภาษาให้ไพเราะงดงามขน้ึ และเมอ่ื แตง่ บทแลว้ ได้พระราชทานเจ้าฟา้ กรมหลวงพทิ ักษมนตรพี รอ้ มด้วยครูละครคอื นายทองอยู่และนายรุ่งให้ช่วยกนั คดิ กระบวนรำ แลว้ จึงซ้อมถวายเพอื่ ทรงมพี ระราชวินจิ ฉยั กระบวนรำและกระบวนบางบทแล้วจงึ ถือเป็นข้อ ยตุ ดิ งั นัน้ บทละครพระราชนพิ นธ์เรอ่ื งอิเหนาจึงสมบูรณท์ ้งั บทละครและกระบวนรำและถือ เป็นแบบอย่างของบทละครรำตราบจนทกุ วันน้ี สาระสำคญั บทละครในเรือ่ ง อเิ หนา เป็นพระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้า นภาลยั ซ่ึงไดร้ ับการยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรให้เปน็ ยอดของบทละครรำ ในตอนศกึ กะห มังกุหนิง ใหเ้ ห็นการทำสงครามในสมยก่อน และแสดงลกั ษณะนสิ ัยของตัวละคร ๔ ตวั ได้แก่ อิเหนา ท้าวดาหา ทา้ วกะหมงั กหุ นิง และจินตหรา การใช้ภาษาทไ่ี พเราะคมคายเป็นลกั ษณะ เด่นของบทละครเร่ืองนี้ โดยมีการสรรคำมาใช้อย่างประณีตบรรจงใช้ความเปรยี บเทียบได้ สละสลวยมีการเลน่ คำในบทนริ าศไดอ้ ยา่ งไพเราะจับใจนอกจากนี้ยังสะท้อนใหเ้ หน็ วฒั นธรรมการกินหมากของคนไทยโบราณอีกด้วย สาระ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั มาตรฐาน ท๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพ่ือนำไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ญั หาในการดำเนินชวี ิตและมีนสิ ัยรกั การอา่ น ตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และ รอ้ ยกรองได้อยา่ งถกู ต้อง ไพเราะ และ เหมาะสมกบั เรือ่ งที่อ่าน

ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๒ ตอบคำถามจากการอ่านประเภทตา่ ง ๆ ภายในเวลาที่กำหนด มาตรฐานท ๕.๑ เข้าใจ และแสดงความคดิ เห็นวิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ ง เห็นคณุ คา่ และนำมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ตัวชว้ี ัด ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๑ วเิ คราะหว์ จิ ารณว์ รรณคดตี ามหลกั การวจิ ารณ์เบอ้ื งตน้ ท๕.๑ม.๔–๖/๒ วเิ คราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชอ่ื มโยงกับการเรยี นรูท้ างประวตั ิศาสตร์ และวถิ ชี ีวิตของสังคมในอดีต ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๓ วิเคราะห์และประเมินคณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์ของวรรณคดีและ วรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๔ สังเคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ิตจริง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. อธิบายความเปน็ มาของวรรณคดเี รอื่ งอเิ หนาได้ ๒. บอกประวัตขิ องผแู้ ต่งวรรณคดีเรอ่ื งอิเหนาได้ ๓. ตอบคำถามจากเรื่องทอี่ ่านได้ ๔. บอกขอ้ แตกตา่ งของละครนอก ละครใน และละครชาตรไี ด้ ๕. วเิ คราะห์วจิ ารณต์ ัวละครจากเรอ่ื งอเิ หนาได้ ๖. วิเคราะหค์ ณุ คา่ และขอ้ คดิ จากเร่อื งอิเหนาได้

คำชแี้ จงการใช้ชดุ การสอน เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนิง ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่๔ สร้างขนึ้ โดยมจี ุดม่งุ หมายเพ่อื ใชป้ ระกอบการจัดกิจกรรมการเรยี น การสอนในรายวิชาภาษาไทยระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเนอื้ หาของวรรณคดีในด้านต่าง ๆ ทง้ั ประวตั คิ วามเปน็ มา ลกั ษณะคำประพันธ์ เนอื้ เรอ่ื ง โดยยอ่ ตวั ละคร คณุ คา่ ในด้านวรรณศิลปแ์ ละคุณคา่ ของวรรณคดใี นดา้ นอื่น ๆ เพอื่ ให้ผู้เรยี น ได้เกดิ ความเข้าใจความซาบซึ้งในเนือ้ หาและเห็นคณุ คา่ ของวรรณคดี เอกสารประกอบการ เรยี นชดุ นม้ี ีทั้งหมด ๖ เรือ่ ง คอื ๑. เรอื่ ง เรยี นรทู้ ีม่ าของเรอื่ ง ๒. เร่ือง ศกึ ษาประวตั ผิ แู้ ต่ง ๓. เรอ่ื ง เรยี นรูเ้ รื่องยอ่ ๔. เรอื่ ง ลกั ษณะคำประพนั ธ์ ๕. เรื่อง วิเคราะห์วจิ ารณตื วั ละคร ๖. เรื่อง วิเคราะห์คณุ คา่ ในดา้ นตา่ งๆ จากวรรณคดี เอกสารประกอบการเรยี นจะมีเนอ้ื หาตามลำดบั ดังน้ี ๑. บทนำ ๒. แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ใบความรู้ ๔. ใบงาน ๕. แบบทดสอบหลังเรยี น ๖. เฉลยใบงาน ๗. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๘. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น ซงึ่ ผู้เรียนจะตอ้ งศกึ ษาไปตามลำดบั ขน้ั ตอนท่กี ำหนดไว้โดยมคี รเู ป็นผู้คอยแนะนำให้ คำปรึกษา นักเรยี นตอ้ งมคี วามวซ่อื สัตย์ และมวี ินยั ในการเรยี นรู้

แบบทดสอบก่อนเรียน ใหน้ ักเรียนเลอื กคำตอบทีถ่ ูกต้องที่สุด ๑. เคา้ เรื่องของอิเหนาไดม้ าจากไหน ก. ประวตั ขิ องชาวมะละกา ข. ประวตั ศิ าสตร์ของชาวชวา ค. ประวตั ิศาสตร์ของชาวลังกา ง. ประวตั ิศาสตร์ของชาวมลายู ๒. ข้อใดคือจดุ ม่งุ หมายสำคญั ในการพระราชนพิ นธเ์ รื่องอเิ หนาในรัชกาลท่ี ๒ ก. เพอื่ ใชเ้ ลน่ ละคร ข. เพอื่ ความเพลดิ เพลนิ ค. เพ่ืออนรุ กั ษว์ รรณคดีของชาติ ง. เพื่อปรับปรุงพระราชนิพนธ์อิเหนาใน รัชกาลที่ ๑ ๓. \"อเิ หนา\" บทพระราชนพิ นธ์ในรัชกาลท่ี ๒ ดำเนนิ เรอื่ งตามต้นฉบับของใคร ก. รัชกาลท่ี ๑ ข. พระเจ้ากรุงธนบรุ ี ค. เจา้ ฟ้าหญงิ กณุ ฑล ง. เจา้ ฟา้ หญงิ มงกฎุ ๔. ละครนอกจะไม่แสดงเรือ่ งใด ก. คาวี ข. ไกรทอง ค. สงั ขท์ อง ง. รามเกียรติ์ ๕. อิเหนาไดร้ บั การยกย่องจากวรรณคดสี โมสรตามขอ้ ใด ก. กลอนนิทาน ข. กลอนบทละครรำ ค. กลอนบทละครพูด ง. กลอนบทละครร้อง ๖. เรอ่ื งอิเหนาเขา้ มาประเทศไทยในรัชสมัยใด ก. สมเด็จพระนารายณม์ หาราช ข. สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ ค. สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช ง. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย

๗. “ อันอิเหนาเอามาทำเป็นคำร้อง สำหรับงานการฉลองกองกุศล ครั้งกรุงเก่าเจ้าสตรีเธอ นิพนธ์ แต่เรื่องต้นตกหายพลัดพรายไป แต่พระองค์ทรงพิภพปรารภเล่น ใช้รำเต้นแต่งละคร คดิ กลอนใหม”่ เจา้ สตรแี ละพระองค์ ตามคำประพันธข์ า้ งตน้ น้ี หมายถงึ ใคร ก. เจ้าฟา้ สงั วาลกบั พระเจา้ อยูห่ วั บรมโกศ ข. เจ้าฟา้ กณุ ฑล เจา้ ฟ้ามงกุฎกบั เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร์ ค. เจา้ ฟ้ากุณฑล เจา้ ฟา้ มงกฎุ กบั พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ ง. เจา้ ฟา้ กณุ ฑล เจา้ ฟ้ามงกฎุ กบั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ๘. เหตุใดอเิ หนาจงึ ปฏิเสธการแต่งงานกับนางบษุ บา ก. คดิ ว่านางบษุ บาไมส่ วย ข. กลวั ท้าวหมันหยาลงโทษ ค. ไดน้ างจนิ ตะหราเปน็ ชายาแล้ว ง. นางจินตะหราสั่งให้ปฏิเสธการ แตง่ งาน ๙. ตัวละครใดต่างวงศ์จากตวั ละครอน่ื ๆ ก. ระตปู ักมาหงนั ข. ระตปู นั จาระกนั ค. ระตูบุศสิหนา ง. ระตูหมันหยา ๑๐. ขอ้ ใดมใิ ช่ลกั ษณะของละครใน ก. มีระเบยี บแบบแผน ข. ใชผ้ ู้หญิงแสดงทั้งหมด ค. เล่นทง้ั ในวังและนอกวัง ง. เป็นเร่ืองเกีย่ วกบั กษัตริย์

ใบความรู้ที่ ๑ ทีมาของเรอ่ื ง บ่อเกิดของเรื่องอิเหนานั้นพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าธานีนิวัติ กรมหมื่นพิทยาลาภ พฤฒิยากร ได้ทรงวิจารณ์เค้ามูลไว้โดยละเอียด มีทั้งอิเหนาที่เป็นคนจริงคืออิเหนาใน ประวัติศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. ๑๕๖๒ นครดาฮา ( ดาหา ) ในชวามีราชาองค์หนึ่งชื่อ ไอรลัง คะ ทรงสร้างความรุ่งเรืองให้แก่ชวาเป็นอันมาก มีราชธิดาชื่อ กิลีสุจี และมี โอรส ๒ องค์ พระธิดานั้นพอเจริญวัยก็ได้ออกบวชเป็นชี เมื่อราชาไอรลังคะจะสวรรคต ได้ แบ่งอาณาเขตออกเป็นสองส่วน คือแคว้นดาหาและกุเรปัน ให้โอรสครองคนละแคว้น ต่อมา โอรสทั้งสองนั้น องค์หนึ่งมีพระโอรส อีกองค์หนึ่งมีธิดา องค์ที่เป็นชายนั้นคืออิเหนา ที่เป็น หญิงคือ บุษบา พระนางกิลีสุจีซึ่งบวชเป็นชีอยู่นั้น แนะนำให้ทายาทของสองนครนี้สมรสกัน เพ่อื อาณาจกั รจะไดก้ ลับเป็นอันหน่งึ อนั เดียวกันเชน่ เดิม อิเหนาเป็นกษัตริย์ทีม่ าอานภุ าพมาก แต่วงศ์อิเหนาได้เริ่มเสื่อมเมื่อราว พ.ศ. ๑๗๖๔ อังรกะ ชิงราชสมบัติจากวงศ์อิเหนาได้ และ ต้ังราชธานีใหม่ชอ่ื สิงหัสสาหรี ( สงั คัสซารี ) ใน พ.ศ. ๑๘๓๖ กษัตรยิ ท์ ีส่ บื วงศจ์ ากราชาอังร กะได้ย้ายราชธานีไปตั้งที่มัชปาหิต ( ใกล้เมืองสุราบายา ) และสืบสันตติวงศ์ต่อมาจนถึง ราว พ.ศ. ๒๐๐๐ จึงเร่มิ เสอื่ ม ตกอยใู่ นอำนาจชาวอินเดียถอื ศาสนาอสิ ลามท่ีอพยพเข้ามาอยู่ ในชวา แลว้ ภายหลงั กลับตกไปอยูใ่ นอำนาจโปรตเุ กสและเนเธอรแ์ ลนดใ์ นท่สี ดุ การเขา้ มาส่ปู ระเทศไทยของนทิ านปนั หยี เรอื่ งอิเหนาเผยแพรเ่ ขา้ มาสปู่ ระเทศไทยในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยาตอนปลาย ในรัชสมยั ของ พระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ มีคำกล่าวสืบเนื่องกันมาว่าพระราชิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม โกศกับเจ้าฟ้าสังวาล คือ เจ้าฟ้า กุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎได้ฟังนิทานอิเหนา จากนางกำนัล ชาวมลายูทีไ่ ดม้ าจากเมืองปัตตานี พระราชธิดาทั้งสองพระองค์ทรงโปรดเรื่องนี้มากจึงมีพระ ราชนิพนธ์นิทานเรื่องนี้ขึ้น เจ้าฟ้ากุณฑลทรงนิพนธ์บทละคร เรื่องดาหลัง ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงนิพนธ์เป็นละคร เรื่อง อิเหนา แต่คนทั่วไปมักเรียกบทพระราชนิพนธ์ของทั้งสอง พระองค์นี้ อิเหนาใหญ่ และอิเหนาเล็ก นิทานปันหยีของไทยจึงมี ๒ สำนวนแต่นั้นมา

เมื่อแรกเริ่มสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศโปรดเกล้าฯ ให้นำมาเล่นเป็นละครในทั้งสองเรื่อง แต่ เนื่องจากอิเหนาเล็กมีเนื้อเรื่องไม่สับสนเหมือนกับอิเหนาใหญ่อีกทั้งชื่อตัวละครก็เรียกไม่ ยาก คนทั่วไปจึงนิยม อิเหนาเล็กมากกว่า เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ต้นฉบับวรรณคดี เรื่อง อิเหนา ทั้ง ๒ เรื่อง สูญหายไป ในมัยธนบุรีได้มกี ารรวบรวมวรรณคดี เก่า ๆ ที่ยังหลงเหลืออยู่มาไว้ในราชสำนัก และ ได้มีการแต่งวรรณคดีเพิ่มเติมเพื่อรักษาเน้ือ เรื่องไว้มิให้สูญหายเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ครั้งดำรงตำแหน่งเป็น หลวงสรวิชิต (หน) ได้แต่งเรื่องอิเหนาคำฉันท์ขึ้น แต่ไม่ได้แต่งทั้งเรื่องตัดตอนมาเฉพาะบางส่วนเท่านั้นโดย เร่ิม ตั้งแต่ อิเหนาเผาเมืองดาหาในวันอภิเษกของบุษบากับจรกา แล้วปลอมเป็นจรกาลักพานาง บุษบาไปไว้ ในถ้าจนถึง ตอนกลับไปแก้สงสัยที่เมืองดาหา ระหว่างทางได้พบจรกาจึงทำที คร่ำครวญสงสารนางบุษบาเพื่อ กลบเกลื่อนความผิด สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชก็ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร อเิ หนาข้นึ โดยยังคงเคา้ โครง เรื่องเดิม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้พระราชนิพนธ์ขึน้ มา ใหม่ทั้งหมด โดยใช้เค้าโครงเรื่องของอิเหนาเล็ก เนื่องจากทรงเล็งเห็นว่า พระราชนิพนธ์บทละคร อิเหนา ใน พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราชมีเนือ้ ความเข้ากันไม่สนิทกบั บทเมือ่ คร้ัง กรุงเก่าและนำมา เล่นละครได้ไม่เหมาะจงึ ทรงพระราชนิพนธใ์ หม่ใหส้ นั้ และสอดคลอ้ งกับทา่ รำโดยรักษากระบวนการเดิม แล้วพระราชทานให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรม หลวงพิทักษ์มนตรีซึง่ เชี่ยวชาญในการละคร ไดน้ ำไปประกอบท่ารำและฝกึ ซ้อมจนเหน็ สมควร ว่าดี แล้วจึงรำถวายให้ทอดพระเนตรเพื่อให้มีพระบรมราชวินิจฉัยอีกครั้ง กลอนบทละครรำ เรื่องอิเหนาจึงได้เสร็จสมบูรณ์และได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่า เป็นยอดของ กลอนบทล

ใบงานที่ ๑.๑ วดั ความรทู้ ่มี า อเิ หนา คำส่งั ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน) ๑. เรือ่ งอเิ หนา เขา้ มาในประเทศไทยในรัชสมยั ใด ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. นิทานปนั หยี หรอื เรือ่ งอเิ หนา เผยแพร่เข้ามาส่ปู ระเทศไทยได้อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………..…………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. ใครเป็นผู้แต่งเรอ่ื ง อเิ หนาเลก็ เมอื่ ครง้ั กรงุ ศรอี ยุธยา ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….…………………………………………………………………………………………………… ๔. ใครเป็นผ้แู ต่งกลอนบทละคร เรอื่ ง ดาหลงั หรือ อเิ หนาใหญ่ เมอ่ื ครงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………..…………………….………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. เหตุใดบทละครเรื่องดาหลงั หรือ อิเหนาใหญ่ จงึ ไม่ได้รบั ความนยิ มเหมอื นกบั อิเหนาเลก็ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………..………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….

๖. หลังจากเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาคร้ังที่ ๒ ในปีพ.ศ. ๒๓๑๐ สง่ ผลกระทบตอ่ กลอนบทละครเรอื่ ง อิเหนา อยา่ งไรบ้าง .............................................................................................................................………………… ……………....................................…………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………. ๗. ใครเป็นผแู้ ต่งเรอื่ งอเิ หนาคำฉนั ท์ ในสมยั ธนบุรี ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ไดท้ รงพระราชนพิ นธก์ ลอนบทละครเรอ่ื ง อเิ หนาขึ้นมาใหมด่ ว้ ย สาเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………….. ……………………………………………………………………… ๙. พระราชนิพนธ์กลอนบทละครเรอ่ื ง อเิ หนาของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ดำเนินเร่อื งตามเคา้ โครงของอเิ หนาสำนวนใด ............................................................................................................................………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐.กลอนบทละครรำ เร่อื ง อเิ หนาพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ได้รับการยกย่องอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….

ใบงานท่ี ๑.๒ ทม่ี าของเร่ือง อเิ หนา คำสงั่ ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความทก่ี ำหนดให้ ทำเครือ่ งหมาย หน้าขอ้ ความที่ถูก และ ทำเคร่อื งหมาย หนา้ ข้อความท่ีผดิ ๑. ……………… วรรณคดเี ร่ือง อิเหนา มที ่ีมาจากพงศาวดารชวา ๒. ……………… ดนิ แดนชวาในอดตี คอื ประเทศอินโดนีเซีย ในปัจจบุ ัน ๓. ……………… ประเทศอนิ โดนีเซียเคยเปน็ เมอื งขนึ้ ของฝรัง่ เศส ๔. ……………… ตน้ ราชวงศข์ องอิเหนาในพงศาวดารชวา คือ ท้าวกุเรปัน ๕. ……………… เรื่องอเิ หนา เขา้ มาในประเทศไทยตงั้ แต่สมัยธนบรุ ี ๖. ……………… กษัตริย์ไอรลังคะได้ชื่อว่าเป็นมหาราชพระองค์หนึ่งในพงศาวดารของ ชวา ๗. ……………… กษตั รยิ ์ ไอรลังคะ พา่ ยแพต้ อ่ กษัตรยิ อ์ งั รกะ ๘. ……………… ราชวงศข์ องอิเหนาเจรญิ ร่งุ เรืองอยเู่ ป็นเวลา ๒๐๐ ปี ๙. ……………… ดินแดนชวาไดร้ บั เอกราชและสถาปนาเปน็ ประเทศอินโดนีเซียเม่อื พ.ศ. ๒๔๙๒ ๑๐.……………… นิทานปันหยีฉบับที่ตรงกับอิเหนาของไทยนั้น คือ ฉบับมาลัต ซึ่งใช้ ภาษากวขี อง ชวาโบราณมาจากเกาะบาหลี

ใบความรู้ท่ี ๒ เร่อื งยอ่ อิเหนา ในดินแดนชวาแตโ่ บราณมีกษัตริย์ราชวงศ์หน่ึง คือ วงศ์อสัญแดหวา หรือวงศ์เทวา กล่าว กันว่า แต่เดิมก่อนจะมีการก่อตั้งราชวงศ์นี้ เมืองหมันหยาซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่ยิ่งใหญ่และ รุ่งเรืองมากเมืองหนึ่ง เจ้าเมืองมีธิดาสี่องค์ซึ่งมีสิริโฉมงดงามมาก พระองค์คิดจะแต่งการ สยุมพรให้กับธิดาทั้งสี่ แต่หากษัตริย์ที่คู่ควรไม่ได้ ต่อมามีเหตุเกิดขึ้นคือมีพระขรรค์ชัยกับธง ผุดขึ้นที่หน้าพระลาน ทำให้เกิดข้าวยากหมากแพง ชาวเมืองพากันเดือดร้อนโดยถ้วนทั่ว เจ้าเมืองหมันหยาจึงป่าวประกาศให้กษัตริย์เมืองต่างๆ มาถอนพระขรรค์กับธงออก เพื่อแก้ อาถรรพ์ ถา้ ผู้ใดทำได้สำเรจ็ จะยกราชธิดาท้ังสแ่ี ละสมบัติให้กึ่งหน่งึ กษัตริยเ์ มืองต่างๆ พากัน มาอาสา ทีจ่ ะถอนธงกบั พระขรรค์แตก่ ็ไม่มใี ครสามารถทำได้ องค์ปะตาระกาหลา เทวดาทีม่ า สถิต ณ เขาไกรลาส ได้มอบหมายให้โอรสทั้งสี่ คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และ สิงหัดส่าหรี ไปช่วยถอนธงกับพระขรรค์ได้ สำเร็จ แต่เทวราชทั้งสี่ไม่ขอรับราชสมบัติจากท้าวหมันหยา หากขอเพียงแค่ราชธิดาไปเป็นคู่ครองและจะไปสร้างเมืองอยู่เอง เทวาทั้งสี่พระองค์พาราช ธิดาของท้าวดาหาไปสร้างเมืองใหม่ในดินแดนที่ทรงพอพระทัย และได้ตั้งชื่อเมืองตาม พระนามของจ้าวผู้ครองนครทั้งสี่ คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และ สิงหัดส่าหรี สี่เมืองนี้ จึง นับเป็นเมืองที่ยิ่งใหญ่ด้วยเกียรติยศและศักดิ์ศรี และเรียกวงศ์ตระกูลของตนเองว่าวงศ์ อสัญแดหวา หรือ วงศ์เทวัญ เป็นที่ยอมรับและยกย่องของหัวเมืองน้อยใหญ่ และเฉพาะส่ี เมอื งน้ีเทา่ นั้นที่สามารถตงั้ ตำแหน่ง มเหสีได้ ๕ องค์ อนั ได้แก่ ประไหมสุหรี มะเดหวี มะโต ลิ กู และ เหมาหลาหงี ตามลำดับ ส่วนความเกี่ยวพันระหว่างวงศ์อสัญแดหวา กับเมืองหมันห ยาน้ัน เรียกไดว้ ่าเก่ยี วดองกนั เพราะวงศ์ อสัญแดหวารุ่นตอ่ ๆ มาลว้ นได้ธิดาเมอื งหมันหยามา เป็นประไหมสุหรี ในสมัยต่อมาท้าวหมันหยามีพระธิดา ที่ทรงพระสิริโฉมงดงามอีก ๓ พระองค์ คือ นิหลาอรตา ดาหราวาตี และจินดาส่าหรี ท้าวกุเรปันมาขอ นางนิหลาอรตาไป เป็นประไหมสุหรี ส่วนนางดาหราวาตีกถ็ ูกทา้ วดาหาขอไปเป็นประไหมสุหรีเช่นเดียวกัน ท้าว ดาหาและท้าวกุเรปันจึงสัญญากันว่า ถ้าหากฝ่ายหนึ่งมีพระโอรสและอีกฝา่ ยมีพระราชธิดาก็ จะให้หมั้นกันทันที ส่วนนางจินดาส่าหรีนั้นได้อภิเษกกับโอรสท้าวมังกันและได้ครองเมือง

หมันหยา ท้าวกุเรปันมีโอรสองค์แรกกับมเหสีตำแหน่งลิกูชื่อว่ากะหรัดตะปาตี ต่อมามีโอรส กับประไหมสุหรี เป็นหนุ่มรูปงามและเก่งกล้าสามารถชื่ออิเหนาหรือระเด่นมนตรี มีพระธิดา ชื่อวิยะดา ส่วนท้าวดาหามีพระธิดา กับประไหมสุหรีชื่อบุษบา และมีพระโอรสชื่อสียะตรา ท้าวกุเรปันหมั้นหมายนางบุษบาไวใ้ ห้กับอิเหนา ส่วน ท้าวดาหา ก็หมั้นหมายวิยะดาไว้ให้กบั สียะตราฝ่าย ประไหมสุหรีเมืองหมันหยา ได้ให้กำเนิดพระธิดาชื่อ จินตะหราวาตี มีอายุรุ่น ราวคราวเดยี วกันกบั อเิ หนา ทางด้านประไหมสหุ รีของเมอื งสิงหัดส่าหรีได้ใหก้ ำเนดิ พระโอรส ชื่อสุหรานากง และ เมืองกาหลังได้ กำเนิดธิดากับประไหมสุหรีชื่อสกาหนึ่งหรัด ได้หม้ัน หมายไว้กับสุหรานากงและได้ให้กำเนิดพระธิดาอกี หนึ่งองคก์ ับมเหสีในตำแหน่งลิกูชื่อบุษบา รากา เป็นคู่หมายของกะหรัดตะปาตี เมื่ออิเหนาเจริญวัยจนอายุได้ ๑๕ ชันษา ก็มีความ เชี่ยวชาญเก่งกล้าสมเป็นโอรสกษัตริย์ ต่อมาพระมารดาของประไหมสุหรีเมืองหมันหยา ซ่ึง เป็นพระอยั ยิกาของอเิ หนา บุษบา และ จินตะหรา ทิวงคต ท้าวหมันหยาจึงมีราชสารแจง้ ไป ยังเมืองกุเรปัน และ เมืองดาหา ท้าวกุเรปันจึงให้อิเหนานำเครื่องเคารพศพไปร่วมงาน ครั้นอิเหนาไปถึงเมืองหมันหยา ได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยา และพบกับ จินตะหรา ธิดาเจ้าเมือง จึง นึกรักคิดใคร่ได้นางเป็นชายา จนพิธีถวายพระเพลิงเสร็จแล้วก็ยังไม่ยอมกลับเมอื งกุเรปนั ท้าวกุเรปันเห็นว่างานศพก็เสร็จสิ้นแล้วจึงให้คนถือหนังสือไปตามตัวอิเหนากลับ โดยบอก เหตุผลว่า พระมารดาทรงครรภ์แก่ใกล้ประสูติ อิเหนาต้องจำใจกลับวังแต่ได้เขียนเพลงยาว และฝากแหวนสองวง ขอแลกกบั สไบของนางจนิ ตะหรา เมอ่ื อเิ หนาถงึ เมอื งกุเรปนั กท็ ราบว่า ประไหมสุหรีให้กำเนิดธิดา ชื่อวิยะดา และท้าวดาหาได้สู่ขอตุนาหงันไว้ให้กับสียะตรา น้องชายบษุ บา เมือ่ อิเหนากลับมากเุ รปันก็คร่ำครวญคดิ ถงึ แต่ จินตะหรา ท้าวกเุ รปันจึงมีราช สารเร่งรดั ไปยงั ท้าวดาหาเพือ่ จะจัดการวิวาห์ระหว่างอเิ หนากับบุษบาให้เป็นทเ่ี รยี บร้อย ฝ่าย อิเหนาเมื่อทราบว่าจะต้องแต่งงานกับบุษบา จึงออกอุบายขออนุญาตท้าวกุเรปันออก ประพาสป่า แล้วปลอมตัวเป็นนายโจรชื่อ มิสารปันหยีให้พี่เลี้ยงและไพร่พลปลอมเป็น ชาวบ้านปา่ ทัง้ สิ้นเดนิ ทางมุ่งหน้าสู่ ภเู ขาปะราปีใกล้เมืองหมันหยา กล่าวถงึ กษัตริยส์ ามพ่ีน้อง อีกวงศ์หนึ่ง องค์แรกครองเมืองปันจะรากัน มีธิดาชื่อสการะวาตี องค์รอง ครองเมืองปักมา หงัน มีธิดาชื่อมาหยารัศมี มีโอรสชื่อ สังคามาระตา องค์ที่สามครองเมืองบุศสิหนา เพิ่งไปสู่ ขอนางดรสา ธิดาเมืองปะตาหรามาเป็นชายา ระหว่างเดินทางกลับจากพิธีวิวาห์ พี่น้องทั้ง

สามเมืองก็แวะพัก นมัสการฤาษีสังปะลิเหงะซึ่งบำเพ็ญพรตอยู่เชิงเขาปะราปี ระหว่างที่ไพร่ พลของอิเหนาพักอยู่ที่เชิงเขาปะราปี ประสันตาพี่เลี้ยงของอิเหนาได้ล่วงล้ำไปมีเรื่อง วิวาท กับไพร่พลของท้าวบุศสิหนา ท้าวบุศสิหนายกทัพมารบกับอิเหนาซึ่งใช้ชื่อว่า มิสารปันหยี ท้าวบุศสิหนา ถูกมิสารปันหยีแทงตกม้าตาย ท้าวปันจะรากันและท้าวปักมาหงันทราบจาก ฤาษีสังปะลิเหงะว่ามิสารปันหยี คืออิเหนา จึงยอมอ่อนน้อมไม่สู้รบด้วย ทั้งยกสการะวาตี มาหยารัศมี และ สังคามาระตาให้แก่อิเหนาด้วย จากนั้นอิเหนาก็เข้าเมืองหมันหยา ได้ ลักลอบเข้าหาจินตะหราได้นางเป็นชายา แล้วได้สองนางคือ มาหยารัศมี สะการะวาตีเป็น ชายา และรับสังคามาระตาเป็นน้องชาย ท้าวกุเรปันส่งสารเรียกอิเหนากลับเมืองถึงสองคร้งั พร้อมทั้งนัดวันอภิเษกระหว่างอิเหนากับบุษบา แต่อิเหนาไม่ยอมกลับและสั่งความตัดรอน นางบุษบา ท้าวกเุ รปันและทา้ วดาหาทราบเรอ่ื งก็ขดั เคอื งพระทัย ท้าวดาหาถงึ กบั หลุดปากว่า ถ้าใครมาขอบษุ บาก็จะยกให้ จรกาเจ้าชายรูปช่ัวตัวดำ ซึ่งเป็นระตเู มอื งเลก็ เมอื งหน่ึงและเป็น อนุชาของท้าวล่าส าแต่อยากได้ชายารูปงามจึงให้ช่างวาดรูปราชธิดาเมืองต่าง ๆ มาให้ ช่าง วาดผู้หนึ่งได้เดินทางไปเมืองดาหาและวาดรูปนางบุษบามาได้สองรูป ระหว่างทางองค์ ปะตาระกาหลาไม่พอพระทัย ที่อิเหนาหนีการแต่งงานจึงบันดาลให้รูปนางบุษบา หายไปรูป หนึ่ง จรกาได้เห็นรูปของนางบุษบาก็หลงใหลใฝ่ฝันถึงจนถึงขั้นสลบไปในทันทีที่เห็นรูปภาพ เมื่อฟื้นมาจึงขอให้ระตูล่าสำเชษฐาไปสู่ขอให้ ท้าวดาหากำลังโกรธอิเหนาอยู่ประกอบกับได้ พลั้งปากไปแล้วว่าถ้ามีใครมาส่ขู อกจ็ ะยกให้ จึงจำใจยกนางบุษบาใหก้ ับจรกาและกำหนดการ วิวาหภ์ ายในสามเดือน กลา่ วถงึ กษตั รยิ ์อีกวงศ์หนง่ึ สามพน่ี อ้ ง องคพ์ ่ีครองเมืองกะหมังกุหนิง มีพระโอรสรูปงามชื่อวิหยาสะกำ องค์รองครองเมืองปาหยังมีพระธิดา ๒ องค์ คือ นางรัตนา ระติกา และ รัตนาวาตี องค์สุดท้องครองเมือง ประหมันสลัดมีพระโอรสชื่อวิหรากะระตา มีพระธิดาชื่อ บุษบาวิลิศ อยู่มาวิหยาสะกำ โอรสท้าวกะหมังกุหนิงเสด็จประพาสป่า ได้พบ กับภาพวาดของนางบุษบาท่อี งค์ปะตาระกาหลาบันดาลให้หายไปก็คลัง่ ไคลใ้ หลหลงจนถึงกับ สลบไปเช่นเดียวกันกับจรกา ท้าวกะหมังกุหนิงรักและเห็นใจพระโอรสมากจึงให้คนไปสืบหา ว่านาง ในภาพเป็นใคร เมื่อทราบแล้วจึงส่งราชทูตไปสู่ขอนางบุษบาจากท้าวดาหาแต่ท้าวดา หาปฏิเสธเพราะได้ ยกนางบุษบาให้กับจรกาไปแล้ว จึงให้เกิดศึกชิงนางขึ้น ศึกในตอนนี้ เรยี กว่า ศกึ กะหมังกุหนงิ

ใบงานที่ ๒.๑ วดั ความรดู้ า้ นตัวละคร ละคร คำสั่ง ตอนที่ ๑ ให้นกั เรยี นจบั คู่ตัวละครฝ่ายชายทก่ี ำหนดให้กบั ฝา่ ยหญิงให้ถูกตอ้ ง ก. อเิ หนา ข. สียะตรา ค. สหุ รานากง ง. กะหรัดตะปาตี จ. ท้าวดาหา ฉ. ท้าวกเุ รปัน ช. ทา้ วหมันหยา ๑. บุษบา ๒. ดาหราวาตี ๓. จนิ ดาสา่ หรี ๔. จินตะหรา ๕. มาหยารศั มี ๖. นิหลาอรตา ๗. สกาหนึง่ หรดั ๘. บุษบารากา ๙. สการะวาตี ๑๐.วิยะดา

ใบงานท่ี ๒.๒ วดั ความรเู้ ก่ียวกบั เนื้อเรื่อง ตอนที่ ๒ ให้นักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถกู ต้อง ๑.ตน้ ตระกูลของวงศ์อสัญแดหวาคือขอ้ ใด ก. ทา้ วกเุ รปัน ข. ท้าวดาหา ค. ท้าวหมนั หยา ง. องค์ปะตาระกาหลา ๒. เมอื งใดไม่ได้อยใู่ นวงศ์อสญั แดหวา ก. ดาหา ข. กาหลัง ค. หมันหยา ง. สิงหัดส่าหรี ๓. อะไรคือเหตผุ ลท่ที ำใหอ้ เิ หนาได้พบกบั นางจินตะหราเปน็ ครงั้ แรกทเ่ี มอื งหมันหยา ก. อเิ หนาไปทำศกึ ที่เมืองหมันหยา ข. อเิ หนาถือราชสาส์นของท้าวกุเรปนั ไปให้ท้าวหมันหยา ค. ท้าวหมันหยามรี าชสาสน์ เชญิ ให้อิเหนาไปเยย่ี มชมเมอื งหมันหยา ง. ท้าวกุเรปนั ใหเ้ ปน็ ตวั แทนน าเคร่ืองเคารพศพพระอยั กีไปที่เมืองหมนั หยา ๔. อิเหนาปลอมตวั เป็นโจรปา่ ชอ่ื มิสารปันหยี ด้วยจุดประสงค์ใดเป็นสำคญั ก. เขา้ ปา่ เพ่ือล่าสัตว์ ข. ไปชงิ ตัวนางดรสา ค. ไปหานางจนิ ตะหรา ง. ไปปราบระตูบุศสหิ นา ๕. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ตอ้ ง ก. นางดรสาเป็นชายาของระตบู ศุ สิหนา ข. มาหยารศั มเี ป็นธิดาของระตปู กั มาหงัน ค. ระตปู ันจาระกันเป็นพี่ชายของระตปู ักมาหงัน ง. สงั คามาระตาเป็นน้องชายของนางสะการะวาตี ๖. เหตุใดอเิ หนาจึงปฏเิ สธการแตง่ งานกับนางบุษบา ก. คดิ วา่ นางบษุ บาไม่สวย ข. กลวั ท้าวหมนั หยาลงโทษ

ค. ไดน้ างจนิ ตะหราเปน็ ชายาแล้ว ง. นางจินตะหราสั่งให้ปฏิเสธการ แตง่ งาน ๗. ตัวละครใดตา่ งวงศจ์ ากตวั ละครอนื่ ๆ ก. ระตลู า่ ส่ำ ข. ระตปู าหยงั ค. วิหยาสะกำ ง. ท้าวกะหมงั กหุ นงิ ๘. “ ท้าวดาหาโกรธอิเหนา เนื่องจากอิเหนาปฏิเสธการอภิเษกกับนางบุษบา และแม้จะ ทราบ วา่ จรการูปชว่ั ตวั ดำ ต่ำศักดิ์ แตเ่ มอื่ ได้พลงั้ ปากไปแล้ววา่ ใครมาขอกจ็ ะยกให้ จงึ จำ ใจยกบุษบา ให้จรกาและกำหนดการอภิเษกภายในสามเดอื น ” ข้อใดไม่สามรถอนุมานได้ จากขอ้ ความขา้ งตน้ ก. ท้าวดาหาเปน็ ผู้ถอื สจั จะวาจา ข. ท้าวดาหาตัดสินใจโดยไม่คิดใหร้ อบคอบ ค. ท้าวดาหามกั ตัดสนิ ใจโดยใช้อารมณ์มากกวา่ เหตุผล ง. ท้าวดาหาวางแผนใหอ้ ิเหนามาชิงนางบษุ บาจากจรกา ๙. เหตุใดรปู วาดของนางบษุ บาท่ชี า่ งวาดนำมาให้จรกาจงึ เหลอื เพียงรูปเดียว ก. ลมพัดหอบเอารปู นางบุษบาไปหนึง่ รปู ข. ชา่ งวาดนำภาพไปขายให้กับทา้ วกะหมังกหุ นงิ ค. ช่างวาดภาพลมื รูปภาพอกี รูปหน่งึ ไว้ที่เมอื งดาหา ง. องค์ปะตาระกาหลาบันดาลให้รูปภาพหายไปหน่งึ รปู ๑๐. ใครเปน็ ผพู้ บรปู วาดของนางบษุ บาทห่ี ายไป ก. อเิ หนา ข. วิหยาสะกำ ค. ระตปู าหยัง ง. ทา้ วกะหมงั กหุ นิง

ใบความร้ทู ี่ ๓ ศึกษาประวัตผิ ้แู ตง่ ผู้แต่งคือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยลำดับ ที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงประสูติเมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ตรงกับวันพุธ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๓ ปีกุน มีพระนามเดมิ วา่ \"ฉมิ \" ( สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงอิศรสนุ ทร ) พระองค์ทรงเป็นพระบรมราชโอรสองค์ที่ ๔ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช และ กรมสมเด็จพระอมรินทรามาตย์พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ประสูติ ณ บ้าน อัมพวา แขวงเมอื งสมทุ รสงคราม ขณะนั้นพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก มหาราช เป็นหลวงยกกรบัตรเมืองราชบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรง เข้ารับการศึกษา จากวัดระฆังโฆสิตาราม โดยฝากตัวเป็นศิษย์กับพระ วนั รตั (ทองอย)ู่ เมอื่ พระชนมายไุ ด้ ๘ พรรษา พระองคไ์ ดต้ ามเสดจ็ พระบรม ชนกนาถ ไปราชการสงครามด้วย และเมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถก็ได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ พระนามว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระองค์จึงได้รับการสถาปนาพระยศ ขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟา้ กรมหลวงอศิ รสุนทร เมื่อพระองค์ทรงมพี ระชนมายุครบ ๒๒ พรรษา ก็ได้ทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง และเสดจ็ จำ พรรษาที่วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส) อยู่นาน ๓ เดือน (๑ พรรษา) จึงทรงลาผนวช ต่อมาใน ปีพ. ศ. ๒๓๔๙ พระองค์ทรงได้รับสถาปนาเลื่อนยศขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล หลังจากนั้นอีกเพียง ๒ ปีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต พระองค์จงึ เสดจ็ เถลิงถวัลยราชสมบัติเปน็ พระมหากษัตริย์ลำดบั ที่ ๒ แห่งราชวงศจ์ ักรี พระ นามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ขณะมี พระชนมายุ๔๒ พรรษา พระราชกรณียกิจที่สำคัญพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเอาพระทัยใส่ทำนบุ ำรุงบ้านเมือง ให้มีความเจริญ รุง่ เรืองในทกุ ๆ ดา้ น มพี ระราชกรณีย กจิ ท่ีสำคัญ ๆ ในดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี

๑. ด้านการเมืองการปกครอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงประกอบ พระราชกรณียกิจด้านการเมืองปกครองโดยยังคงรูปแบบการปกครองแบบเดิมแต่มีการต้ั ง เจ้านายท่ีเป็นเชอ้ื พระวงศ์ เขา้ ดแู ลบริหารงานราชการตามหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมพระคลัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้า ลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์เป็นผู้กำกับดูแล เป็นต้น ส่วนด้านการออกและปรับปรุงกฎหมายในการปกครองประเทศที่เอื้อประโยชน์แก่ ประชาชนมากขึ้น ได้แก่ พระราชกำหนดสักเลก โดยพระองค์โปรดให้ดำเนินการสักเลกหมู่ ใหม่ เปลี่ยนเป็นปีละ ๓ เดือน ทำให้ ไพร่สามารถประกอบอาชีพได้ นอกจากนี้ยังมีการออก กฎหมายว่าด้วยสัญญาที่ดิน รวมถึงพินัยกรรมว่าต้อง ทำเป็นลายลักษณ์อักษร และกฎหมาย ทส่ี ำคญั ท่ีพระองคโ์ ปรดเกล้าฯ ใหก้ ำหนดข้ึนในรัชสมยั ของพระองค์ คือ กฎหมายห้ามซ้ือขาย สบู ฝน่ิ ๒. ด้านเศรษฐกิจ พระราชกรณียกิจด้านเศรษฐกิจ ที่สำคัญคือการรวบรวมรายได้จาก การคา้ ขาย กับตา่ งประเทศ ซ่ึงในสมัยนไี้ ด้มกี ารเรียกเก็บภาษีอากรแบบใหมค่ อื การเดินสวน และการเดินนา การเดินสวน เป็นการแต่งต้งั เจา้ พนักงานไปสำรวจพ้ืนท่ีเพาะปลกู ของราษฎร เพื่อคิดอัตราเสียภาษีอากรที่ถูกต้อง ทำให้เกิดความยุติธรรมแก่เจ้าของสวน ส่วนการเดินนา คลา้ ยกับการเดนิ สวน แตใ่ หเ้ ก็บหางขา้ วแทนการเก็บภาษีอากร ๓. ด้านความสัมพันธ์กับตา่ งประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ได้มกี าร เจริญสัมพันธไมตรกี บั ตา่ งประเทศท้งั ประเทศเพอ่ื นบา้ น เช่น พม่า ญวน เขมร มลายู จีน และประเทศในทวีป ยุโรป เช่น โปรตุเกส อังกฤษ โดยมีความสัมพันธท์ ้ังในทางการเมือง และการคา้ ขาย ๔. ด้านสงั คมและวัฒนธรรม พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั ทรงให้ความสำคัญ ต่อการฟื้นฟูพระพุทธศาสนามาก ในรัชสมัยของพระองค์มีการสง่ สมณทูตไปยังศรีลังกา และ พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ ได้แก่ วัดแจ้ง และพระราชทานนาม ใหม่ว่า วัดอรุณราชวราราม ให้เป็นวัดประจำรัชกาล และโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดท้าย ตลาด และพระราชทานนามใหม่ว่า วัดพุทไธสวรรค์ อีกทั้งยัง ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดอีก หลายวัด อาทิ วัดหงส์รัตนาราม วัดหนัง วัดบวรมงคล วัดราชาธิวาส วัดราชบูรณะ และวัด โมฬีโลกยาราม รวมทง้ั ทรงจำหลักบานประตูพระวหิ ารศรีศากยมุนที ่ีวดั สุทัศนฯ์ พระองค์ทรง

ปั้นหุ่นพระพักตร์พระพุทธธรณิศราชโลกนาถดิลก พระประธานในวัดอรุณฯ และทรงปั้น หุ่น พระพักตร์พระปฏิมาพระประธานในวัดราชสิทธารามด้วยพระองค์เอง รวมทั้งยังทรงโปรด เกล้าฯ ให้มี การแก้ไขปรับปรุงการสอนพระปริยัติธรรม และโปรดเกล้าฯ ให้มีการแปลบท สวดมนต์จากภาษาบาลีเป็น ภาษาไทย รวมถึงซ่อมแซมพระไตรปิฎกฉบับที่ขาดหายไป พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั โปรดเกล้าฯ ใหม้ ีการรือ้ ฟ้นื พระราชพิธีตา่ งๆ ทีเ่ คยมี ในอดตี ไดแ้ ก่ พระราชพิธวี ิสาขบชู า ท่ีเคยมใี นยคุ สมัยของกรงุ สโุ ขทัยให้กลับมามคี วามสำคญั อีก พระราชพธิ ีลงสรง และพระราชพิธอี าพาธพนิ าศ เมื่อเกิดอหวิ าตกโรคระบาด ๕. ดา้ นศิลปกรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงสนพระทยั และทรงทำนุ บำรุง ศิลปะวัฒนธรรมของชาติทุกแขนง ไม่ว่าจะเป็น ด้านการช่าง ได้แก่ งานปั้นพระ ประธานในพระอุโบสถ วัดอรุณราชวราราม และ วัดราชสิทธาราม งานแกะสลักบานประตู พระวิหารที่วัดสุทัศน์เทพวราราม การสร้างสวนขวาในพระบรมมหาราชวัง ด้านการละคร ทรงฟื้นฟูการละคร โดยทรงให้มีการซ้อมท่ารำแบบแผนประกอบการแต่งบทพระราชนิพนธ์ การละครมีมาตรฐานในการรำเพลง และบทเป็นแบบอย่างของ ละครสืบมาจนถึงปัจจุบัน ด้านดนตรี ทรงมีความชำนาญในเครื่องดนตรี คือ ซอสามสาย และได้ทรงพระราชนิพนธ์ เพลง บุหลัน ลอยเลื่อน หรือบุหลันลอยฟ้า ซึ่งเป็นเพลงที่มีความไพเราะมาก นอกจากนี้ทรง ริเริม่ ใหม้ ีการขับเสภาประกอบ ปพี่ าทย์อีกด้วย ๖. ด้านวรรณคดี ทรงเปน็ กวที ม่ี ีพระปรชี าสามารถ และทรงสนบั สนุนกวใี ห้แต่งวรรณคดี กันอย่าง แพร่หลาย มีกวีที่สำคัญ ๆ นอกจากพระองค์อีกหลายคน ได้แก่ กรมหมื่นเจษฎา บดินทร์ (รัชกาลที่ ๓) สุนทรภู่ นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) พระยา ตรังคภูบาล เป็นต้น นับได้ว่าสมัยของพระองค์นี้เป็นยุคทองแหง่ วรรณคดีอีกยุคหนึ่ง ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีสำคัญ ๆ ไว้ หลายเรื่อง ได้แก่ บทละครทั้งละครในและละคร นอก มีหลายเรื่องที่มีอยู่เดิมและทรงนำมาแต่งใหม่ เพื่อให้ใช้ในการแสดงได้ เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา โดยเรื่องอิเหนานี้ เรื่องเดิมมีความยาว มาก ได้ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นเรื่องยาว ที่สุดของพระองค์ วรรณคดี สโมสรในรชั กาลที่ ๖ ได้ยกยอ่ งให้เป็นยอดบทละครรำทแ่ี ต่งดี ยอดเยยี่ มทัง้ เนอ้ื ความทำนอง

กลอนและกระบวนการเล่นทั้งร้องและรำ ผลงานด้านวรรณคดีของพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย มีดังนี้ - กลอนบทละครเรื่องอิเหนา - กลอนบทละครเรื่องรามเกียรต์ิ - กลอนบทละครนอก ๕ เรื่อง ได้แก่ ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คาวี สังข์ทอง และ ไกร ทอง - กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานและว่าด้วยงานนักขัตฤกษ์ - บทพากย์โขน ตอน นางลอย นาคบาศ พรหมมาสตร์ และ เอราวัณ - เสภาขุนช้างขุนแผน - ตอนพลายแก้วเป็นชู้กับนางพิม นางวันทองหึงนางลาวทอง - ตอนขุนแผนข้ึน เรอื นขนุ ช้างไดน้ างแกว้ กริ ิยา - ตอนขนุ แผนพานางวนั ทองหนาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรือ่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิงด้วยผลงานด้านภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรมของพระองค์เป็นที่ ประจักษ์เดน่ ชัดแก่สายตาชาวโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั จึงทรงได้รับการ เทิดพระเกียรติจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือ ยูเนสโก (UNESCO) เนื่องในอภิลักขิตสมัยครบ ๒๐๐ ปีแห่งพระบรมราช สมภพเมื่อ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๑ เพื่อเทิดพระเกียรติในฐานะบุคคลสำคัญของโลก รัฐบาลไทยจึงได้ กำหนดให้วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันศิลปินแห่งชาติมาจนถึงทุกวันน้ี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงพระประชวรด้วยโรคพิษไข้ ทรงไมร่ สู้ ึกพระองค์ เป็นเวลา ๘ วัน พระอาการประชวรก็ได้ทรุดลงตามลำดบั และเสด็จสวรรคตเมื่อ วันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ สิริรวมพระชนมพรรษาได้ ๕๗ พรรษา และครองราชย์สมบตั ิได้ ๑๕ ปี

ใบงานที่ ๓ ตใบองนาทนี่๑ที่ -๓๒ววัดดัคคววามามรู้เรกู้ดย่ี ้าวนกผับลผงู้แานต่ง ของผแู้ ต่ง ตอนท่ี ๑ ใหน้ ักเรยี นจบั คู่ข้อความให้สมั พันธก์ ัน โดยนำตัวอกั ษรทสี่ มั พันธ์ตวั เลขไปเติม ในช่องว่าง (๑๐ คะแนน) ก. พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจา้ อยูห่ ัว ๑. พระนามเดิม ข. การเดนิ สวน การเดนิ นา ๒. วันประสตู ิ ค. ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ๓. พระราชบิดา ง. ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ๔. พระราชมารดา จ. เพลงบุหลนั ลอยเลอ่ื น ฟืน้ ฟกู ารละคร ๕. วนั พระบรมราชาภิเษก ฉ. ๒๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ๖. พระราชกรณยี กจิ ดา้ นเศรษฐกิจ ช. สง่ สมณทตู ไปยังศรลี งั การื้อฟ้ืนพระราชพิธีวันวสิ าขบชู า ๗. พระราชกรณยี กจิ ด้าน การเมืองการปกครอง ซ. กฎหมายห้ามซอื้ ขายสบู ฝน่ิ ๘. พระราชกรณยี กจิ ดา้ นด้านสงั คม และ วฒั นธรรม ฌ.พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ๙. พระราชกรณยี กิจด้านด้าน ศลิ ปกรรม ญ.ฉิม ๑๐.เสดจ็ สวรรรคต ฎ. กรมสมเดจ็ พระอมรนิ ทรามาตย์พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ฏ. กฎหมายตราสามดวง คำตอบ ๑……….. ๒ ……….. ๓ ……….. ๔……….. ๕………… ๖………… ๗………… ๘ ………. ๙ ………. ๑๐……….

ตอนที่ ๒ คำสั่ง ให้นกั เรยี นวงกลมข้อทไ่ี ม่ใช่ผลงานการพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเดจ็ พระ พทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (๑๐ คะแนน) ๑. บทละครนอก ก. แก้วหนา้ ม้า ข. ลกั ษณวงศ์ ค. มณพี ชิ ัย ๒. บทพากย์โขน ก. นางลอย ข.หนมุ านเผากรุงลงกา ค. ทศกัณฐล์ ม้ ๓. บทละครใน ค. อณุ รุท ก. อเิ หนา ข. ศกุนตลา ๔. เสภาขุนชา้ งขุนแผน ก. พลายแก้วเปน็ ชู้กบั นางพมิ ข. ขุนแผนลุแกโ่ ทษ ค. กำเนดิ พลายงาม ๕. ผลงานกาพย์ ก. กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า ข.กาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวานวา่ ดว้ ยงานนกั ขตั ฤกษ์ ค. กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ๖. บทละครนอก ก. ไกรทอง ข. จนั ทโครพ ค. กากี ๗. บทพากยโ์ ขน ข. กำเนิดหนุมาน ค. เอราวณั ก. จองถนน ๘. เสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน ก. ขนุ ชา้ งถวายฎกี า ข.ขนุ แผนพานางวนั ทองหนี ค.กำเนดิ พลายชมุ พล ๙. บทละครนอก ก.ไชยเชษฐ์ ข. ปลาบ่ทู อง ค.พิกุลทอง ๑๐. บทละครใน ข. ดาหลงั ก. รามเกยี รต์ิ ค. มโนราห์

ใบความรูท้ ่ี ๔ ลักษณะคำประพันธ์ ลักษณะคำประพันธเ์ รอ่ื งอิเหนาเปน็ กลอนบทละคร และเปน็ ยอดบทละครรำ ละครรำ เป็นศลิ ปะการแสดงแขนงหนึง่ ของไทย ทีป่ ระกอบดว้ ยท่ารำดนตรบี รรเลง และบทขับรอ้ งเพอื่ ดำเนนิ เรอ่ื ง การแสดงละครรำแบ่งผแู้ สดงออกเป็น ๓ ประเภท คือ ตวั พระ ตัวนาง และตัว ประกอบ มีการแตง่ องค์ทรงเครอ่ื งตามบทด้วยเสอื้ ผ้าอาภรณ์และเครอื่ งประดบั ทง่ี ามระยับ จับตามที ่ารำตามบทรอ้ ง ประสานทำนองดนตรีทบ่ี รรเลงจงั หวะชา้ เรว็ เรา้ อารมณ์ให้เกิด ความร้สู กึ คึกคกั สนกุ สนาน หรอื เศรา้ โศก ตัวละครสอื่ ความหมายบอกกล่าวตามอารมณ์ดว้ ย ภาษาท่าทาง โดยใชส้ ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย วาดลลี าตามคำรอ้ ง จังหวะ และเสียงดนตรี ละครรำของไทยมีหลายประเภท เช่น ละครชาตรลี ะครในละครนอกซงึ่ ละครทง้ั สามประเภท มีลกั ษณะของการแสดงทแ่ี ตกตา่ งกันดังต่อไปน้ี ๑. ละครชาตรี เป็นละครที่มมี าแตส่ มัยโบราณ และมอี ายเุ กา่ แก่กวา่ ละครชนิดอ่ืนๆมลี ักษณะ เป็นละครเรค่ ลา้ ยของอนิ เดยี ทเี่ รยี กวา่ “ ยาตรี ” หรอื “ ยาตรา ” แปลว่าเดนิ ทางทอ่ งเท่ียว ละครยาตรานคี้ อื ละครพน้ื เมืองของชาวเบงคลใี นประเทศอนิ เดีย นิยมเลน่ เรอ่ื ง “ คีตโควนิ ท์ ” ซึ่งเป็นเรอ่ื งอวตารของพระวิษณหุ รอื พระนารายณ์ ตวั ละครมเี พียง ๓ ตวั คอื พระกฤษณะ นางราธะ และนางโคปี ละครยาตราเกิดขึ้นในอนิ เดียนานแลว้ สว่ นละครรำของไทยเพ่ิงจะเริ่ม เล่นในสมยั ตอนตน้ กรุงศรีอยธุ ยาจึงมโี อกาสเปน็ ไปได้ที่ละครไทยอาจได้แบบอยา่ งจากละคร อินเดยี เนอ่ื งจากศิลปะวฒั นธรรมของอนิ เดียแพร่หลายมายงั ประเทศต่าง ๆ ในแหลม อนิ โด จนี เชน่ พมา่ มาเลเซีย เขมร และไทย จึงทำใหป้ ระเทศเหล่านม้ี ีวัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ีคลา้ ยกันอยมู่ ากละครชาตรีโดยสว่ นใหญน่ ยิ มเลน่ เรื่องมโนราห์ ๒. ละครนอก มมี าตัง้ แตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา เป็นละครท่ีแสดงกนั นอกราชธานี สันนษิ ฐานวา่ พฒั นามาจากการละเลน่ พืน้ เมือง ทีม่ กี ารรอ้ งแก้กนั ไปมา แล้วตอ่ มาภายหลังจบั เนื้อหาเป็น เร่ืองเปน็ ตอนข้นึ เป็นละครทีด่ ดั แปลงและววิ ัฒนาการมาจากละคร“โนราห์”หรอื “ละคร ชาตรี”โดยปรับปรุงวธิ ีแสดงตา่ งๆตลอดจนเพลงร้อง และดนตรีประกอบใหแ้ ปลกออกไปใน อดตี มีตัวแสดงเปน็ ชายล้วนดำเนนิ เรอื่ งเรว็ และตลกขบขนั เพงิ่ เรมิ่ มีตวั แสดงเปน็ หญงิ ในสมยั ปลายรชั กาลท๔่ี เมอ่ื โปรดเกลา้ ฯให้ยกเลกิ การห้ามมใิ ห้บคุ คลทั่วไปมลี ะครผ้หู ญงิ ละครนอกมี

ตวั ละครครบทกุ ตัวตามเน้อื เรอื่ งไมจ่ ำกดั จำนวนดนตรีใช้วงป่ีพาทย์มฉี ากเปน็ ผ้าม่าน มีประตู เขา้ ออก ๒ ประตู หลงั ฉากเปน็ ท่แี ต่งตวั และสำหรับใหต้ วั ละครพกั หนา้ ฉากเป็นท่ีแสดงต้งั เตียงตรงกลางหนา้ ฉากการแตง่ กายเลยี นแบบเคร่ืองตน้ ของกษัตริยต์ วั พระสวมชฎาตัวนาง สวมเคร่อื งประดับศีรษะตามฐานะเช่น มงกฎุ กษัตรี รดั เกลา้ ยอด รดั เกลา้ เปลว และกระบงั หน้าเส้ือผ้าปกั ดิน้ เลอื่ มแพรวพราว การแสดงมคี นบอกบท มตี ้นเสยี งและลกู คสู่ ำหรบั รอ้ งบาง ตวั ละครอาจร้องเองการรำเปน็ แบบแคลว่ คลอ่ งวอ่ งไวพริ้งเพรา จงั หวะของการรอ้ งและการ บรรเลงดนตรคี อ่ นขา้ งเรว็ เวลาเลน่ ตลกมักเลน่ นานๆ ไมค่ ำนึงถึงการดำเนนิ เร่ือง และไมถ่ อื ขนบธรรมเนยี มประเพณี เช่น ตวั กษัตรยิ ์หรือมเหสีจะเลน่ ตลกกบั เสนากไ็ ด้ เร่มิ ตน้ แสดงกจ็ บั เรื่องท่เี ดยี วไมม่ ีการไหวค้ รู เรอื่ งทล่ี ะครนอกแสดงไดส้ นกุ สนานเปน็ ทนี่ ยิ มแพรห่ ลายมีหลาย เรอ่ื ง บททีส่ ามญั ชนแตง่ ได้แก่ เร่อื งแกว้ หนา้ ม้า ลักษณวงศ์ และจนั ทโครพ บททเี่ ปน็ พระราช นิพนธใ์ นรัชกาลท๒ี่ ไดแ้ กเ่ รอื่ งสังข์ทองไชยเชษฐค์ าวมี ณีพิชยั และไกรทอง ๓.ละครใน เป็นละครท่เี กิดขึ้นในพระราชฐานจึงเป็นละครทมี่ รี ะเบยี บแบบแผนสภุ าพละคร ในมีความมุ่งหมายสำคญั อย๓ู่ ประการคือรกั ษาศิลปะของการราอนั สวยงามรกั ษา ขนบธรรมเนยี มประเพณี อยา่ งเคร่งครัด รกั ษาความสุภาพท้ังบทรอ้ งและเจรจาเพราะฉะนน้ั เพลงรอ้ งเพลงดนตรีจงึ ตอ้ งดำเนนิ จังหวะคอ่ นขา้ งชา้ เพอื่ ให้รำได้ออ่ นช้อยสวยงาม ดนตรีใชว้ ง ปี่พาทย์จะเป็นวงเครอื่ งห้าเครอื่ งคู่หรอื เครอ่ื งใหญก่ ็ได้โรงมลี กั ษณะเดียวกบั โรงละครนอกแต่ มักเรยี บรอ้ ยสวยงามกวา่ เพราะใช้วัสดทุ มี่ ีคา่ กวา่ เนอ่ื งจากมักจะเป็นละครของเจา้ นาย หรอื ผู้ดีมีฐานะเครอื่ งแต่งกายก็เปน็ แบบเดยี วกบั ละครนอกแตถ่ า้ แสดงเรื่องอเิ หนาตวั พระบาง ตัวจะสวมศรี ษะด้วยปนั จเุ หร็จในบางตอน (ปันจุเหร็จในสมยั ปจั จุบนั มกั นำไปใช้ในการแสดง เรื่องอื่นๆดว้ ย)การแสดงมคี นบอกบทต้นเสยี ง ลูกคกู่ ารรา่ ยรำสวยงามตามแบบแผน เนอื่ งจาก รกั ษาขนบประเพณเี ครง่ ครดั การเลน่ ตลกจึงเกือบจะไมม่ เี ลยบททแี่ ต่งใชถ้ ้อยคำสภุ าพคำ ตลาดจะมบี า้ งก็ในตอนทก่ี ลา่ วถงึ พลเมอื ง ใชผ้ ู้แสดงเปน็ ผู้หญงิ ตวั ประกอบอาจจะเป็นผชู้ าย บา้ ง เรือ่ งท่ีใช้แสดงละครใน แตโ่ บราณมเี พียง ๓ เร่อื ง คอื เรอื่ งรามเกยี รติ์ อเิ หนาและอุณรุท ภายหลงั ได้มเี พมิ่ เรอื่ งอนื่ ข้นึ บา้ ง เชน่ เรือ่ งศกุนตลา พระราชนพิ นธ์ในรชั กาลท่ี ๖ ฉนั ทลักษณ์กลอนบทละครรำเรอื่ งอิเหนามีรูปแบบการแต่งกลอนบทละครซ่งึ มี ลักษณะบังคับเหมอื นกลอนสส่ี ุภาพ แตล่ ะวรรคมักจะขึน้ ตน้ ด้วยคำวา่ “เมือ่ นนั้ ”

“บดั นัน้ ” และ “มาจะกลา่ วบทไป” กลอนบทละคร บทหนงึ่ มี ๔ วรรค วรรคละ ๖ คำ หนึง่ บทมี ๒ บาท เรยี กว่าบาทเอก และบาทโท ๑ บาท เท่ากบั ๑ คำกลอน มีลักษณะการสมั ผสั ดงั น้ี ๑. สมั ผสั ระหว่างวรรคไมบ่ ังคบั ตายตวั ใหส้ งั เกตจากแผนผงั วรรคท่ี ๑อาจจะสมั ผัส กบั ตำแหนง่ ใดตำแหน่งหน่ึง ตามเสน้ สมั ผสั ในวรรคท่ี ๒ ๒. คำขนึ้ ต้นบทกลอนบทละครมคี ำขน้ึ ตน้ หลายแบบ และคำขนึ้ ตน้ นั้นไม่จำเปน็ ตอ้ งมี จำนวนเทา่ กบั วรรคสดบั อาจจะมเี พียง ๒ คำกไ็ ด้ คำข้นึ ต้นมีดังน้ี - มาจะกล่าวบทไป มกั ใชเ้ มื่อขึ้นต้นเรอ่ื ง หรอื กล่าวถึงเร่ืองแทรกเข้ามา - เมอ่ื น้นั ใชส้ ำหรบั ผมู้ ยี ศสูง หรอื ผเู้ ปน็ ใหญ่ในทีน่ ั้นตามเน้อื เรอ่ื ง เชน่ กษัตรยิ ์ ราชวงศ์ - บดั นน้ั ใช้ขึ้นตน้ สำหรบั ผนู้ อ้ ยลงมา เช่น เสนา ไพรพ่ ล ตวั อย่างบทละคร บัดน้นั ดะหมงั ผ้มู ยี ศถา นบั นิว้ บังคมคลั วนั ทา ทูลถวายสาราพระภมู ี

ใบงานท่ี ๔ วดั ความรเู้ ร่ืองลักษณะคำประพนั ธ์ ให้นกั เรียนขดี เสน้ ใต้คำตอบท่สี มั พนั ธก์ บั ข้อความทก่ี ำหนดใหท้ างซา้ ยมอื (๑๐ คะแนน) ข้อ รายการ คำตอบ ๑ มลี กั ษณะคลา้ ยละครเรข่ องชาวเบงคลีประเทศ ละครนอก ละครใน อนิ เดีย ท่นี ยิ มเล่นเรอื่ ง “ คตี โควนิ ท์ ” ซึง่ เป็นเร่อื ง ละครชาตรี อวตารของพระวิษณหุ รอื พระนารายณ์ ๒ ในอดีตมตี ัวแสดงเปน็ ชายลว้ น เพิง่ เรม่ิ มีตวั แสดง ละครนอก ละครใน เป็นหญิงในสมัยปลายรชั กาลท่ี ๔ ละครชาตรี ๓ การดำเนินเรอ่ื งเรว็ ตลกขบขนั และมักเล่นชว่ ง ละครนอก ละครใน ตลกนาน ละครชาตรี ๔ นยิ มเลน่ เร่อื งมโนหร์ า ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๕ เป็นละครที่เกิดข้นึ ในพระราชฐาน มรี ะเบยี บแบบ ละครนอก ละครใน แผนสุภาพเพลงร้องและดนตรดี ำเนนิ จังหวะ ละครชาตรี คอ่ นข้างช้า ๖ เรือ่ งท่ใี ชแ้ สดงแตโ่ บราณมีเพยี ง ๓ เรอ่ื ง คอื เรื่อง ละครนอก ละครใน รามเกียรต์ิ อิเหนา และอณุ รทุ ภายหลงั ได้มเี พม่ิ ละครชาตรี เร่ืองอื่นข้นึ บา้ ง เช่น เรอื่ งศกุนตลา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลท่ี ๖ ๗ เร่ิมต้นแสดงโดยไมม่ ีบทไหวค้ รู ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๘ เรอ่ื งทนี่ ยิ มแสดงมีหลายเร่อื งเชน่ แกว้ หน้ามา้ ละครนอก ละครใน ลักษณวงศ์ ละครชาตรี

จันทโครพ สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ คาวี มณีพชิ ยั และไกรทอง ๙ ตัวแสดงหลักเปน็ ผหู้ ญิงลว้ น อาจมตี วั ประกอบเป็น ละครนอก ละครใน ผชู้ ายบ้าง ละครชาตรี ละครใน ๑๐ มีความมงุ่ หมายสำคญั อยู่ ๓ ประการ คอื รกั ษา ละครนอก ศิลปะของการรำอนั สวยงาม รกั ษาขนบธรรมเนียม ละครชาตรี ประเพณีอย่างเครง่ ครัด รักษาความสุภาพทง้ั บทรอ้ งและเจรจา

ใบความรู้ท่ี ๕ รจู้ ักกบั ตวั ละคร ตัวละครในเร่อื งอเิ หนาตอนศกึ กะหมังกุหนงิ มตี ัวละครท่ีมบี ทบาทสำคญั ปรากฏอยู่ มากตัวละครมบี คุ ลิกลกั ษณะนสิ ยั ทโี่ ดดเดน่ และแตกต่างกนั เช่น ๒.๑) ทา้ วกุเรปนั เป็นกษตั รยิ ว์ งศ์เทวาผยู้ ิง่ ใหญ่ มีอนชุ า ๓ องค์ ครองเมอื งดาหา กาหลงั สงิ หดั สา่ หรี มีโอรสและธดิ ากบั ประไหมสหุ รี คอื อเิ หนากับวยิ ะดา และมี โอรสกับลิกหู นง่ึ องค์ คอื กะหรดั ตะปาตี ทา้ วกุเรปันมลี ักษณะนสิ ัย ดงั น้ี ๑) เปน็ คนถอื ยศศักด์ิ ไม่ไวห้ นา้ ใคร ไม่เกรงใจใคร เช่น ในราชสาสน์ถึงระตหู มนั หยา กลา่ ว ตะหนติ เิ ตียนระตูหมันหยาอยา่ งไมไ่ วห้ น้าวา่ เปน็ ใจให้จินตะหราแย่งคหู่ ม้นั บุษบาสอน ลกู ใหย้ ัว่ ยวนอเิ หนาจนเปน็ ตน้ เหตใุ ห้บษุ บารา้ งค่ตู ุนาหงนั แม้อนั ที่จริงทา้ วกุเรปันนา่ จะ คำนงึ ถงึ จิตใจของท้าวหมันหยาบ้างเพราะอยา่ งไรจนิ ตะหราก็เป็นหลานของ ประไหม สุหรี และผทู้ ผี่ ดิ ควรจะเป็นอเิ หนามากกว่าในพระราชสาสน์ ของทา้ วกเุ รปนั ถงึ อิเหนา ได้ยกความผิดใหจ้ ินตะหราจงึ มีลักษณะเป็นผู้ใหญท่ ี่มอี ำนาจแตไ่ มม่ ีเมตตาถือยศศกั ดิ์ และอาจพิจารณาถงึ ความเปน็ ปถุ ชุ นที่ยอ่ มมีความลำเอยี งเขา้ ข้างคนใกลต้ วั ๒) เป็นคนเขม้ แข็งและเดด็ ขาด ดงั พระราชสาสนส์ ัง่ การให้อิเหนายกทัพไปชว่ ยเทา้ ดาหา ถ้าไม่ไปก็จะตัดพอ่ ตดั ลกู กับอิเหนา ๓) เป็นคนรกั เกยี รติรกั วงศต์ ระกูล โดยการส่ังให้กะหรดั ตะปาตโี อรสองคแ์ รกกับลกิ ู และ อเิ หนา ไปชว่ ยเมอื งดาหารบ เพราะเหน็ วา่ ถา้ เสียเมอื งดาหาย่อมหมายถงึ กษัตรยิ ์วงศ์ เทวาพา่ ยแพ้ดว้ ย ซ่ึงถอื ว่าเปน็ เรือ่ งนา่ อายอย่างยง่ิ ดงั นี้ ๒.๒) ท้าวดาหา เป็นอนชุ าองคร์ องของทา้ วกเุ รปัน มรี าชธิดากับประไหมสหุ รีช่อื บษุ บา ซ่ึง เปน็ ตุนาหงนั ของอเิ หนา และมโี อราองค์เล็กช่อื สยี ะตรา เป็นค่ตู นุ าหงนั ของวิยะ ดาขนษิ ฐาของอเิ หนาทา้ วดาหามลี กั ษณะนสิ ัย ดังนี้ เป็นผูร้ ักษาวาจาเมอื่ พลง้ั ปากพูดวา่ จะยกบางบษุ บาใหใ้ ครก็ไดท้ มี่ าสขู่ อจรกามาสู่ ขอก็รกั ษาวาจาสัตย์ ยกบษุ บาใหจ้ รกา แม้ท้าวกะหมังกุหนิงจะสง่ ทูตมาขอนางบษุ บา ใหว้ ิหยาสะกำ ก็ทรงปฏเิ สธจนเปน็ เหตุให้ท้าวกะหมงั กุหนงิ ยกทัพมาทำสงคราม

๑) เป็นผมุ้ ีขตั ติยมานะ เขม้ แขง็ เดด็ เดี่ยว เมอ่ื ขอความชว่ ยเหลอื ในการศึกสงครามไปยงั พ่ี นอ้ ง หากไม่มใี ครมาชว่ ยกจ็ ะขอสรู้ บโดยลำพัง ๒) เป็นผมู้ คี วามรอบคอบในการศึก เมอ่ื รู้ว่าจะต้องเกดิ ศึกสงครามแน่ก็วางแผนสง่ั การให้ แจ้งข่าวไปยังเมอื งพี่นอ้ งทง้ั สามเมืองและระตจู รกาใหม้ าช่วยทั้งยังได้สง่ั ให้มกี าร ตกแตง่ ค่ายคู หอนบ และเตรยี มกำลงั ทัพรับศกึ ๒.๓) อเิ หนา เป็นโอรสทา้ วกเุ รปนั กับประไหมสุหรี มขี นิษฐาชอ่ื วยิ ะดา อเิ หนาเปน็ เจ้าชาย หน่มุ รปู งาม เขม้ แข็ง เดด็ ขาด เอาแตใ่ จตัว เจ้าชู้ มีมเหสีหลายพระองค์ คือ นางจนิ ตะหรา นาง สการะวาตี นางมาหยารัศมี และนางบษุ บา ๑)เป็นคนรอบคอบ มองการณ์ไกล ไม่ประมาท เช่น ตอนทีส่ งั คามาระตารบกับวิหยา สะกำ อิเหนาได้เตอื นสงั คามาระตาว่า ไม่ชำนาญกระบ่ี อยา่ ลงจากหลงั มา้ เพราะเพลง ทวนนั้นชำนาญอยแู่ ลว้ จะเอาชนะได้ง่ายกวา่ ๒)เปน็ คนดอื้ ดงึ เอาแตใ่ จตนเอง เช่น เม่ือไดร้ บั พระราชสาสน์จากทา้ ว กเุ รปนั ถึงสองฉบบั ก็ดือ้ ดึง ไม่ยอมกลับเมืองกเุ รปนั และไม่ยอมอภิเษกกบั บุษบาถึงกับบอกวา่ ใครมาขอกใ็ หเ้ ขาไปเถิด ๓)เป็นคนท่ีมีความรบั ผิดชอบรักช่อื เสยี งวงศต์ ระกลู เมือ่ เกิดศึกกะหมงั กุหนิง แม้จะเคย ด้ือดงึ เอาแต่ใจตนเองแตเ่ มอ่ื ทราบข่าวศกึ จึงต้องรบี ไปช่วย ดังท่ีกลา่ วถงึ เหตุผลสำคญั ท่จี ะตอ้ งไปชว่ ยปอ้ งกันเมืองดาหา ลักษณะนิสยั ข้อนเ้ี หมอื นกันกบั ท้าวกเุ รปัน ดังท่ี อิเหนาบอกจินตะหราวา่ ๔)เป็นคนรูส้ ำนกึ ผิด เมื่อยกทพั มากรงุ ดาหา ไมก่ ลา้ เข้าเฝา้ ทา้ วดาหาทนั ที จึงขอพักพล นอกเมือง และทำการรบแก้ตัวกอ่ น จากน้ันให้ตำมะหงงไปเฝา้ ท้าวดาหา ๕)เปน็ คนเคารพยำเกรงบดิ า คือ ท้าวกเุ รปัน แมจ้ ะดือ้ ดงึ เปน็ บางครง้ั แชน่ ตอนท่อี ิเหนา จะหนีออกจากเมอื งไปอยกู่ บั นางจนิ ตะหราที่เมอื งหมันหยา แต่ทา้ วกุเรปันมพี ระราช สาสน์ สง่ั ให้นำทพั ไปชว่ ยท้าวดาหา แมอ้ ิเหนาไม่อยากจากนางจินตะหรา แต่ด้วยความ ยำเกรงบดิ าจึงยอมยกทพั ไป ๖)เปน็ คนท่ีมอี ารมณ์ละเอยี ดอ่อน เข้าใจ และหว่ งความรสู้ กึ ของผู้อืน่ เช่น เมอื่ รวู้ ่าจะตอ้ ง จากนางจินตะหรา ก็พดู ปลอบโยนใหน้ างคลายเศรา้ โศก ทง้ั ยังมอบสร้อยสังวาลไว้เป็น

เครอ่ื งรำลึกถึงนอกจากนี้อเิ หนายังแสดงความหว่ งใยนางมาหยารศั มแี ละนางสการะวา ตี จงึ ได้เอ่ยปากฝากนางท้ังสองไว้กบั นางจินตะหรา ให้เมตตานางทัง้ สองด้วย ๒.๔) จินตะหรา ราชธดิ าของระตหู มนั หยากบั ประไหมสุหรี ซง่ึ เป็นญาตทิ างฝ่ายประไหมสุหรี เมอื งกเุ รปัน และประไหมสหุ รีเมอื งดาหา เปน็ คนสวย แสนงอน มจี รติ กริ ิยามลี กั ษณะนสิ ยั ดงั น้ี ๑) เป็นคนแสนงอนใจน้อย ช่างพูดจาตัดพ้อตอ่ วา่ ประชดประชนั ตามประสา หญิง มคี ารมคมคาย สามารถใชค้ ำพดู ไดล้ กึ ซง้ึ กินใจ ๒) เปน็ คนมีเหตผุ ล ไม่ดอ้ื ดึง ไมง่ อนจนเกนิ งาม เชน่ เมอ่ื ทราบวา่ อิเหนา จำต้องไปทำศึกท่ีเมอื งดาหาเพราะได้รับคำส่ังจากท้าวกเุ รปนั และเพอ่ื ปอ้ งกนั วงศอ์ สญั หยานางกค็ ลายความทุกข์โศก ความนอ้ ยใจ และความหวาดระแวงลง ยอมใหอ้ เิ หนายกทพั ไปแตโ่ ดยดี ๓) เป็นคนทม่ี ีความรู้สึกไว รบั รไู้ ว แนใ่ จวา่ อเิ หนาไปแล้วคงไม่กลับมาเพราะการทีม่ คี นมา แยง่ ชิงบุษบา ก็หมายความว่าบุษบาเปน็ สวย เชอ่ื มนั่ วา่ อเิ หนาพบบุษบาแลว้ คงลมื ตน แน่ จงึ รำพันด้วยความนอ้ ยใจวา่ ๒.๕) ท้าวกะหมังกหุ นงิ เปน็ กษตั ริยเ์ มอื งกะหมงั กหุ นิง มีอนุชาสององค์ คอื ระตูปาหยัง กับ ระตูประหมัน โอรสคอื วหิ ยาสะกำ มีลกั ษณะนสิ ยั ดังนี้ ๑) เป็นคนรกั ลูกยิ่งชีวิต ยอมทำทุกอย่างเพื่อลกู แมต้ นจะต้องตายกย็ อม ๒) เปน็ คนตดั สนิ ใจเดด็ ขาด เดด็ เดี่ยว กล้าหาญในการรบ ๓) เปน็ คนประมาท คาดการณ์ผดิ ไมร่ จู้ ักวเิ คราะหฝ์ า่ ยขา้ ศกึ คอื คาดวา่ อเิ หนาอยู่ใน หมันหยา กำลังเคืองกนั อย่กู ับท้าวกเุ รปัน คงไมย่ กทพั มาช่วยรบ แตผ่ ดิ คาด เนอื่ งจาก อิเหนายกทพั มารบกับท้าวกะหมงั กหุ นิงจนมีชัยชนะและฆา่ วหิ ยาสะกำตายในทสี่ ุด ๒.๖) วหิ ยาสะกำ เปน็ หนมุ่ นอ้ ยรปู งาม โอรสองค์เดยี วของทา้ วกะหมงั กหุ นงิ เป็นท่ีรกั ของพอ่ แม่ มีลกั ษณะนสิ ยั ดงั น้ี ๑) เอาแตใ่ จตนเอง จะเอาอะไรต้องได้

๒) เปน็ คนอ่อนไหว ขาดสติ แคเ่ ห็นภาพวาดของบุษบาก็หลงใหล ถึงกับ ครองสตไิ มไ่ ดแ้ ละสลบไป ๓) เปน็ คนที่รักศักด์ิศรี มีความละอายแก่ใจท่ที ำใหพ้ อ่ แมเ่ ดือดรอ้ น ๒.๗)บุษบาเป็นธดิ าของท้าวดาหาและประไหมสหุ รีดาหราวาตีแหง่ กรงุ ดาหาเมื่อตอนประสตู ิ มเี หตุอศั จรรยค์ ือ มกี ลนิ่ หอมตลบอบอวลไปทว่ั ทงั้ วัง ดนตรี แตรสงั ข์ก็ดงั ขนึ้ เองโดยไมม่ ผี ู้ บรรเลง ประสตู ิไดไ้ มน่ าน ทา้ วกุเรปนั กข็ อตนุ าหงันใหก้ บั อิเหนา บุษบาเป็นหญิงทงี่ ามล้ำเลศิ กว่านางใดในแผน่ ดนิ ชวา ๑) เป็นคนกิริยามารยาทเรยี บร้อย ๒) เป็นคนมีคารมคมคาย เฉลยี วฉลาดทัน ๓) เป็นคนใจกว้างและมเี หตผุ ล ววิ าห์กบั อิเหนา โดยนางไดต้ ำแหนง่ เปน็ ประไหมสหุ รีฝา่ ย ซ้าย

ใบงานท่ี ๕ วิเคราะห์วิจารณ์ตัวละคร คำสั่ง ใหน้ กั เรยี นยกตวั อย่างบทประพันธใ์ นแบบเรียนที่สอดคลอ้ งกับลกั ษณะนิสยั ตัวละครทกี่ ำหนดให้ ๑๐ คะแนน ๑. ทา้ วกเุ รปนั เปน็ คนถือยศศกั ดิ์ ไม่ไว้หน้าใคร ไม่เกรงใจใคร ตวั อยา่ งบทประพนั ธ์ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………..……………………………………………………… ๒. ทา้ วดาหา เปน็ ผ้รู กั ษาวาจา ตวั อยา่ งบทประพันธ์ ………………………………………………………….………………………………………………………… …………………………………………………………..………………………………………………………… ๓. อเิ หนา เปน็ คนดอ้ื ดงึ เอาแต่ใจตนเอง ตัวอยา่ งบทประพนั ธ์ ………………………………………………………….………………………………………………………… …………………………………………………………..………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. ท้าวกะหมงั กุหนิง เป็นคนรักลกู ยง่ิ ชีวติ ยอมทำทกุ อยา่ งเพอื่ ลูก ตัวอยา่ งบทประพันธ์ ………………………………………………………….………………………………………………………… …………………………………………………………..………………………………………………………… ๕. วิหยาสะกำ เอาแตใ่ จตนเอง จะเอาอะไรต้องได้ ตัวอยา่ งบทประพันธ์ …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………..

ใบความรทู้ ี่ ๖ คุณคา่ เร่อื งอิเหนา คณุ คา่ ดา้ นแนวคดิ และคติชีวติ ๑.สะทอ้ นภาพชวี ิตของบรรพบุรุษ – การแบ่งชนชน้ั วรรณะ เช่นการไมย่ อมไปเกลอื กกลวั้ กบั วงศต์ ระกูลอ่ืนนอกจากวงศ์ เทวาดว้ ยกนั ทำใหเ้ กดิ การแตง่ งานระหวา่ งพน่ี อ้ งสายเลอื ดเดียวกนั – ไม่มีสทิ ธเ์ิ ลอื กคคู่ รองดว้ ยตนเอง ต้องปฏบิ ตั ติ ามความพอใจของผู้ใหญ่ – สภาพความเป็นอย่รู ม่ เยน็ เปน็ สขุ มกี ารละเล่นตา่ ง ๆ มากมาย – มคี วามเชือ่ ทางไสยศาสตร์ เชน่ การแกบ้ น การใชเ้ ครอ่ื งรางของขลัง การดฤู กษ์ ยาม – ดา้ นกุศโลบายการเมอื ง มีการรวบรวมเมืองที่ออ่ นแอกว่าเขา้ มาเปน็ เมอื งบรวิ าร ๒.ความเขา้ ใจธรรมชาติมนุษย์ – ธรรมชาติในเรอื่ งความรักของคนวัยหนุ่มสาว มักขาดความย้งั คิด เอาแตใ่ จตนเอง เปน็ ใหญ่ ไมค่ ำนงึ ถึงความทุกขใ์ จของพอ่ แม่ – ธรรมชาตขิ องอารมณ์โกรธ มกั ทำให้ววู่ ามตัดสินใจผดิ พลาดอนั จะกอ่ ให้เกิดปัญหา ตามมาภายหลงั ได้ อเิ หนาเป็นวรรณคดที ่ีเปน็ มรดกของชาติท่ีเตม็ ไปดว้ ยความสนุกสนานตามเน้ือเรื่อง ความไพเราะของรสวรรณคดี และสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ ภมู ิปัญญาของบรรพชนทไ่ี ด้ถา่ ยทอด สภาพของสงั คมไทย ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี ความคิด ความเชอ่ื แบบไทย ๆ สอดแทรก ไว้ไดอ้ ย่างมศี ิลป์ ท้งั ยังแฝงดว้ ยขอ้ คิด คติธรรมทีส่ ามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ อกี ดว้ ย ข้อคดิ ทีไ่ ด้จากเรอ่ื งอเิ หนา ๑. การเอาแตใ่ จตนเอง อยากได้อะไรเปน็ ตอ้ งได้ จากในวรรณคดเี รอ่ื งอเิ หนาน้ัน เรา ได้ขอ้ คดิ เกย่ี วกับการเอาแต่ใจตนเอง อยากไดอ้ ะไรเป็นต้องได้ ไม่รู้จกั ระงับความอยากของ ตน หรือพอใจในส่งิ ที่ตนมแี ล้ว ซึ่งการกระทำเชน่ นีท้ ำให้เกิดปัญหามากมายตามมา และคน อ่นื ๆ กพ็ ลอยเดือดรอ้ นไปดว้ ย ดังเชน่ ในตอนทอี่ เิ หนาไดเ้ หน็ นางบุษบาแลว้ เกิดหลงรัก อยาก

ไดม้ าเปน็ มเหสีของตน กระนัน้ แล้ว อิเหนาจงึ หาอบุ ายแย่งชิงนางบษุ บา แมว้ า่ นางจะถกู ยกให้ จรกาแลว้ กต็ าม โดยที่อเิ หนาได้ปลอมเปน็ จรกาไปลักพาตัวบุษบา แล้วพาไปยงั ถำ้ ทองท่ีตนได้ เตรียมไว้ ซ่งึ การกระทำของอิเหนาน้นั เป็นการกระทำทไี่ ม่ถูกต้อง ทำให้ผ้คู นเดอื ดรอ้ นไปทั่ว พิธที เ่ี ตรยี มไว้ก็ตอ้ งล่มเพราะบุษบาหายไป อีกท้งั เมืองยังถูกเผา เกดิ ความเสยี หายเพยี งเพราะ ความเอาแตใ่ จอยากไดบ้ ุษบาของอิเหนาน่นั เอ ๒. การใช้อารมณ์ ในชวี ติ ของมนษุ ยท์ กุ คนนน้ั ยอ่ มตอ้ งประสบพบกับเรื่องท่ีทำให้เรา โมโห หรอื ทำให้อารมณ์ไมด่ ี ซง่ึ เมื่อเปน็ ดงั นั้น เราควรจะต้องรจู้ ักควบคุมตนเอง เพราะเมอื่ เวลาเราโมโห เราจะขาดสตยิ ั้งคิด เราอาจทำอะไรตามใจตวั เองซ่งึ อาจผดิ พลาด และพลอยทำ ใหเ้ กิดปัญหาตามมาอกี ฉะน้ันเราจงึ ตอ้ งรู้จักควบคมุ อารมณต์ นเอง และเมอื่ เรามสี ติแลว้ จงึ จะมาคิดหาวธิ แี กป้ ญั หาตอ่ ไป ซึ่งภายในเร่ืองอเิ หนาเราจะเห็นไดจ้ ากการทที่ า้ วดาหาได้ ประกาศยกบษุ บาใหใ้ ครก็ตามท่มี าสขู่ อ โดยจะยกใหท้ ันที เพราะวา่ ทรงกร้ิวอเิ หนาทีไ่ ม่ยอม กลบั มาแต่งงานกลบั บษุ บาตามทไ่ี ดห้ มน้ั หมายกนั ไว้ การกระทำของทา้ วดาหานี้ไดก้ อ่ ให้เกดิ ปัญหาและความวนุ่ วายหลายอย่างตามมา และทา้ วดาหาน้ันยังกระทำเช่นนี้โดยมไิ ดส้ นใจวา่ บตุ รสาวของตนจะรู้สกึ เชน่ ไร หรอื จะได้รบั ความสุขหรือความทกุ ข์หรือไม่ ๓. การใช้กำลงั ในการแก้ปัญหา โดยปกติแล้ว เวลาที่เรามปี ญั หาเราควรจะใช้เหตผุ ลใน การแกก้ ารปญั หาน้ันซง่ึ ถ้าเราใชก้ ำลังในการแกป้ ัญหานน้ั เปน็ การกระทำทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง ซ่ึงอาจจะทำให้เกิดผลเสยี ตามมา และอาจเป็นการทำให้ผู้อ่นื เดือดรอ้ นไปด้วย ตัวอย่างเชน่ ท้าวกะหมังกหุ นงิ ทไ่ี ดส้ ง่ สารมาส่ขู อบษุ บาให้กบั วหิ ยาสะกำบตุ รของตน เมื่อทราบเรื่องจาก ทา้ วดาหาวา่ ได้ยกบุษบาให้กับจรกาไปแล้วกย็ กทพั จะมาตเี มอื งดาหาเพอ่ื แย่งชิงบษุ บา ซึ่งการกระทำทีใ่ ช้กำลังเข้าแกป้ ัญหานกี้ ใ็ หเ้ กดิ ผลเสยี หลายประการ ท้งั ทหารท่ีตอ้ งมาตอ่ สู้ แล้วพากนั ล้มตายเป็นจำนวนมาก สูญเสยี บตุ รชาย และในทา้ ยทสี่ ดุ ตนก็มาเสยี ชวี ิต เพยี ง เพราะตอ้ งการบษุ บามาใหบ้ ุตรของตน ๔. การไม่รจู้ กั ประมาณตนเอง เราทกุ คนเมอ่ื เกดิ มาแลว้ ยอ่ มมีในส่งิ ทแี่ ตกต่างกนั เรา ก็ควรร้จู ักประมาณตนเองบา้ ง พอใจในส่งิ ทตี่ นมี เราควรเอาใจเขามาใสใ่ จเรา คำนงึ ถงึ ความรสู้ กึ ของคนอน่ื ด้วย ถา้ เรารู้จกั ประมาณตนเองกจ็ ะทำใหเ้ ราสามารถใช้ชีวติ ได้อยา่ งมี ความสุข ซึ่งถา้ เราไม่รูจ้ กั ประมาณตนเอง กอ็ าจทำใหเ้ ราไมม่ ีความสขุ เพราะไมเ่ คยสมหวังใน

ชีวติ เช่นกับ จรกาทเ่ี กดิ มารูปชัว่ ตัวดำ อปั ลกั ษณ์ จรกาน้ันไมร่ จู้ กั ประมาณตนเอง ใฝส่ ูง อยากไดค้ ู่ครองทสี่ วยโสภา ซงึ่ ก็คือบษุ บา เม่อื จรกามาขอบษุ บา กไ็ มไ่ ด้มใี ครท่เี หน็ ดีด้วยเลย ในทา้ ยทสี่ ดุ จรกาก็ตอ้ งผดิ หวัง เพราะอเิ หนาเปน็ บคุ คลทเี่ หมาะสมกับบษุ บาไมใ่ ช่จรกา ๕. การทำอะไรโดยไม่ยงั้ คิดหรอื คำนึงถงึ ผลทจ่ี ะตามมา การจะทำอะไรลงไป เราควร จะคดิ ทบทวนหรอื ชง่ั ใจเสียก่อนวา่ เป็นการกระทำทีถ่ กู ตอ้ งหรอื ไม่ ทำแลว้ เกิดผลอะไรบ้าง เม่อื เรารู้จักคิดทบทวนกอ่ นจะกระทำอะไรนั้น จะทำให้เราสามารถลดการเกดิ ปญั หาที่อาจจะ เกดิ ข้นึ หรือสามารถแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กดิ ขึ้นได้ทนั ท่วงที จากเร่ืองอเิ หนาในตอนท่อี เิ หนาไดไ้ ป รว่ มพิธศี พของพระอัยกแี ทนพระมารดาท่ีเมอื งหมนั หยา หลงั จากทอ่ี เิ หนาได้พบกับจินตะหรา วาตี ก็หลงรกั มากจนเปน็ ทุกข์ ไมย่ อมกลบั บ้านเมอื งของตน ไมส่ นใจพระบดิ าและพระมารดา ไมส่ นใจว่าตนนั้นมคี หู่ มนั้ อยแู่ ล้ว ซ่ึงมิไดค้ ำนงึ ถงึ ผลทีจ่ ะตามมาจากปัญหาที่ตนไดก้ อ่ ขน้ึ คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ การใชค้ ำและโวหาร เรอ่ื งอิเหนา ตอนศึกกะหมงั กหุ นงิ มกี ารใช้ ภาษาทสี่ ละสลวยใหอ้ ารมณอ์ ันลกึ ซ้งึ กนิ ใจ อีกทั้งมีโวหารเปรยี บเทียบใหเ้ ห็นภาพพจนใ์ ห้เกิด ความรูส้ ึกสะเทอื นอารมณ์ ทีส่ ำคญั ยงั แฝงดว้ ยข้อคิดท่ีมคี ุณคา่ ย่ิงอกี มากมาย ดงั น้ี การใช้ ภาษาสละสลวยงดงาม มีการเลน่ คำ เล่นสมั ผสั พยญั ชนะเพ่อื ใหเ้ กดิ ความไพเราะ เชน่ ตอน อเิ หนาชมดง ว่าพลางทางชมคณานก โผนผกจบั ไมอ้ ึงมี่ เบญจวรรณจบั วัลย์ชาลี เหมือนวันพไี่ กลสามสุดามา นางนวลจับนางนวลนอน เหมอื นพ่แี นบนวลสมรจนิ ตะหรา จากพรากจบั จากจำนรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี การใช้โวหารเปรียบเทียบคอื โวหารอปุ มาเปน็ การสรา้ งอารมณใ์ ห้กับผอู้ า่ นกวีเปรยี บได้ชัดเจน เชน่ กรงุ กษตั รยิ ข์ อขึน้ กน็ บั ร้อย เราเปน็ เมอื งนอ้ ยกระจหิ ริด ดังหิ่งหอ้ ยจะแข่งแสงอาทติ ย์ เห็นผดิ ระบอบบุราณมา ปาหยงั กบั ปะหมันประเมินกำลงั ฝา่ ยตนวา่ เป็นเพียงเมอื งเล็ก ๆ เทา่ นน้ั คงสวู้ งศเ์ ทวาไมไ่ ด้ จงึ ไม่ควรสเู้ ปน็ การเตอื นสติให้หยดุ คิดแตก่ ไ็ ม่ไดผ้ ลปญั หาใหญ่จงึ ตามมาหรือจากคำครำ่ ครวญของจนิ ตะหราทีเ่ ปรยี บความรักเหมอื นสายน้ำไหลทไี่ หลไปแลว้ จะไมม่ วี ันยอ้ นกลับ

ทีม่ าของสำนวน \"ความรักเหมอื นสายน้ำไมม่ วี นั ไหลยอ้ นกลบั \" คำครำ่ ครวญของจนิ ตะหรา เป็นเพราะเกดิ ความไมม่ นั่ ใจในฐานะของตนเอง เกดิ ความร้กู ขึ้นมาวา่ ตนอาจตอ้ งสญู เสียคน รัก เพราะข่าวการแย่งบุษบาแสดงว่าบษุ บาต้องสวยมาก อกี ทง้ั ยงั เปน็ คูห่ มัน้ ของอิเหนามา ก่อน ยิง่ ทำใหร้ ้สู กึ หวาดหวั่น ดงั คำประพนั ธท์ ีอ่านแล้วจะเกดิ อารมณส์ ะเทอื นใจ สงสาร และเห็นใจว่า แลว้ วา่ อนจิ จาความรกั พึ่งประจกั ษ์ดง่ั สายนำ้ ไหล ตง้ั แตจ่ ะเช่ียวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา สตรใี ดในพิภพจบแดน ไมม่ ใี ครไดแ้ ค้นเหมือนนอกขา้ ดว้ ยใฝ่รักให้เกิดพักตรา จะมีแต่เวทนาเปน็ เนอื งนิตย์ คุณค่าดา้ นสังคม ประเพณีและความเช่อื แมบ้ ทละครเร่อื งอเิ หนาจะมที ่ีมาจากชวาแตร่ ชั กาล ท่ี ๒ ทรงดดั แปลงแกไ้ ขใหเ้ ข้ากบั ธรรมเนยี มประเพณีของบา้ นเมอื งของไทยเราจงึ สามารถหา ความรู้เรอื่ งเหลา่ นจ้ี ากวรรณคดเี รื่องอเิ หนาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งซึ่งปรากฏอยหู่ ลายตอน เชน่ ตอนท้าวดาหาเสดจ็ ออกรับทูตเมอื งกะหมงั กหุ นิง \"เม่อื น้นั พระองคท์ รงพิภพดาหา ครั้นสรุ ยิ ์ฉายบา่ ยสามนาฬิกา กโ็ สรจสรงคงคาอา่ องค์ ทรงเครือ่ งประดบั สรรเสรจ็ แล้วเสด็จยา่ งเย้อื งยูรหงส์ ออกยงั พระโรงคลั บรรจง น่งั ลงบนบัลลงั ก์รูจี ยาสาบังคมบรมนาถ เบิกทูตถือราชสารศรี จึงดำรสั ตรสั สงั่ ไปทันที ใหเ้ สนีนำแขกเมืองมา นอกจากนีย้ ังสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความเชอ่ื เรอ่ื งโชคชะตาการเชือ่ เรือ่ งคำทำนายดังทที่ ้าว กะหมังกหุ นงิ ให้โหรมาทำนายกอ่ นจะยกทพั ไปเมอื งดาหา โหรกท็ ำนายว่า บัดนน้ั พระโหราราชครผู ู้ใหญ่ รับรสพจนารถภูวไนย คลี่ตำรับขบั ไล่ไปมา เทยี บดูดวงชะตาพระทรงยศ กบั โอรสถงึ ฆาตชนั ษา ทั้งชน้ั โชคโยคยามยาตรา พระเคราะหข์ ัดฤกษ์พาสารพนั จงึ ทูลวา่ ถา้ ยกวนั พรุ่งน้ี จะเสยี ชัยไพรเี ป็นแมน่ มัน่

งดอยู่อยา่ เสดจ็ สกั เจ็ดวนั ถ้าพ้นนนั้ กเ็ หน็ ไมเ่ ป็นไร แม้ตอนทอี่ เิ หนาจะยกทพั ไปชว่ ยเมอื งดาหาก็ต้องดฤู กษ์ยาม มกี ารทำพธิ ีตัดไมข้ ม่ นามหรอื พิธี ฟนั ไมข้ ม่ นาม โดยนำเอาตน้ ไมท้ ่ีมชี ือ่ รว่ มตวั อกั ษรกบั ชอ่ื ฝ่ายข้าศกึ มาฟนั ให้ขาดประหนึง่ ว่า ได้ฟนั ขา้ ศึก และยงั มพี ิธเี บกิ โขลนทวาร ซง่ึ ทำพธิ ีตามตำราพราหมณ์ โดยทำเปน็ ประตสู ะ ด้วยใบไม้สองขา้ งประตมู ีพราหมณน์ ่ังประพรมนำ้ มนต์ใหท้ หารที่เดินลอดประตูท้งั ๒ พธิ นี ้ที ำ เพอื่ ความเปน็ สริ มิ งคล และสรา้ งขวญั กำลงั ใจใหท้ หาร ดังคำประพันธต์ ่อไปน้ี \"พอได้ศภุ กฤกษ์ก็ล่นั ฆอ้ ง ประโคมคึกกึกกอ้ งทอ้ งสนาม ประโรหิตตดั ไม้ขม่ นาม ทำตามตำราพิชยั ยทุ ธ์ ........................................... ชพี อ่ ก็เบิกโขลนทวาร โอมอ่านอาคมคาถา เสด็จทรงช้างทีน่ ง่ั หลังคา คลาเคลอื่ นโยธาทุกหมวดกอง

ใบงานที่ ๖ วิเคราะห์วจิ ารณ์ เร่อื งอเิ หนา คำสงั่ ใหน้ ักเรียนวเิ คราะห์ความงามทางวรรณศิลป์ในประเดน็ ทีกำหนดให้ จากแบบเรยี น วรรณคดีวิจักษ์ ๑๐ คะแนน ๑.การเล่นคำพ้องเสยี ง ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… ……………………………………………………..……………………………………………………………………….. คำอธิบาย ………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………..………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒.ภาพพจนอ์ ปุ มา ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… ……………………………………………………..………………………………………………………………………. คำอธบิ าย ………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………..………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….

๓.ภาพพจน์บคุ คลวัต ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………………………………………………………………. คำอธบิ าย ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… ๔.รสวรรณคดี (เสารวรจนี) ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… ……………………………………………………..………………………………………………………………………. คำอธบิ าย ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… ๕. รสวรรณคดี (ศลั ปังคพสิ ัย) ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… คำอธิบาย ……………………………………………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………..……………………………………………………………………… ……………………………………………………..……………………………………………………………………….

แบบทดสอบหลงั เรยี น คำสัง่ ให้นักเรยี นเลอื กคำตอบทีถ่ ูกตอ้ ง ๑. ข้อใดมใิ ชล่ กั ษณะของละครใน ก. มรี ะเบยี บแบบแผน ข. ใช้ผู้หญิงแสดงทงั้ หมด ค. เล่นท้ังในวังและนอกวัง ง. เป็นเร่ืองเกย่ี วกบั กษตั รยิ ์ ๒. “ อนั อเิ หนาเอามาทำเป็นคำร้อง สำหรบั งานการฉลองกองกศุ ล ครงั้ กรุงเกา่ เจ้าสตรีเธอนิพนธ์ แต่เร่อื งตน้ ตกหายพลัดพรายไป แต่พระองคท์ รงพภิ พปรารภเล่น ใชร้ ำเต้นแต่งละครคิดกลอนใหม”่ เจ้าสตรแี ละพระองค์ ตามคำประพันธข์ า้ งต้นนี้ หมายถึงใคร ก. เจา้ ฟา้ สังวาล พระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ ข. เจ้าฟ้ากณุ ฑล เจา้ ฟา้ มงกุฎกับเจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศร ค. เจา้ ฟา้ กุณฑล เจา้ ฟา้ มงกุฎกับพระเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศ ง. เจา้ ฟา้ กุณฑล เจ้าฟา้ มงกฎุ กบั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ๓. อเิ หนาตอน \"ศกึ กะหมงั กหุ นงิ \" มมี ลู เหตมุ าจากอะไร ก. ความรัก ข.ความโลภ ค. ความเห็นแกต่ ัว ง.ความใฝส่ ูงเกนิ ศักด์ิ ๔. ตัวละครใด ทีม่ ลี ักษณะการพูดประชดประชนั ก. นางสการะวาตี ข.นางจนิ ตหรา ค. นางมาหยารศั มี ง.ประไหมสหุ รขี องทา้ วกุเรปนั ๔. ท้าวกะหมังกุหนิงในบทเรยี น มคี ุณสมบัติข้อใดเดน่ ชัดที่สดุ ก. ความเปน็ นักปกครอง ข. ความรอบคอบ ค. ความเชย่ี วชาญในการทำศกึ ง. ความรกั ลกู ๕. เหตุใดอิเหนาจงึ ปฏิเสธการแตง่ งานกบั นางบษุ บา ก. คิดว่านางบุษบาไมส่ วย ข. กลวั ทา้ วหมันหยาลงโทษ

ค. ไดน้ างจินตะหราเปน็ ชายาแลว้ ง.นางจินตะหราส่ังใหป้ ฏิเสธการแตง่ งาน ๖. ข้อใดคอื จุดมุ่งหมายสำคัญในการพระราชนิพนธเ์ รอ่ื งอิเหนาในรชั กาลท่ี ๒ ก. เพือ่ ใชเ้ ล่นละคร ข. เพอ่ื ความเพลิดเพลนิ ค. เพอ่ื อนรุ กั ษว์ รรณคดขี องชาติ ง. เพ่ือปรบั ปรงุ พระราชนพิ นธ์อิเหนาในรัชกาลท่ี ๑ ๗. อเิ หนาได้รับการยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรตามข้อใด ก. กลอนนทิ าน ข. กลอนบทละครรำ ค. กลอนบทละครพดู ง. กลอนบทละครรอ้ ง ๘. คำประพนั ธ์ใดไมแ่ สดงความเชื่อทางไสยศาสตร์ ก. ขน้ึ เกยกริ ิณีทีป่ ระทับ ผันพักตรส์ พู่ ายพั ทศิ า ข. พอไดศ้ ภุ ฤกษ์กล็ ่นั ฆ้องประโคมคึกกกึ กอ้ งทอ้ งสนาม ค. ปุโรหติ ฟันไม้ขม่ นาม ทำตามตำรับพิชยั ยทุ ธ์ ง. ชพี ่อก็เบิกโขลนทวาร โอมอา่ นอาคมคาถา ๙.เรอื่ งอิเหนาเขา้ มาประเทศไทยในรัชสมยั ใด ก. สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ข. สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ ค. สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ง. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ๑๐. เคา้ เรือ่ งของอิเหนาได้มาจากไหน ก. ประวัตขิ องชาวมะละกา ข. ประวัตศิ าสตร์ของชาวชวา ค. ประวัตศิ าสตร์ของชาวลังกา ง. ประวัติศาสตร์ของชาวมลายู

เฉลยใบงานที่ ๑ ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนทำเครือ่ งหมาย √ หน้าขอ้ ที่ถูก และทำเครือ่ งหมาย X หน้าข้อท่ีผดิ √ ๑.วรรณคดเี รื่อง อเิ หนา มที ี่มาจากพงศาวดารชวา √ ๒.ดนิ แดนชวาในอดตี คือ ประเทศอนิ โดนีเซยี ในปจั จุบัน X ๓.ประเทศอนิ โดนีเซยี เคยเป็นเมอื งขน้ึ ของฝรั่งเศส X ๔.ตน้ ราชวงศข์ องอิเหนาในพงศาวดารชวา คอื ทา้ วกเุ รปัน X ๕.เรอ่ื งอิเหนา เข้ามาในประเทศไทยตง้ั แตส่ มัยธนบุรี √ ๖.กษตั ริย์ ไอรลังคะ ไดช้ ือ่ วา่ เป็นมหาราชพระองคห์ นงึ่ ในพงศาวดารของชวา X ๗.กษัตริย์ ไอรลงั คะ พ่ายแพต้ ่อกษตั รยิ อ์ ังรกะ √ ๘.ราชวงศ์ของอเิ หนาเจริญรงุ่ เรอื งอยเู่ ปน็ เวลา๒๐๐ปี √ ๙.ดนิ แดนชวาไดร้ ับเอกราชและสถาปนาเป็นประเทศอนิ โดนเี ซยี เมอื่ พ.ศ.๒๔๙๒ √ ๑๐.นทิ านปันหยฉี บับทีต่ รงกับอเิ หนาของไทยนน้ั คือ ฉบบั มาลัตซงึ่ ใชภ้ าษากวี ของ ชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลั ตอนที่ ๒ ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ ๑.เรอื่ งอเิ หนาเขา้ มาในประเทศไทยในรชั สมยั ใด (พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) ๒.นทิ านปันหยี หรือ เรอ่ื งอเิ หนา เผยแพรเ่ ขา้ มาสู่ประเทศไทยไดอ้ ยา่ งไร (นิทานอเิ หนาเปน็ นทิ านจากขวาท่ไี ดร้ บั ความนยิ มอย่างแพร่หลายในมลายูนางกำนัลชาว มลายูนำมาเลา่ ถวายเจ้าฟ้าหญงิ กณุ ฑลและเจ้าฟา้ หญิงมงกุฎ พระราชธิดาของพระเจ้าอยหู่ ัว บรมโกศ เจ้าฟา้ หญงิ ทงั้ สองพระองคจ์ ึงได้แตเ่ รอื่ งนี้ข้นึ ) ๓.ใครเปน็ ผแู้ ต่งเรอ่ื ง อิเหนาเลก็ เมอื่ ครั้งกรงุ ศรอี ยธุ ยา ( เจา้ ฟา้ หญิงมงกฎุ ) ๔. ใครเปน็ ผู้แตง่ กลอนบทละคร เรอ่ื ง ดาหลัง หรอื อเิ หนาใหญ่ เมอ่ื ครัง้ กรุงศรอี ยุธยา เจา้ ฟา้ หญิงกณุ ฑล ๕. เหตุใดบทละครเรอ่ื งดาหลัง หรือ อิเหนาใหญ่ จึงไม่ไดร้ บั ความนยิ มเหมือนกับอเิ หนาเล็ก (เพราะเนอ้ื เรอ่ื งสลบั ซบั ซอ้ น และชอื่ ตัวละครก็จำยาก)

๖.หลังจากเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาคร้ังท่ี ๒ ในปพี .ศ. ๒๓๑๐ ส่งผลกระทบต่อกลอนบทละครเรอ่ื ง อเิ หนาอยา่ งไรบ้าง (ตน้ ฉบับวรรณคดี เรอ่ื งอเิ หนา และ ดาหลงั ของเจา้ ฟา้ หญิงกณุ ฑล และเจา้ ฟา้ หญิงมงกุฎสญู หายไป) ๗.ใครเปน็ ผแู้ ต่ง เรอ่ื ง อเิ หนาคำฉนั ท์ ในสมยั ธนบุรี (หลวงสรวชิ ิต (หน) ภายหลังไดเ้ ปน็ เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ในรัชกาลท่ี๑) ๘.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัยไดท้ รงพระราชนพิ นธ์กลอนบทละครเร่อื ง อเิ หนาข้ึนมาใหม่ดว้ ยสาเหตใุ ด ( เพื่อใชเ้ ล่นละครใน) ๙.พระราชนพิ นธ์กลอนบทละครเรอื่ ง อเิ หนา ของพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ดำเนินเร่อื งตามเคา้ โครงของอิเหนาสำนวนใด ( เจา้ ฟา้ หญงิ มงกฎุ ) ๑๐.กลอนบทละครรำเรอ่ื งอิเหนาพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัยได้รับการ ยกยอ่ งอย่างไร ( ได้รับการยกยอ่ งจากวรรณคดสี โมสรในสมยั รัชกาลที่ ๖ ให้เปน็ ยอดของกลอนบทละครรำ )

เฉลยใบงานท่ี ๒ คำส่ัง ตอนที่ ๑ ใหน้ กั เรียนจับคตู่ วั ละครฝา่ ยชายที่กำหนดให้กับฝา่ ยหญิงให้ถกู ตอ้ ง ๑. บุษบา อิเหนา ๒. ดาหราวาตี ท้าวดาหา ๓. จินดาสา่ หรี ทา้ วหมันหยา ๔. จินตะหรา อเิ หนา ๕. มาหยารศั มี อเิ หนา ๖. นหิ ลาอรตา ท้าวกุเรปนั ๗. สกาหนง่ึ หรดั สุหรานากง ๘. บุษบารากา กะหรดั ตะปาตี ๙. สการะวาตี อเิ หนา ๑๐.วิยะดา สยี ะตรา คำสงั่ ตอนท่ี ๒ ใหน้ ักเรียนเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ ง ๑. ตน้ ตระกลู ของวงศ์อสัญแดหวาคอื ขอ้ ใด ง. องค์ปะตาระกาหลา ๒. เมืองใดไม่ไดอ้ ยูใ่ นวงศ์อสัญแดหวา ค. หมนั หยา ๓. อะไรคอื เหตผุ ลทท่ี ำให้อเิ หนาไดพ้ บกบั นางจนิ ตะหราเป็นครั้งแรกท่เี มอื งหมันหยา ง. ท้าวกเุ รปันให้เป็นตวั แทนนำเครอ่ื งเคารพศพพระอัยกไี ปทเ่ี มอื งหมนั หยา ๔. อเิ หนาปลอมตวั เป็นโจรป่าชือ่ มิสารปันหยี ดว้ ยจุดประสงคใ์ ดเป็นสำคญั ค. ไปหานางจินตะหรา ๕. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ต้อง ง. สังคามาระตาเปน็ น้องชายของนางสะการะวาตี ๖. เหตใุ ดอิเหนาจงึ ปฏิเสธการแต่งงานกับนางบษุ บา ค. ได้นางจนิ ตะหราเป็นชายาแล้ว ๗. ตัวละครใดตา่ งวงศ์จากตวั ละครอื่น ๆ ก. ระตลู า่ สำ ๘. “ ทา้ วดาหาโกรธอเิ หนา เนือ่ งจากอิเหนาปฏเิ สธการอภเิ ษกกบั นางบุษบา และแมจ้ ะ ทราบว่าจรกา

รปู ชวั่ ตวั ดำตำ่ ศักด์แิ ต่เมื่อไดพ้ ล้งั ปากไปแล้วว่าใครมาขอกจ็ ะยกให้จงึ จำใจยกบษุ บาให้ จรกาและกำหนดการอภิเษกภายในสามเดอื น” ข้อใดไมส่ ามรถอนุมานได้จากขอ้ ความ ขา้ งต้น ง. ท้าวดาหาวางแผนให้อิเหนามาชงิ นางบษุ บาจากจรกา ๙. เหตใุ ดรปู วาดของนางบษุ บาทช่ี า่ งวาดนำมาใหจ้ รกาจงึ เหลอื เพยี งรูปเดยี ว ง. องคป์ ะตาระกาหลาบนั ดาลให้รูปภาพหายไปหน่ึงรปู ๑๐. ใครเป็นผู้พบรูปวาดของนางบุษบาทหี่ ายไป ข. วิหยาสะกำ

เฉลยใบงานที่ ๓ ตอนท่ี ๑ ให้นักเรยี นจบั คูข่ อ้ ความใหส้ ัมพนั ธก์ นั โดยนำตวั อกั ษรทีส่ มั พนั ธ์ตวั เลขไปเติม ในชอ่ งวา่ ง (๑๐ คะแนน) ๑. พระนามเดิม ก. ฉมิ ๒. วนั ประสตู ิ ช. ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ๓. พระราชบิดา ฌ.พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก มหาราช ๔. พระราชมารดา ญ.กรมสมเดจ็ พระอมรนิ ทรามาตย์พระบรมราช ชนนีพนั ปีหลวง ๕. วันพระบรมราชาภิเษก ค.๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ๖. พระราชกรณยี กจิ ด้านเศรษฐกจิ ข.การเดินสวน การเดนิ นา ๗. พระราชกรณยี กิจด้านการเมืองการ ปกครอง ฉ.ส่งสมณทูตไปยงั ศรลี งั กา ๘. พระราชกรณยี กิจด้านดา้ นสังคมและ วฒั นธรรม ซ.กฎหมายห้ามซอ้ื ขายสบู ฝ่นิ ๙. พระราชกรณยี กิจดา้ นด้านศลิ ปกรรม จ.เพลงบุหลันลอยเลอื่ น ๑๐.เสดจ็ สวรรรคต ง.๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ตอนท่ี ๒ วดั ความร้ดู า้ นผลงานของผ้แู ตง่ คำส่งั ใหน้ กั เรยี นวงกลมขอ้ ท่ีไมใ่ ช่ผลงานการพระราชนพิ นธ์ของพระบาทสมเด็จพระ พุทธเลศิ หล้านภาลัย (๑๐ คะแนน) ๑. บทละครนอก เรอื่ ง แกว้ หน้ามา้ ลักษณวงศ์ มณพี ิชัย ๒. บทพากยโ์ ขน ตอน นางลอย หนุมานเผากรงุ ลงกา ทศกณั ฐล์ ม้ ๓. บทละครใน เรอ่ื ง อิเหนา ศกนุ ตลา อณุ รทุ ๔. เสภาขุนชา้ งขุนแผน ตอน พลายแก้วเป็นชกู้ บั นางพมิ ขนุ แผนลุแกโ่ ทษ กำเนิดพลายงาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook