1 โครงร่างวิจยั ในชนั้ เรยี นเรื่อง การศกึ ษาพฤตกิ รรมการไมส่ ่งงาน/การบ้านของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ โดย นางณภิ าทิพย์ มลู แกว้ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
2 คานา งานวิจัยเร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/การบ้านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา2561 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยทางการศึกษา (Educational Research) ได้มีการสืบค้นข้อมูลและรวบรวมเก่ียวกับการปรับพฤติกรรมนักเรียนโดยมุ่งที่จะให้นักเรียนมีความสนใจและตั้งในเรียนมากขึน้ ในรายวชิ าประวัติศาสตร์ ผู้วิจัยวงั เป็นอย่างยิ่งว่า งานวจิ ัยเลม่ นี้จะเปน็ ประโยชนแ์ กท่ ่านในการนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน หากมขี อ้ บกพร่องประการใด กข็ ออภยั มา ณ โอกาสน้ี นางณภิ าทิพย์ มูลแกว้
3 สารบัญ หน้าคานา 2สารบญั 3บทท่ี 1 บทนา 4 5 1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 5 2. คาถามการวจิ ัย 5 3. วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 5 4. ขอบเขตการวิจยั 5 5.นิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร 5 6.ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั จากการวิจัย 5 7.กรอบแนวคดิ ของงานวจิ ยั 6บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง 6 1. ความหมายของพฤตกิ รรม 7 2. ความหมายของการบ้าน 7 3. แนวคิดทฤษฏีท่ีเก่ียวข้องกับการบ้าน 8 4. วธิ กี ารเรียนทดี่ หี รอื พฤติกรรมเรียนรู้ที่สง่ เสริมผลสมั ฤทธิ์ในการเรยี น 9 5. งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 11บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการวิจัย 11 11 1.กลุ่มเปา้ หมายงานวิจยั 11 2.เคร่ืองมืองานวจิ ัย 11 3.วิธดี าเนนิ การวิจยั 12 4.การวเิ คราะห์ข้อมลูบทที่ 4 ผลการวิจยับทท่ี 5 บทสรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุป 5.2 อภปิ รายผล 5.3 ข้อเสนอแนะบรรณานกุ รมภาคผนวกประวตั ผิ ้จู ดั ทา
4 บทท่ี 1ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การเรียนการสอนในปัจจุบันจะแบ่งคะแนนออกเป็นสองส่วน คือ คะแนนเก็บก่อนสอบปลายภาค ซ่ึงคิดเป็น 80 เปอร์เซ็นต์ของคะแนนท้ังหมด โดยใน 80 เปอร์เซ็นต์นั้นผู้วิจัยได้เก็บคะแนนโดยการสอบเป็นรายจุดประสงค์และการส่งงานของนกั เรยี น ดังน้ันการทาใบงานและการบ้านส่งครูของนักเรียนจึงเป็นเร่ืองท่ีสาคญั มากในการเรียนการสอนเพราะนอกจากจะมีคะแนนในส่วนของใบงานและการบ้านแล้ว ยังมีผลต่อการเรียนในคาบถัดไปด้วย เน่อื งจากใบงานจะเป็นการประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียนของนักเรียนว่ามีมากน้อยเพยี งใดอีกทั้งยังเป็นการวัดพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนได้อีกทางหน่ึง ถ้าหากนักเรียนไม่ได้ทาใบงานท่ีครูแจกให้นักเรียนก็จะขาดคะแนนเกบ็ ในส่วนนัน้ และครูก็ไม่สามารถประเมนิ ความรู้ความเข้าใจของนักเรียนได้ ในช่วงแรกของการสอน ครูได้ใช้ใบงานและใบความรู้แจกให้กับนักเรียนทุกคนประกอบการสอนในแต่ละชั่วโมง โดยท่ีใบงานและใบความรู้ที่แจกให้นักเรียนเก็บเป็นของตนเอง แต่ใบงานบางเรื่องต้องนามาเรียนต่อในคาบต่อไป ซ่ึงเมื่อถึงช่ัวโมงเรียนในช่ัวโมงต่อไปแล้วนักเรียนไม่ได้นามา เมื่อครูถามถึงสาเหตุ นักเรียนตอบว่า อยู่หอนอน ลืมเอามา หรือทาหายไปแล้วก็มี ครูจึงบอกให้นักเรียนที่ไม่ได้นาใบงานมาในช่ัวโมงนี้ นามาให้ครูดูในช่ัวโมงถัดไป ซึงปรากฏว่ามีนักเรียนเพียงไม่ก่ีคนท่ีนาใบงานมาให้ครูดู เม่ือทาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านไปชว่ งหน่งึ ครูสังเกตได้ว่านักเรยี นที่ไม่ทางานส่งนั้นมีค่อนข้างมาก อาจเปน็ เพราะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงแรกครูให้นักเรียนทางานทุกคร้ังและให้ทาการบ้านเก็บเป็นคะแนนเก็บทุกคร้ังนักเรียนท่ีขาดเรียนในคาบใดคาบหนึ่งไปก็มักจะตามเพื่อนไม่ทันแล้วก็นาไปสู่การไม่ส่งการบ้านในที่สุดหรือนักเรียนบางคนมาโรงเรียนแต่ไม่เคยทางานส่งเลย ซงึ่ สังเกตได้จากสมุดส่งงานหรือใบงานของนักเรียน ครูจึงตั้งข้อสังเกตได้ว่าใบงานใดที่แจกให้นักเรียนทาแล้วส่งท้ายช่ัวโมง จานวนนักเรียนท่ีสง่ งานในครั้งนั้นก็จะมีมาก แต่หากให้เป็นการบ้านก็จะมีนักเรียนทีไ่ ม่ส่งงานหรือส่งงานไม่ตรงตามกาหนดคอ่ นข้างมาก ผู้วิจัยตระหนักถึงความสาคัญพฤติกรรมดังกล่าวจากการท่ีผู้สอนได้สอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ ของนกั เรียนในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบวา่ นักเรยี นสว่ นใหญ่มกั จะส่งงาน / การบา้ นไมต่ รงเวลาทค่ี รผู ู้สอนกาหนดหรือบางคนก็ไม่ส่งงาน / หรือการบ้านเลย ซ่ึงทาให้ครูผู้สอนไม่สามารถวัดความรู้ หรือติดตามความก้าวหน้าของนักเรยี นได้ ซ่ึงในบางรายวชิ าอาจมผี ลต่อคะแนนเก็บของนักเรยี นด้วย ดงั นั้นผู้วจิ ยั ซึ่งในฐานะทีเ่ ปน็ ทัง้ ครูผสู้ อนและครูประจาวิชาเห็นความสาคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ ทาการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เพื่อนามาเป็นข้อมลู ในการแก้ปัญหาของนักเรียนในเรือ่ งการไมส่ ่งงาน / การบ้านตอ่ ไป
52.คาถามการวิจัย ผลการศกึ ษาพฤติกรรมการไม่สง่ งาน/ การบา้ นของนกั เรียนมีผลเป็นอย่างไร3.วัตถปุ ระสงค์การวิจัย เพอ่ื ศึกษาสาเหตขุ องการไมส่ ่งงาน / การบา้ น ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 314.ขอบเขตวิจยั กลมุ่ เป้าหมาย กล่มุ เป้าหมายในการวิจยั ครั้งน้ี คอื นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 14 คนเครื่องมือการวิจยั 1. เคร่อื งมือสาหรับตรวจสอบผลการพันนา คือ แบบสอบถามสาเหตขุ องการไม่สง่ งาน/การบา้ นของผู้เรียน5.นิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 1. การบ้าน หมายถึง งานหรือกิจกรรมท่ีครูมอบหมายให้นักเรียนได้ทานอกเวลาเรียนเพ่ือเป็นการฝึกทักษะค้นควา้ หาความรู้เพม่ิ เติมและใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ 2. งาน หมายถึง แบบฝึกหัดท่ีครูให้ในชั่วโมงเรียน แบบฝึกหัดท่ีครูให้เป็นการบ้าน ใบงานรวมถึงการทางานเป็นกลุม่ และชิ้นงาน 3. ใบงาน หมายถงึ แบบฝึกที่ครใู ห้ทาในชั่วโมงเรยี นหรือใหเ้ ปน็ การบ้าน 4. ใบความรู้ หมายถงึ เน้อื หาในบทเรียนแยกเป็นบท โดยครมู าแจกเมอื่ เขา้ สเู่ น้อื หาในบทเรยี นน้ัน6.ประโยชนท์ ีค่ าดว่า/ไดร้ บั จากงานวิจัย 1. ทราบถึงพฤติกรรมและสาเหตขุ องการไม่ส่งงาน/การบ้านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 2. ไดแ้ นวทางในการแก้ปญั หาการเรยี นการสอน7. ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งน้ีเป็นการสร้างแบบสอบถามเพื่อ ศึกษาพฤติกรรมเร่ืองการไม่ ส่งงาน / การบ้านของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 วชิ าประวัติศาสตร์ โดยใช้ขอ้ ความทีค่ าดว่า จะเป็นสาเหตขุ องการไมส่ ง่ งาน / การบ้านและได้กาหนดขอบเขตของการวจิ ัยดงั นี้ 1. ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 วิชา ประวัติศาสตร์ นักเรียนจานวน 14 คน 2. แบบสอบถามท่ีใช้ในการศึกษา เป็นเป็นแบบสอบถามเพอื่ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 วิชา ประวัติศาสตร์ ในเรอ่ื งการไม่ส่ง งาน / การบา้ น
6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง เพื่อเป็นพ้นื ฐานในงานวจิ ัย เร่อื ง การศกึ ษาพฤตกิ รรมการไมส่ ่งงาน/การบา้ น ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 วชิ าประวัติศาสตร์ ผวู้ จิ ยั จึงศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้องโดยเสนอตามลาดับดงั น้ี 1. ความหมายของพฤติกรรม 2. ความหมายของการบ้าน 3. แนวคิดทฤษฏที เี่ ก่ยี วข้องกับการบา้ น 4. วิธกี ารเรียนทด่ี ีหรือพฤติกรรมเรยี นรูท้ ส่ี ง่ เสรมิ ผลสมั ฤทธ์ิในการเรียน 5. งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้องพฤติกรรม ( Behavior ) พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกริ ิยาหรอื กิจกรรมทกุ ชนดิ ของสิง่ มีชวี ิตแมว้ ่า จะสังเกตไดห้ รือไม่ก็ตาม เช่น คน สัตว์มีนักพฤตกิ รรมศาสตร์บางคนได้ให้ความหมายไว้วา่ พฤตกิ รรมมคี วามหมายกว้างขวาง ครอบคลุมไปถึงพฤติกรรมของสง่ิ ทไ่ี ม่มชี ีวิตดว้ ย เชน่ การไหลของนา้ คล่นื ของน้า ทะเล กระแสลมท่ีพดั การปลิวของฝุ่นละออง การเดือดของนา้เป็นตน้ สิ่งทก่ี ลา่ วมาเปน็ การเคลอ่ื นไหวของสงิ่ ไม่มีชีวิต แต่มี การเปลย่ี นแปลงจากลักษณะหน่ึงไปยังอีกลักษณะหนง่ึเลยถอื วา่ คล้ายๆกบั เป็นปฏิกิริยาหรือเป็น กิจกรรมทปี่ รากฏออกมาจากส่งิ นน้ั จึงนบั ว่า เป็นกจิ กรรมด้วย การศกึ ษาเรื่องพฤตกิ รรมส่วนใหญจ่ ะมุ่งศกึ ษาเฉพาะพฤติกรรมของคนส่วนพฤตกิ รรมของสตั ว์กระทา เป็นบางคร้ังเพ่ือนามาเป็นสว่ นประกอบใหเ้ ข้าใจในพฤติกรรมของคนได้ดยี ิง่ ขน้พฤตกิ รรมภายนอก ( Overt Behavior ) พฤติกรรมภายนอก หมายถึง ปฏิกิริยาของบคุ คลหรือกจิ กรรมของบคุ คลที่ปรากฏออกมาให้ บุคคลอนื่ ได้เห็นทงั้ ทางวาจาและการกระทา ทา่ ทางอนื่ ๆ ทปี่ รากฏออกมาให้เหน็ ไดพ้ ฤตกิ รรมท่ีปรากฏ ออกมาให้เห็นภายนอกนน้ัเป็นสิง่ ที่คนมองเห็นตลอดเวลา เป็นปฏิกิริยา ทีค่ นเราไดแ้ สดงออกมาตลอดเวลา พฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมามีความสาคัญมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิง ถ้าสังคมใดท่ีประเมิน คุณภาพของคนว่าเป็นคนดีมีระเบยี บวินยั สุภาพ ซื่อสตั ย์ ทารณุ เป็นต้น ล้วนแต่ประเมินคณุ ภาพของ พฤติกรรมภายนอกทงั้ สน้ิ ถ้าไม่แสดงออกมาสังคม ก็ไม่ทราบว่าบุคคลนั้น เป็นคนอย่างไร พฤติกรรมท่ีคนแสดงออกมาให้เห็นภายนอกจึงนับว่าเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมชอบตัดสินพฤติกรรมภายนอก ดังน้ันพฤติกรรมท่ีเรา เห็นได้ทราบอาจไม่ใช่พฤติกรรมท่ีแท้จริงของเขา และไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง คือการกระทา ไม่ตรงกับความคิดความรู้สึก บางคนอาจสวมหน้ากากเข้าหากัน หรือแสดงไปตามบทบาทท่ีเขาเป็นบางคร้ัง จึงกาหนดได้ว่าเปน็ เรอื่ งจริง เพราะไมไ่ ด้สะทอ้ นความเปน็ จรงิ ออกมาทัง้ หมดพฤตกิ รรมภายใน ( Covert Behavior ) พฤติกรรมภายใน หมายถึง กิจกรรมภายในที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ซง่ึ สมองทาหน้าที่รวบรวม สะสมและส่ังการซ่ึงเป็นผลจากการกระทา ของระบบประสาทและกระบวนการเปล่ียนแปลงทางด้าน ชีวเคมีของร่างกาย พฤติกรรมภายในมีท้ังรูปธรรมและนามธรรม ท่ีเป็นรูปธรรมคนอื่นจะสังเกตเห็น ไม่ได้แต่จะใช้เคร่ืองมือทางการแพทย์ ทดสอบได้สัมผัสได้ เช่น การเต้นของหัวใจการหดและการ ขยายตัวของกล้ามเนื้อ การบีบของลา ไส้การสูบฉีดโลหิตไปเล้ียงร่างกาย เป็นต้น ที่เป็นนามธรรมได้แก่ ความคิด ความรู้สึก เจตคติความเชื่อ ค่านิยม ซ่ึงจะอยู่ในสมองของคน
7บุคคลภายนอกไม่สามรถจะ มองเห็นได้หรือสัมผัสได้เพราะไม่มีตัวตนและจะทราบว่าเขาคิดย่างไรก็ต่อเมื่อเขาแสดงออกมา เช่น การแสดงอาฆาตมาดร้าย ใช้คาข่มขู่ หรือกระทาที่คิดไว้พฤติกรรมภายในจะมีเหมือนกนั หมดทุกวัยไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ เพศชาย เพศหญิง หรือต่างเชื้อชาติส่วนท่ีจะแตกต่างกันจะอยู่ จานวน ปริมาณ หรือคุณภาพเท่าน้ันพฤติกรรมภายในมีความสาคญั ต่อคน เป็นคณุ สมบัติทที่ าให้คนเหนือกว่าสัตว์คนมีแนวคดิ ทีม่ ี ระบบและคาดการณ์ในสิ่งตา่ งๆ ในอนาคตได้พฤตกิ รรมภายในของคนมคี วามสมั พนั ธ์กับพฤติกรรม ภายนอกที่แสดงออกมา บางสถานการณ์ก็ไม่อาจสอดคล้องกันได้เช่น บางครั้งไม่พอใจในการกระทา ของผู้อ่ืนก็อาจจะทาเฉยเพราะไม่กล้าต่อว่าหรือทาร้ายเข้าเพราถ้ากระทาอะไรลงไปอาจทาให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันข้ึนได้ มนุษย์จะแสดงพฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอกต้ังแต่เกิดจนตาย พฤติกรรมท่ีแสดง ออกมาอาจเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการเล้ียงดูและอบรมจากครอบครัวหรือในทางตรงกันข้ามอาจสืบ เนอื่ งมาจากการขาดการเล้ียงดูและอบรมจากครอบครัวหรือในทางตรงกันข้ามอาจสืบเนอ่ื งมาจากการขาด การเลยี้ งดูอบรมจากครอบครัว จึงทาใหม้ ีปญั หา ในแตล่ ะช่วงของชวี ติ จะมีพนั นาการปรบั เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปบ้างโดยเฉพาะอย่างย่ิง ต้องปรับพฤติกรรมให้เข้ากับขนบธรรมเนียมประเพณีและวันนธรรมของชุมชนน้ันๆ ร่วมทั้งการ เปลี่ยนแปลงของสังคมในทุกๆด้าน เม่ือขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นต้นการกการกาหนดพฤติกรรมของคนจึงทา ให้ ตนเปล่ยี นพฤติกรรมไดย้ าก เช่น บางชมุ ชนมพี ฤตกิ รรมการรับประทานอาหารสกุ ๆ ดบิ ๆ เปน็ ตน้ ความหมายของการบา้ น กดู๊ ( Good , 2008: 224 ) กล่าวว่า การบ้าน หมายถึง งานทีค่ รูมอบหมายให้นักเรยี นกลบั ไปทาที่บ้าน เพ่ือทบทวนความรทู้ ี่เรยี นไปแลว้ และเป็นการฝึกทักษะ การใช้กฎ หรือสตู รต่างๆท่ีเรยี นไปแล้ว ไพโรจน์ โตเทศ ( 25 53 : 9 - 12 ) กลา่ วถึงการบ้านไว้ว่า การบ้านเป็นงานทค่ี รผู ู้สอนมอบหมายให้นักเรียนไปทาท่ีบ้าน เพ่ือเป็นการทบทวนความรู้ที่นักเรียนได้เรียนไปแล้วจากประการหนึ่ง อีกประการหน่ึง เป็นการให้งานท่ีม่งุ วางพ้นื ฐานในการเรียนต่อไป เพอ่ื ความเขา้ ใจตรงกนั หรือความงา่ ยตอ่ การสอนในเนือ้ หาวิชาต่อไป จินตนา ใบกาซูยี ( 2551 : 40 ) กล่าวถึงการบ้านไว้ว่า หมายถึง ส่ิงจาเป็นที่เด็กทุกชั้นจะต้องปฏิบัติ ทาให้เด็กรู้นกั วินัย รู้จักควบคุมตนเอง มีความรับผิดชอบต่อตนเอง แบง่ เวลาเปน็ และรู้จกั เรยี นดว้ ยตนเอง กระทรวงศึกษาธิการ ( 25 51 : 2 ) กล่าวถึงการบ้านไว้ว่า การบ้าน หมายถึง กิจกรรมที่ครูมอบหมายให้นกั เรียนทานอกเวลาเรียน ตามข้อกาหนดท่ีตกลงร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียนหรืออาจเป็นกิจกรรมที่นกั เรียนคิดข้ึนเองโดยความเหน็ ชอบครู จากความหมายขา้ งตน้ พอสรุปได้ว่า การบ้านหมายถึง งานหรือกจิ กรรมท่ีครูมอบหมายให้นกั เรยี นไดท้ านอกเวลาเรยี นเพือ่ เปน็ การฝึกทกั ษะ คน้ คว้าหาความร้เู พ่ิมเติมและใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์แนวคิดทฤษฏที เ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การบา้ น วตั ถุประสงคข์ องการบา้ นสแตรง (Strang , 2007 อา้ งถึงใน สุขดี ตัง้ ทรงสวัสด์ิ 2550:9) กล่าวถงึ วตั ถุประสงค์ของการ มอบหมายการบ้าน ไว้ดังนี้
8 1. เพ่ือช่วยกระตนุ้ ให้นักเรยี นมีความพยายาม ความคิดริเรม่ิ ความเปน็ อสิ ระ มีโอกาสใชค้ วามคิดของ ตนเอง 2. สง่ เสรมิ ให้นักเรียนใชเ้ วลาว่างจากการเรยี นในโรงเรยี นให้เป็นประโยชน์ 3. เพื่อเพิม่ พูประสบการณ์ท่ีไดร้ ับจากโรงเรยี นโดยทากิจกรรม 4. สนบั สนนุ การเรยี นรู้ โดยมกี ารเตรียมตวั ฝึกปฏิบตั ิ กระทรวงศึกษาธิการ ( 2552 : 3 ) ไดก้ ลา่ วถงึ วัตถปุ ระสงค์ของการบา้ นไวด้ งั น้ี 1. เพือ่ เพมิ่ ทกั ษะและประสบการณจ์ ากส่ิงท่ีได้เรยี นรมู้ าแลว้ 2. เพอื่ ใหร้ จู้ ักศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 3. เพอื่ ใหร้ จู้ ักตนเองเกี่ยวกบั ความถนัด ความสามารถ ความสนใจและข้อบกพร่องในการเรียนรวชิ าน้ัน 4. เพ่อื ให้เกดิ ความเช่ือม่นั ในส่งิ ทเ่ี รียนรแู้ ละทาให้กลา้ ตัดสินใจ 5. เพ่อื มวี ินยั รกั ในการทางาน มีความรบั ผดิ ชอบและรูจ้ ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 6. เพอ่ื ปลูกฝังคณุ ธรรม รจู้ กั เสียสละ ชว่ ยเหลอื สังคมและทางานเป็นหมคู่ ณะได้ ประเภทของการบา้ นซลั ลแิ วน และซีคิวรา ไดเ้ สนอรปู แบบการบ้านได้ 4 ประเภทดังนี้Sullivan and sequeira. 2008. Homework tips for Teacher. [ 5 กุมภาพนั ธ์ 2553] 1. ประเภทแบบฝกึ หดั (practice) เป็นการทาซ้าและเป็นการฝกึ ฝนซึ่งจะเปน็ การเสรมิ แรงให้กับการเรียนรตู้ ่อ เนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็นการเพม่ิ ความเรว็ และความเชย่ี วชาญของทกั ษะเฉพาะดา้ น 2. ประเภทเตรยี มความพร้อม (preparation) มผี ลการเรียนรูข้ องการทางานและกระตุ้นให้ นักเรยี นรวบรวม ข้อมูลของบทเรียน ซึ่งเขาจาเปน็ จะต้องเตรยี มพรอ้ มในชนั้ เรียนต่อไป 3. ประเภทเสริมบทเรียน (Extension) อนุญาตให้นักเรียนได้ขยายความรูท้ ี่มีตอ่ เนื้อหาหรือ ประยกุ ตท์ ักษะการ เรยี นในการทางานใหม่ 4. งานประดิษฐ์ (Creative)อนญุ าตให้นักเรยี นรว่ มกลุ่มเพ่ือสร้างความคิดดง้ั เดมิ หรือคดิ งานใหม่ 5. ลกั ษณะขอการบ้าน การบ้านเปน็ ส่วนหน่ึงของกิจกรรมการเรยี นการสอน ซ่งึ จะมอี ทิ ธิพลตอ่ การเรียนรูแ้ ละทัศนคตขิ อง ผู้เรียนเปน็ อย่างย่ิง ดังนนั้ จึงเป็นหน้าทีข่ องครูในการจดั การบา้ นทด่ี ใี ห้แก่นกั เรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ (2553 : 5-6) ได้กลา่ วถึงคุณลักษณะท่ดี ีของการบ้านไว้ดังน้ี 1. ตรงตามหลกั การ จุดหมายและจดุ ประสงค์ของกลักสตู ร 2. สัมพันธ์และสอดคล้องกับจุดประสงค์รายวิชาและแผนการสอน 3. ชดั เจน ไม่มากและยากเกนิ ไป สอดคล้องกับสภาพชีวติ และความเป็นอยู่ของนักเรียน 4. ยัว่ ยแุ ละทา้ ทายความถนดั ความสามารถ และความสนใจของนกั เรียน 5. ส่งเสรมิ และพันนาการ ด้านการรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของนักเรยี น 6. ใชเ้ วลาพอเหมาะกบั วัยและความสามารถของนักเรียน หลักการสาคัญในการมอบหมายการบ้าน ฟลิ ิป และแดเนยี ล (Philip and Daniel, 2009: 55 - 57 ) ไดเ้ สนอหลักการมอบหมายการา้ น ไว้ ดังนี้ 1. ควรให้การบา้ นเป็นประจา ไม่ใช่ให้บางครงั้ บางคราว และควรกาหนดสง่ ตามเวลา
9 2. ควรให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหวา่ งบุคคลวตั ถุประสงค์ของและจดุ มุง่ หมาย ของครู นกั เรียนเก่งควรใหก้ ารบา้ นประเภทศึกษาสารานุกรม แล้วนามาสนทนาในห้องเรียน นักเรียน ออ่ นควรใหก้ ารบา้ นท่ีเป็นการฝึกฝนและเพ่ิมพนู เนื้อหาความรใู้ นบทเรียน 3. ควรใหก้ ารบ้านทส่ี ง่ เสรมิ สัมพันธภาพทดี่ ีระหว่างบา้ นกบั โรงเรียน 4. ไม่ควรเปน็ งานซับซอ้ นหรือเป็นงานท่ีครยู ัดเยียดให้นกั เรียน เพราะอาจจะทาใหส้ ิ่งท่ีตนไม่ เข้าใจ ซ่ึงมีผลเสยี อย่างมากสาหรับนักเรียนที่ออ่ นอ้อม ประนอม (2552 อ้างถึงใน สุขดี ต้ังทรงสวัสด์,ิ 2552:13) ได้เสนอหลักการในการมอบหมายการบ้านดงั นี้ 1. ครใู หก้ ารบา้ นเมือ่ นักเรียนเข้าใจบทเรียนดแี ลว้ 2. แบบฝึกหัดทใี่ ห้การบา้ นนน้ั ควรมคี วามยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนและเหมาะสมกับ เวลาทท่ี า 3. การบ้านต้องไม่สมา่ เสมอและติดตามผลอยา่ งใกล้ชดิ 4. ครูควรมสี มดุ บันทึกการบ้านเปน็ การตระเตรยี มบทเรียนท่ีจาใหก้ ารบ้านทเ่ี หมาะสมยิ่งขึน้ หลักในการให้การบ้านได้ประมวลจากแนวคิดของนกั การศึกษาหลายท่าที่มีความสอดคล้องกนั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2552:6)สรุปได้ดังน้ี 1. ต้องจัดใหส้ มั พนั ธ์สอดคล้องกับรายวชิ า กลุ่มวิชา และแผนการเรยี นการสอน 2. ตอ้ งเปิดโอกาสให้นักเรยี นได้ศึกษา ค้นควา้ และแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง 3. ตอ้ งจดั ให้สอดคล้องกับความแตกตา่ งของนกั เรียนแตล่ ะคน มีความยากง่ายและปริมาณพอเหมาะกับ ความสามารถและเวลามากเกินไป 4. ต้องไมเ่ พ่ิมภาระใหผ้ ู้ปกครองมากเกินไป 5. ต้องเป็นการสรา้ งความร่วมมือและความเขา้ ใจอันดรี ะหว่างโรงเรียนกบั บา้ น 6. ต้องสอดคลอ้ งกับสภาพการดาเนนิ ชีวิตของนกั เรียนและชุมชน 7. ควรสอนความสามารถเบื้องต้นท่ีเดก็ จาเป็นต้องใช้ในการทาการบ้าน เพราะเม่ือนักเรยี นทาการบ้านถกู จะก่อใหเ้ กิดความชนื่ ชมตนเอง ครูควรใหก้ ารบานทช่ี ่วยใหก้ าลังใจแกน่ ักเรียนมากกวา่ เป็นการฉุดรงั้ ให้ เกิดความลม้ เหลว ในการเรยี น 8. ควรให้อยา่ งสม่าเสมอ ให้แตน่ ้อยๆ และบ่อยๆ อยา่ งต่อเนือ่ ง การทาทุกครั้งใหเ้ ดก็ ประสบความสาเร็จ เสมอ คือทาแลว้ ไดเ้ รอ่ื งหมายถูกมากกวา่ ผิด เพราะถือว่าการฝึกฝนในปรมิ าณทพ่ี อดีกับเวลากอ่ ใหเ้ กดิ ผลดี การฝกึ มากเกินไปจะให้ผลเสยี มากกว่า เพราะจะทาใหน้ ักเรียนเบ่อื หนา่ ย หลกี เลยี่ งหรอื ทาแบบขอ ไปที 9. ให้การบ้านหลายๆแบบ เพราะคนเราชอบความแปลกใหม่ จึงไม่ควรให้การบา้ นลักษณะเดียวกันตลอดปี 10. เมือ่ ให้การบ้านแลว้ ครูต้องกาหนดวันส่ง พร้อมท้ังจะต้องตรวจการบา้ นและติดตามผลอย่างใกลช้ ดิ ว่า นกั เรยี นยังบกพรอ่ งในเรอ่ื งใด ตรงไหนควรช่วยเหลือเปน็ รายบุคลหรือช่วยเป็นกลุ่ม
10ประโยชนข์ องการบา้ นการบา้ นมปี ระโยชน์หลายประการดงั นี้ คอื (กระทรวงศึกษาธิการ,2553:9)ก. ต่อนกั เรียน1. ไดพ้ นั นาแนวคิดอย่างต่อเนอื่ งและสม่าเสมอ2. ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ ด้วนตนเอง ซ่งึ เปน็ ปัจจยั สาคญั ท่ชี ่วยให้เดก็ เชื่อมนั่ ในความสามารถของตนเอง ปลูกนสิ ัยให้รักเด็กและพยายามค้นคว้าหาความรูแ้ ละความก้าวหนา้ มาสู่ตนเอง3. ไดส้ ารวจและพันนาตนเองในด้านความรู้ ความถนดั ความสามารถ และความสนใจ4. ใช้เวลาใหเ้ กิดประโยชน์ซ่งึ เป็นการสรา้ งนสิ ัยที่ดใี ห้กับนกั เรียน5. ปลกู ฝังความมีระเบยี บ ความรับผดิ ชอบและความเสียสละรู้จกั แบ่งเวลาเพ่อื พันนาตนเอง รู้วา่ เวลาไหนควรทาอะไร ลาดับกิจกรรมก่อนหลงั วางแผนงานเป็นไปในแตล่ ะวันข. ต่อผปู้ กครอง1. ลดความวิตกกงั วลในเรื่องความประพฤติของบุตรหลาน2. ทราบพนั นาการและข้อบกพรอ่ งทางการเรียนของบตุ รหลาน3. เกดิ ความสัมพันธ์ทด่ี ี ระหว่างผู้ปกครอง ครแู ละนักเรียนค.ต่อครผู สู้ อน1. ช่วยเสริมให้แผนการสอนของครูเป็นระบบและครบถ้วน2. เปน็ เคร่อื งมือชว่ ยจาแนกความแตกต่างของนกั เรียนเพ่ือกาหนดวิธสี อนใหเ้ หมาะสมนักเรยี น3. ทราบผลการเรียนรู้ของนักเรยี นไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง
11 บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินการวิจัยงานวจิ ยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ดาเนินการตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี1. กลมุ่ เป้าหมาย ประชากรทใี่ ช้ในการวจิ ัยครงั้ นเี้ ป็นนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาประวัติศาสตร์ จานวน 14 คน2. เครือ่ งมือการวิจัย 2.1 แบบสอบถาม3.วิธดี าเนินการวจิ ยั 1.ขัน้ วเิ คราะห์ (Analysis) 1.การวิเคราะหข์ อ้ มลู พืน้ ฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กาหนด ไวด้ ังน้ีประชากร คอื นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วชิ าประวตั ศิ าสตร์ จานวน 14 คน 2. วเิ คราะหส์ าเหตขุ องการไมส่ ่งงาน/การบา้ นของนักเรียน โดยการหาคา่ รอ้ ยละ 2.ขนั้ ออกแบบ(Design) ผวู้ จิ ัยดาเนินการสร้างแบบสอบถามเพื่อวัดพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/ การบ้านตามกาหนดโดยมีลาดบัขน้ั ตอนการสรา้ งดังนี้ 1. ศึกษาเทคนิคการสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารต่างๆ 2. สรา้ งแบบสอบถามเพ่ือวดั พฤตกิ รรมของนกั เรยี นเพื่อหาสาเหตใุ นการไม่สง่ งาน /การบา้ น ตาม กาหนดของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โดยให้นักเรยี นใส่หมายเลขลาดับสามเหตุของการ ไมส่ ่งงานจากลาดบั มากทีส่ ดุ ไปจนถงึ น้อยทส่ี ุด 3. ขน้ั ดาเนนิ การ ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ผู้วจิ ัยไดม้ ีการดาเนนิ การดงั นี้ 1.นาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่สง่ งาน/ การบา้ นตามกาหนดของนกั เรียนช้นัประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 14 คน เพื่อหาสาเหตขุ องการไมส่ ่งงาน / การบ้าน ตามกาหนด และทาการบันทึกคะแนน 2.ดาเนินการหาคา่ ร้อยละของแต่ละข้อสาเหตุ 4. ขน้ั วิเคราะห์ข้อมูล 1. วเิ คราะห์ขอ้ มูลผลจากคะแนนที่ได้จากการทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรม 2.สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล การหาคา่ ร้อยละ คา่ ร้อยละ = X x 100 N เม่อื X = คะแนนทไี่ ด้ N = จานวนนักเรียนท้งั หมด
12 บทท่ี 4ผลการวิจยั
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: