Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรา 17

มาตรา 17

Published by Rumthai Press, 2022-11-08 04:52:02

Description: กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

Search

Read the Text Version

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ค�ำน�ำ รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านความรุนแรงในครอบครัว ส�าหรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผู้ถูกกระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจา� ป ี 2564 ซ่งึ จัดทา� โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นรายงานฉบับท่ี 13 มีข้อมูลท่ีรวบรวมจาก หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมทง้ั ขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ จากพนื้ ท ี่ และขอ้ มลู ภายใตเ้ วบ็ ไซต ์ www.violence.in.th แมข้ อ้ มลู จะมาจากหลายแหลง่ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ตามภารกจิ ของแตล่ ะหนว่ ยงาน อาจมคี วามแตกตา่ งกนั ไป ขึน้ อย่กู บั ฐานข้อมูล กลุม่ เป้าหมาย ระยะเวลาการจดั เก็บ และปัจจัยอนื่ ๆ แตก่ แ็ สดงใหเ้ ห็นถึงแนวโน้มของ สถานการณค์ วามรุนแรงในครอบครวั ในแต่ละปี รายงานฉบับนี้ จัดท�าขึ้นในช่วงท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีนโยบาย และให้ความส�าคัญกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว ซ่ึงกระทรวงฯ ได้ด�าเนินการขับเคล่ือนท้ังงานนโยบายและงานปฏิบัติเพ่ือคุ้มครองช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย ดงั กล่าว นอกจากนี ้ ไดม้ กี ารพัฒนากระบวนการท�างาน และระบบขอ้ มูลการใหค้ วามช่วยเหลือผถู้ ูกกระท�า ด้วยความรุนแรงในครอบครัวอีกด้วย ซึ่งการปรับปรุงเชิงโครงสร้าง ระบบงาน และการมีนโยบายท่ีชัดเจน จะเออื้ ตอ่ การเสรมิ สรา้ งมาตรการ กลไก การปฏบิ ตั งิ านทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และระบบฐานขอ้ มลู ทม่ี งุ่ เนน้ การบรู ณาการ กับภาคีเครือข่ายมากย่ิงข้ึน เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ถูกกระท�าด้วย ความรนุ แรงในครอบครัว หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ รายงานฉบบั นจี้ ะชว่ ยสนบั สนนุ การทา� งานของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในทกุ ระดบั สามารถใช้อ้างอิงหรือเป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจ น�าไปสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาได้ครอบคลุม ตรงตามความตอ้ งการและความจา� เปน็ ของพน้ื ทห่ี รอื หนว่ ยงานในการลดความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตร ี และบคุ คล ในครอบครัว รวมท้ังกา� หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนการด�าเนินงานตอ่ ไป (นางพชั ร ี อาระยะกลุ ) ปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ กันยายน 2565 ก

รายงานขอ้ มลู สถานการณ์ ดา้ นความรุนแรงในครอบครัว สำาหรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคมุ้ ครองผู้ถกู กระทำาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 สำรบัญ หน้า ก คา� น�า ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ สารบญั แผนภมู ิ ฉ บทสรปุ ผูบ้ ริหาร 1 รายงานข้อมูลสถานการณด์ า้ นความรุนแรงในครอบครัว ส�าหรับการรายงานตามมาตรา 17 2 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผู้ถูกกระทา� ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 3 ส่วนที่ 1 รายงานข้อมลู สถานการณ์ความรนุ แรงต่อเดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครัว ปี 2564 8 1) ศูนย์พ่ึงได้ สา� นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 10 2) สา� นกั การแพทย ์ กรงุ เทพมหานคร 10 3) ส�านักอนามัย กรงุ เทพมหานคร 13 4) โรงพยาบาลตา� รวจ ส�านกั งานต�ารวจแหง่ ชาต ิ 15 5) ศนู ยช์ ่วยเหลือสังคม (Social Assistance Centre) สา� นกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คม 17 และความม่ันคงของมนษุ ย์ 20 6) บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน 20 7) สมาคมบณั ฑิตสตรที างกฎหมายแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 22 8) มลู นิธหิ ญงิ ชายกา้ วไกล 23 9) สภาสงั คมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ ์ 26 10) สมาคมส่งเสรมิ สถานภาพสตรี ในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ โสมสวลี 27 กรมหม่ืนสทุ ธนารีนาถ 28 11) มลู นิธิปวณี าหงสกุลเพื่อเด็กและสตร ี (องค์กรสาธารณประโยชน์) 35 12) มลู นิธศิ นู ย์พิทกั ษส์ ิทธเิ ดก็ 37 13) มลู นิธเิ พ่ือนหญิง 40 14) กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย ์ 40 15) การส�ารวจข้อมูลสถานการณ์ครอบครวั ไทยในช่วงการแพร่ระบาดของ 48 โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 49 16) ตวั อยา่ งกรณีศกึ ษา ความรุนแรงในครอบครวั ในช่วงปี พ.ศ. 2563 - 2564 ส่วนที่ 2 รายงานข้อมูลความรุนแรงในครอบครัวตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญตั ิ 55 ค้มุ ครองผู้ถกู กระท�าด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 1) ข้อมูลจากหนว่ ยงานในกระบวนการยตุ ิธรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2) ขอ้ มลู บนั ทึกการให้ความชว่ ยเหลือเบ้อื งตน้ ตามแบบรายงานการด�าเนนิ การคุ้มครอง ผูถ้ ูกกระท�าด้วยความรนุ แรงในครอบครัว (แบบ คร. 6) สว่ นท่ี 3 บทวเิ คราะห์ข้อเสนอแนะเชิงมาตรการในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาความรุนแรง ในครอบครวั และแนวทางการดา� เนินงานตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผ้ถู ูกกระท�าดว้ ย ความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 เอกสารอ้างองิ ข

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ สำรบญั ตำรำง ตารางท่ี ตาราง หน้า 1 แสดงจ�านวนเด็กและสตรีท่ีถกู กระท�าความรุนแรงท่ีเข้ารบั บริการของศูนย์พ่งึ ได ้ กระทรวงสาธารณสุข 3 2 แสดงจ�านวนผ้มู ารับบริการจ�าแนกตามประเภทผกู้ ระท�าความรุนแรงทม่ี าเข้ารบั บริการของ 6 ศูนยพ์ ึง่ ได้ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ 3 แสดงจา� นวนผ้ทู ีถ่ ูกกระท�าความรนุ แรงจ�าแนกตามปัจจัยกระตุ้นใหเ้ กดิ การกระท�าความรุนแรง 7 ท่ีเขา้ รับบรกิ ารของศูนย์พึ่งได ้ โรงพยาบาลในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ 4 แสดงการให้ความชว่ ยเหลอื จ�าแนกตามลักษณะปญั หาความรนุ แรงตอ่ เด็ก สตรี และความรนุ แรง 8 ในครอบครัวที่เข้ารับบริการของโรงพยาบาลในสังกดั สา� นักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร 5 แสดงจา� นวนผู้กระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครวั ท่ีจ�าแนกตามสาเหตุ/ปัจจัยท่กี อ่ ใหเ้ กดิ 9 ความรนุ แรง ทเ่ี ขา้ รับบรกิ ารของโรงพยาบาลในสงั กดั ส�านกั การแพทย ์ กรุงเทพมหานคร 6 แสดงจ�านวนการด�าเนนิ การใหค้ วามช่วยเหลอื /คุ้มครองผ้ถู ูกกระทา� ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว 12 ท่เี ข้ารบั บรกิ ารของโรงพยาบาลตา� รวจ 7 แสดงจ�านวนการด�าเนินการใหค้ วามช่วยเหลือ/คมุ้ ครองผูถ้ กู กระทา� ดว้ ยความรนุ แรง 17 ในครอบครวั ท่ีเข้ารับบริการของบ้านพักเดก็ และครอบครัว 8 แสดงจา� นวนและวธิ ีการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระท�าดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว 20 จ�าแนกตามการด�าเนนิ การให้ความชว่ ยเหลือ/คุ้มครองที่เขา้ รบั บริการของมลู นธิ ิหญิงชายก้าวไกล 9 แสดงขอ้ มูลการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาความเดือดร้อนของส�านักสงเคราะหแ์ ละสวัสดิการ 21 สภาสงั คมสงเคราะห์แหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จา� แนกตามลักษณะของปัญหา 10 แสดงจา� นวนและวิธีการใหค้ วามช่วยเหลอื ผถู้ ูกกระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว 26 จา� แนกตามการดา� เนนิ การให้ความช่วยเหลือ/คุ้มครองท่เี ขา้ รบั บรกิ ารของมูลนิธิศูนย์พทิ ักษส์ ทิ ธิเด็ก 11 แสดงจา� นวนเหตุการณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ปี 2555 – 2564 จากระบบฐานข้อมูลฯ 28 ภายใตเ้ ว็บไซต ์ www.violence.in.th 12 แสดงจ�านวนเหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครวั จ�าแนกตามประเภทเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรง 29 ในครอบครวั จากระบบฐานข้อมลู ฯ ภายใตเ้ ว็บไซต ์ www.violence.in.th 13 แสดงจ�านวนเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครัวจ�าแนกตามสถานท่ีเกิดเหตจุ ากระบบฐานข้อมลู ฯ 31 ภายใตเ้ วบ็ ไซต์ www.violence.in.th 14 แสดงจ�านวนเหตุการณ์ความรนุ แรงในครอบครัว ประจา� ปี 2564 32 จา� แนกตามภมู ิภาคท่ีมีการบันทึกเหตกุ ารณจ์ ากระบบฐานข้อมลู ฯ ภายใตเ้ ว็บไซต ์ www.violence.in.th 15 แสดงจา� นวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครัว ประจา� ป ี 2564 32-33 จ�าแนกตามภูมภิ าคและจงั หวดั จากระบบฐานขอ้ มลู ฯ ภายใตเ้ ว็บไซต ์ www.violence.in.th 16 แสดงจา� นวนเหตุการณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ประจา� ปี 2564 จา� แนกตามจงั หวัด 10 จังหวัด 34 จากระบบฐานขอ้ มูลฯ ภายใตเ้ วบ็ ไซต ์ www.violence.in.th 17 แสดงจา� นวนคดตี ามพระราชบัญญัติคุม้ ครองผถู้ กู ระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 41 ทจี่ ัดเก็บโดยส�านักงานตา� รวจแหง่ ชาติ ค

รายงานขอ้ มลู สถานการณ์ ด้านความรุนแรงในครอบครัว สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผูถ้ ูกกระทำาดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 สำรบัญตำรำง (ตอ่ ) ตารางท่ี ตาราง หน้า 41 18 แสดงประเภทของการกระทา� ความรนุ แรงในครอบครัว 43 จ�าแนกตามเพศและอายุของผ้ถู กู กระท�าทจ่ี ัดเกบ็ โดยสา� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาต ิ 43 19 แสดงจา� นวนคดีตามพระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองผถู้ กู กระท�าดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ของส�านกั งานอยั การสงู สุดทั่วประเทศ ประจา� ปี 2564 (ระหว่างวนั ท ่ี 1 มกราคม -31 ธันวาคม 2564) 45 20 แสดงสถติ ิสา� นวนคดีจ�าแนกตามประเภทสา� นวนคด ี ส�านกั คดชี ั้นพนกั งานอยั การ และส�านวนคดีช้นั ศาล ของส�านักงานอยั การทั่วประเทศ ประจ�าป ี 2564 46 (ระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธนั วาคม 2564) 47 21 แสดงสถิติจ�านวนคดจี า� แนกตามประเภทขอ้ หา จา� นวนคดีแยกตามอายแุ ละเพศผูก้ ระทา� ผดิ 49 และจา� นวนคดีแยกตามอายแุ ละเพศผู้ถูกกระท�า ของส�านกั อยั การท่ัวประเทศ ประจา� ปี 2564 (ระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธนั วาคม 2564) 22 แสดงสถิตสิ า� นวนคดจี า� แนกตามประเภทข้อหา และความสมั พันธร์ ะหว่างผูก้ ระทา� กับผ้ถู กู กระท�า ของส�านกั งานอยั การทว่ั ประเทศ ประจา� ป ี 2564 (ระหว่างวันที่ 1 มกราคม -31 ธันวาคม 2564) 23 แสดงจา� นวนคดีตามพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้ถกู กระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ของส�านกั งานศาลยุติธรรม 24 แสดงขอ้ มูลเปรียบเทยี บระหวา่ งสถติ ิขอ้ มลู ของศูนยพ์ ึง่ ได้ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ กบั ขอ้ มลู จากระบบฐานขอ้ มลู ฯ ภายใต้เว็บไซต์ www.violence.in.th ของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย ์ ง

กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ สำรบัญแผนภมู ิ แผนภมู ิท่ี หน้า 1 แสดงจ�านวนผมู้ ารบั บริการจา� แนกตามเพศและช่วงอายุของผถู้ ูกกระท�าความรนุ แรง 4 ที่เขา้ รับบริการของศูนยพ์ ่งึ ได้ โรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข 2 แสดงจา� นวนผ้มู ารบั บริการจ�าแนกตามประเภทของการกระทา� ความรนุ แรง 5 ทเ่ี ป็นเหตุหลกั ให้เข้ารับบรกิ ารของศนู ย์พง่ึ ได ้ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ 3 แสดงลกั ษณะปัญหาความรนุ แรงต่อเดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครัว 10 ทีเ่ ขา้ รบั บริการของศนู ย์บรกิ ารสาธารณสขุ ในสังกัดสา� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร 4 แสดงจ�านวนผถู้ กู กระท�าความรุนแรงในครอบครัวจา� แนกตามช่วงอายแุ ละเพศ 11 ทเ่ี ขา้ รับบรกิ ารของโรงพยาบาลต�ารวจ 5 แสดงขอ้ มลู จา� นวนบคุ คลในครอบครัวทีถ่ กู กระท�าความรนุ แรงในครอบครวั ทเี่ ข้ารับบริการ 14 จากศูนย์ช่วยเหลือสังคม จา� แนกตามความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทา� และผู้ถกู กระทา� 6 แสดงจา� นวนผถู้ กู กระท�าความรุนแรงในครอบครัวจ�าแนกตามช่วงอายทุ เี่ ข้ารบั บรกิ าร 15 ของบา้ นพกั เดก็ และครอบครวั 7 แสดงประเภทปญั หาความรนุ แรงจ�าแนกตามเพศผถู้ กู กระทา� ทีเ่ ขา้ รบั บรกิ ารของบา้ นพักเด็กและครอบครัว 16 8 แสดงจา� นวนผู้ถกู กระท�าความรุนแรงในครอบครัวจ�าแนกตามชว่ งอายแุ ละเพศ 18 ทเ่ี ข้ารบั บริการของสมาคมบณั ฑิตสตรที างกฎหมายแห่งประเทศไทยฯ 9 แสดงการให้ความชว่ ยเหลือ จา� แนกตามปญั หาความรุนแรงตอ่ เด็ก สตรี และความรนุ แรง 19 ในครอบครัวทเ่ี ข้ารบั บรกิ ารของสมาคมบัณฑติ สตรที างกฎหมายแห่งประเทศไทยฯ 10 แสดงจ�านวนผกู้ ระทา� ด้วยความรนุ แรงในครอบครัวทจี่ �าแนกตามสาเหต/ุ ปัจจัยทก่ี ่อใหเ้ กิด 22 ความรุนแรงที่เข้ารับบรกิ ารของสมาคมสง่ เสรมิ สถานภาพสตรีฯ 11 แสดงจ�านวนผถู้ ูกกระทา� ความรุนแรงในครอบครัวจา� แนกตามชว่ งอายุและเพศ 23 ท่เี ข้ารับบรกิ ารของมลู นิธปิ วณี าหงสกุลฯ 12 แสดงการให้ความชว่ ยเหลือ จา� แนกตามปญั หาความรุนแรงต่อเดก็ สตรี และความรุนแรง 24 ในครอบครัวทเี่ ข้ารบั บรกิ ารของมูลนธิ ปิ วณี าหงสกุลฯ 13 แสดงจ�านวนผู้กระท�าดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั ทจ่ี า� แนกตามสาเหตุ/ปัจจยั 25 ทีก่ ่อใหเ้ กดิ ความรนุ แรงทเ่ี ข้ารับบรกิ ารของมูลนธิ ิปวีณาหงสกุลฯ 14 แสดงการใหค้ วามชว่ ยเหลือ จา� แนกตามปญั หาความรนุ แรงตอ่ เด็ก สตรี และความรนุ แรง 27 ในครอบครัวทีเ่ ขา้ รับบริการของมูลนิธเิ พอ่ื นหญิง 15 แสดงจ�านวนเหตุการณค์ วามรนุ แรงในครอบครัว จา� แนกตามสาเหตุ/ปัจจยั จากระบบฐานข้อมลู ฯ 29 ภายใตเ้ ว็บไซต์ www.violence.in.th 16 แสดงจา� นวนเหตกุ ารณค์ วามรุนแรงในครอบครัว จ�าแนกตามความสมั พันธร์ ะหวา่ งผกู้ ระท�า 30 และผู้ถูกกระท�าจากระบบฐานขอ้ มลู ฯ ภายใต้เว็บไซต์ www.violence.in.th 17 แสดงจา� นวนการให้ความช่วยเหลือเบอื้ งต้นแก่ผู้ถูกกระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั 48 ประจ�าป ี 2564 จากแบบ คร.6 จา� แนกตามประเภทการให้ความช่วยเหลอื ภายใตเ้ วบ็ ไซต์ www.violence.in.th จ

รายงานข้อมลู สถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผู้ถูกกระทำาด้วยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 บทผู้บริหำร การรายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านความรุนแรงในครอบครัว ส�าหรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราช บัญญัติค้มุ ครองผูถ้ ูกกระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจา� ป ี 2564 เป็นการน�าเสนอภาพรวมการกระท�า ความรุนแรงในครอบครัวของประเทศเพ่ือสนับสนุนการด�าเนินงานและภารกิจของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยเป็นไปตาม มาตรา 17 แหง่ พระราชบัญญัตคิ ้มุ ครองผูถ้ ูกกระทา� ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 กา� หนดใหก้ ระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดท�ารายงานท่ีแสดงจ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จ�านวนค�าสั่งก�าหนด มาตรการหรือวิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์ จ�านวนการละเมิดค�าส่ังก�าหนดมาตรการหรือวิธีการเพ่ือบรรเทาทุกข์ของพนักงาน เจ้าหน้าท่ีและศาล และจ�านวนการยอมความรายงานต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเพ่ือทราบปีละครั้ง โดยรายงานฉบับน้ี มีเน้อื หาหลัก 3 สว่ น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ในปี 2564 ท่ีรวบรวมจาก หนว่ ยงานต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้อง ไดแ้ ก ่ 1) ศนู ยพ์ ง่ึ ได้ ส�านกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2) ส�านกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร 3) สา� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร 4) โรงพยาบาลตา� รวจ สา� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาต ิ 5) ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม (Social Assistance Center) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 6) บ้านพักเด็กและครอบครัว กรมกิจการเด็กและเยาวชน 7) สมาคมบณั ฑติ สตรที างกฎหมายแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ ์ 8) มลู นธิ หิ ญงิ ชายกา้ วไกล 9) สภาสงั คมสงเคราะห์ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 10) สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีในพระอุปถัมภ์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลฯี 11) มลู นธิ ิปวณี าหงสกุลเพือ่ เดก็ และสตร ี (องคก์ รสาธารณประโยชน)์ 12) มลู นิธิศนู ยพ์ ิทักษส์ ิทธิเดก็ 13) มลู นธิ ิ เพ่ือนหญิง และ 14) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) รวมท้ังข้อมูลการส�ารวจข้อมูลสถานการณ์ครอบครัว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และจากข้อมูลที่รวบรวมลักษณะการให้บริการ ความช่วยเหลอื การประสานความรว่ มมอื หรือมีการดา� เนินการทเี่ ก่ยี วข้อง ข้อมลู สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครวั ท่รี วบรวมจากหน่วยงานท่วั ประเทศ ไดแ้ ก่ ข้อมูลในป ี 2564 มผี เู้ ข้ารับ บริการทศ่ี ูนยพ์ งึ่ ได้ จ�านวน 16,672 ราย หรือเฉลยี่ จ�านวน 46 ราย/วัน ในจา� นวนดังกล่าว ผูท้ ่ถี ูกกระท�าความรนุ แรงมากทีส่ ุด เป็นเพศหญิง จ�านวน 15,056 ราย รองลงมา คือ เพศชาย จ�านวน 1,605 ราย และเพศทางเลือก จ�านวน 11 ราย ตามล�าดับ ช่วงอายุท่ีเข้ารับบริการมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ อายุ 10 ปี – ไม่เกิน 20 ปี ถูกกระท�าความรุนแรง มากท่ีสุด จ�านวน 5,377 ราย รองลงมา คือ ช่วงอายุ 20 ปี – ไม่เกิน 30 ปี จ�านวน 3,252 ราย และช่วงอายุ 30 ป ี - ไมเ่ กนิ 40 ป ี จา� นวน 2,691 ราย ทงั้ น ี้ มจี า� นวนเดก็ และเยาวชนถกู กระทา� ความรนุ แรง (อายไุ มเ่ กนิ 20 ป)ี จา� นวน 6,739 ราย และขอ้ มลู จ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครวั จากระบบฐานข้อมูลภายใต้เวบ็ ไซต ์ www.violence.in.th ในปี 2564 ของกรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั มขี อ้ มลู ความรนุ แรงในครอบครวั มจี า� นวน 2,114 เหตกุ ารณ ์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ผกู้ ระท�าและผถู้ กู กระท�าท่เี กิดข้ึนมากทส่ี ดุ สามอันดับแรก คือ ระหว่างสามกี ับภรรยา จ�านวน 1,106 เหตกุ ารณ์ รองลงมา คือ ระหวา่ งบดิ ามารดากระทา� ต่อบุตร จา� นวน 620 เหตุการณ์ และป่/ู ย่า/ตา/ยายกระท�ากับหลาน จา� นวน 94 เหตกุ ารณ ์ โดยสาเหตุ/ปัจจัยของความรุนแรงในครอบครัวท่ีเกิดข้ึนมากที่สุด เมาสุรา/ยาเสพติด จ�านวน 1,157 เหตุการณ์ รองลงมา คอื สุขภาพกาย/จติ จ�านวน 474 เหตกุ ารณ์ และนอกใจ/หึงหวง จ�านวน 379 เหตกุ ารณ ์ ในปี พ.ศ. 2564 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้ด�าเนินการส�ารวจสถานการณ์ครอบครัวไทยในช่วงการ ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ขอ้ มลู เก่ียวกับสถานการณ์ครอบครวั ไทยในชว่ งการระบาดฯ พบว่า ส่วนใหญไ่ ดร้ บั ผลกระทบ คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.78 โดยเรอ่ื งทไ่ี ด้รับผลกระทบสงู สุด 3 อนั ดบั แรก คอื รายไดล้ ดลง รองลงมา คือ สุขภาพจิตเสื่อมโทรมและค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึน ข้อเสนอแนะสิ่งท่ีต้องการของผู้ให้ข้อมูล หากเกิดเหตุการณ์ความรุนแรง ในครอบครวั พบวา่ สว่ นใหญต่ อ้ งการใหห้ นว่ ยงานชว่ ยเหลอื เรอื่ งการระงบั เหตทุ นั ทรี องลงมา คอื สอบถามพดู คยุ รบั ฟงั ปญั หา ให้ค�าปรึกษา ให้ก�าลังใจ และอ�านวยความสะดวกให้อยู่ในที่ปลอดภัย และคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบด ี ไดจ้ ดั ทา� รายงานการส�ารวจระดับประเทศ ความรุนแรงในครอบครวั ภายใต้สถานการณก์ ารระบาดโรคโควิด-19 ฉ

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ และตัวอย่างกรณีศึกษาความรุนแรงในครอบครัวในช่วงปี พ.ศ. 2563 – 2564 ซ่ึงเป็นข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการ เพอื่ ปอ้ งกนั การกระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั กรงุ เทพมหานคร และสว่ นภมู ภิ าค ตวั อยา่ งกรณศี กึ ษาความรนุ แรงในครอบครวั ไดแ้ ก ่ กรณีสามีท�ารา้ ยร่างกาย บังคบั ขม่ ขู่ ไม่ส่งเสยี เล้ยี งดู กรณภี รรยาถกู สามีทา� ร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหสั และกรณสี ามี ชอบดุด่า ท�ารา้ ยร่างกาย ส่วนท่ี 2 ข้อมูลความรุนแรงในครอบครัวตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคมุ้ ครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรนุ แรง ในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจา� ปี 2564 ได้แก ่ จ�านวนคดีความรนุ แรงในครอบครวั จ�านวนค�าสัง่ ก�าหนดมาตรการหรอื วธิ ีการ เพ่อื บรรเทาทกุ ข ์ จ�านวนการละเมิดค�าส่งั กา� หนดมาตรการหรอื วิธีการเพ่ือบรรเทาทกุ ขข์ องพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีและศาล และ จา� นวนการยอมความ โดยเปน็ ขอ้ มูลท่ีรวบรวมจากหนว่ ยงานและแหล่งขอ้ มลู ทีเ่ ก่ยี วข้อง ไดแ้ ก ่ 1) หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้อง 3 หน่วยงาน ได้แก่ ข้อมูลจากส�านักงานต�ารวจแห่งชาต ิ ในปี 2564 มีจ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว 85 คดี แบ่งเป็นการร้องทุกข์ จ�านวน 84 คดี และ ไมร่ อ้ งทกุ ข ์ จา� นวน 1 คด ี โดยมกี ารออกคา� สงั่ กา� หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารเพอ่ื บรรเทาทกุ ข ์ จา� นวน 5 คา� สงั่ และมกี ารยอมความ ชนั้ สอบสวน จา� นวน 1 คา� ส่ัง ส่วนข้อมูลของส�านักงานอัยการสูงสุด แสดงจ�านวนคดีตามพระราชบัญญัติฯ ท่ีเข้าสู่กระบวนการของอัยการ ในชั้นพนกั งานอยั การ แบ่งเป็น สัง่ ฟ้อง จา� นวน 282 เรอ่ื ง ไม่ฟ้อง จา� นวน 3 เร่อื ง ยตุ คิ ดี (ยอมความ) จ�านวน 10 เรอ่ื ง และใช้มาตรการตามมาตรา 10 จ�านวน 6 เร่ือง และส�านักงานศาลยุติธรรมมีคดีฟ้องศาลโดยตรงในปี 2564 มีจ�านวน 168 คดี และออกค�าสั่งก�าหนดมาตรการ/ วธิ ีการเพอื่ บรรเทาทกุ ข์ ตามมาตรา 10 วรรคสอง จา� นวน 22 คา� สั่ง 2) การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว ปี 2564 แสดงจ�านวนการให้ ความชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ แก่ผถู้ กู กระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว ในป ี 2564 จา� นาน 1,932 ความชว่ ยเหลอื สว่ นท่ี 3 บทวเิ คราะหข์ ้อเสนอแนะเชงิ มาตรการในการป้องกนั และแก้ไขปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั โดยกรม กจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ไดก้ า� หนดแนวทางทจ่ี ะดา� เนนิ การในการคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั สบื เนอ่ื งในป ี 2565 ไดแ้ ก ่ 1) การเสรมิ สรา้ งกลไกเครอื ขา่ ยในการดา� เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั สค. ไดก้ า� หนด แนวทางด�าเนินการ ได้แก่ การด�าเนินการขับเคลื่อนบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการด�าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว การด�าเนินการคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรนุ แรงในครอบครวั การเสรมิ สรา้ งและสนบั สนนุ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ปอ้ งกนั การกระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั ในสว่ นกลาง และสว่ นภมู ภิ าค และการเสริมสรา้ งกลไกท้องถิน่ “ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)” อยา่ งตอ่ เนือ่ ง 2) การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพพนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี ามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทา� ดว้ ยความรนุ แรง ในครอบครัว พ.ศ. 2550 สค. ไดก้ �าหนดแนวทางดา� เนินการ ไดแ้ ก่ การเสริมสรา้ งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบญั ญัตฯิ การพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติฯ การเสริมสร้างพนักงานเจ้าหน้าท่ีซึ่งมีฐานะเทียบได้ ไม่ต่�ากว่าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ารวจชั้นผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและได้รับมอบหมายจาก รฐั มนตร ี 3) การด�าเนินการปรับปรุงกฎหมายป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว สค. ได้ก�าหนดแนวทาง ดา� เนนิ การปรบั ปรุง แก้ไขกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองผู้ถูกกระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครวั ใหม้ ีผลในทางปฏิบัติ 4) การสร้างทัศนคติความรู้ความเข้าใจต่อประชาชนเพื่อยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว สค. กา� หนดแนวทางการจัดงานรณรงค์ยุติความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตร ี บุคคลในครอบครวั และความรุนแรงในสงั คมทกุ รูปแบบ ทัง้ การจัดงานรณรงค์ยุติความรุนแรงและการผลติ ส่ือรณรงคย์ ตุ คิ วามรุนแรงฯ ช

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครัว สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผถู้ กู กระทาำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 รำยงำนขอ้ มลู สถำนกำรณ์ดำ้ นควำมรนุ แรงในครอบครัว ส�ำหรับกำรรำยงำนตำมมำตรำ 17 แหง่ พระรำชบัญญัติคุ้มครองผูถ้ กู กระทำ� ดว้ ยควำมรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 มาตรา 17 ก�าหนดให้กระทรวง การพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จดั ทา� รายงานประจ�าป ี เสนอตอ่ คณะรัฐมนตร ี และรฐั สภา เพ่ือทราบปีละคร้ัง ดังนี้ 1) จ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครวั 2) จ�านวนคา� สัง่ ก�าหนดมาตรการหรอื วธิ กี ารเพ่ือบรรเทาทกุ ข์ 3) จา� นวนการละเมดิ คา� สง่ั กา� หนดมาตรการ หรือวิธีการเพ่อื บรรเทาทกุ ข์ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทแ่ี ละศาล 4) จ�านวนการยอมความ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวในฐานะหน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบการจัดท�ารายงานข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงฯ ดังกล่าว ได้จัดท�ารายงานเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา มาแลว้ รวม 12 ฉบบั ไดแ้ ก่ รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ดา้ นความรุนแรงในครอบครวั สา� หรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่ง พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองผู้ถกู กระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจา� ป ี 2551 ถึงปี 2563 ตามล�าดับ สา� หรับ รายงานฉบบั นเ้ี ป็นฉบับประจา� ป ี 2564 ซ่งึ เปน็ ฉบับที่ 13 ประกอบดว้ ยเนือ้ หา 3 สว่ น ดงั น ี้ ส่วนท่ี 1 รายงานข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ประจ�าปี 2564 ซ่ึงได้ รวบรวมขอ้ มลู จากหน่วยงานตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง สว่ นท่ี 2 รายงานข้อมูลความรุนแรงในครอบครัว ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วย ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจา� ป ี 2564 ได้แก่ - ข้อมูลจ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จ�านวนค�าสั่งก�าหนดมาตรการหรือวิธีการ เพื่อบรรเทาทุกข์ จ�านวนการละเมิดค�าสั่งก�าหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ของพนักงานเจ้าหน้าที่และศาล และจ�านวนการยอมความ ซ่งึ รวบรวมจากสา� นกั งานต�ารวจแห่งชาต ิ ส�านักงานอยั การสูงสุด และสา� นกั งานศาลยุติธรรม - ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ภายใต้เว็บไซต์ www.violence.in.th ท่ีแสดงจ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ทั้งที่เป็นคดี และที่ไม่เป็นคดี รวมถึงคดีที่เข้าสู่ กระบวนการตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ซง่ึ รวบรวมจากศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร เพ่อื ป้องกันการกระทา� ความรนุ แรงในครอบครัวทวั่ ประเทศ - ข้อมูลจากบันทึกการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น ตามแบบรายงานการด�าเนินการคุ้มครองผู้ถูกกระท�า ด้วยความรุนแรงในครอบครัว หรือแบบ คร.6 ซึ่งบันทึกโดยพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วย ความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 และศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือป้องกันการกระท�าความรนุ แรงในครอบครวั ท่ัวประเทศ สว่ นที่ 3 บทวิเคราะห์สถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวและข้อเสนอแนะ เชงิ มาตรการในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาความรุนแรงในครอบครวั และแนวทางการด�าเนนิ งานตามพระราชบัญญัตคิ ้มุ ครอง ผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 1

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ ส่วนท 1 รำยงำนขอ้ มลู สถำนกำรณค์ วำมรนุ แรงต่อ ดก สตร และควำมรุนแรงในครอบครัว ระจำ� 25 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้ด�าเนินการ รวบรวมและประมวลขอ้ มลู สถานการณ์ความรนุ แรงต่อเดก็ สตร ี และความรุนแรงในครอบครัว ในปี 2564 จากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีลักษณะและระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูลแตกต่างกันตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน บางหนว่ ยงานจัดเก็บข้อมูลเป็นชว่ งปงี บประมาณ (ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564) และบางหน่วยงานจดั เก็บเปน็ รายปีปฎิทนิ (มกราคม – ธันวาคม 2564) โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ 1) ศูนยพ์ ง่ึ ได้ ส�านกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 2) สา� นักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร 3) ส�านักอนามัย กรงุ เทพมหานคร 4) โรงพยาบาลตา� รวจ ส�านกั งานต�ารวจแห่งชาติ 5) ศนู ย์ช่วยเหลอื สังคม (Social Assistance Center) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ 6) บา้ นพกั เด็กและครอบครัว กรมกจิ การเด็กและเยาวชน 7) สมาคมบณั ฑิตสตรที างกฎหมายแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถมั ภ์ 8) มูลนธิ ิหญงิ ชายก้าวไกล 9) สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 10) สมาคมส่งเสรมิ สถานภาพสตรี ในพระอุปถมั ภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ โสมสวลี กรมหม่นื สุทธนารีนาถ 11) มลู นธิ ิปวีณาหงสกลุ เพือ่ เด็กและสตร ี (องค์กรสาธารณประโยชน)์ 12) มลู นิธิศนู ยพ์ ิทักษส์ ทิ ธเิ ด็ก 13) มลู นิธเิ พื่อนหญงิ 14) กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครัว (สค.) 15) การสา� รวจข้อมูลสถานการณ์ครอบครัวในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 16) ตัวอย่างกรณศี กึ ษา ความรุนแรงในครอบครัวในชว่ งปี พ.ศ. 2563 - 2564 2

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั สาำ หรับการรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผูถ้ ูกกระทาำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 1) ศูนย์พง ด้ สำ� นกั งำน ลดั กระทรวงสำ ำรณสุข กองบริหารการสาธารณสุข ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้รายงานข้อมูลสถิติเด็กและสตรีที่ถูกกระท�า ความรุนแรงและเข้ารับบริการในศูนย์พึ่งได้ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จ�านวน 543 แห่ง ในช่วงเดือน ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564 โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงจ�านวนเด็กและสตรีท่ีถูกกระท�าความรุนแรงท่ีเข้ารับบริการของศูนย์พ่งได้ รงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสขุ ปี จา� นวน รงพยาบาล เพศผู้ถูกกระท�าความรุนแรง ราย) รวม เ ล่ีย แหง่ ) ราย) การถกู ทา� รา้ ย เพศชาย เพศหญงิ เพศทางเลือก 20,018 ราย วนั ) 2559 558 1,079 18,919 20 21,218 2560 622 1,301 19,910 7 14,237 55 2561 440 17 15,797 58 2562 512 972 13,248 9 16,676 39 2563 566 1,265 14,523 11 16,672 43 2564 543 1,575 15,090 11 46 1,605 15,056 46 ทมี่ า กองบริหารการสาธารณสุข สา� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ข้อมูล ณ วันท ่ี 11 เมษายน 2565) ข้อมูลจากตารางท่ี 1 แสดงจ�านวนผู้ถูกกระท�าความรุนแรงท่ีเข้ารับบริการของศูนย์พ่งได้ รงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข โดยในปี 2564 มีผู้เข้ารับบริการ จ�านวน 16,672 ราย หรือเฉล่ียจ�านวน 46 ราย/วัน ในจ�านวน ดังกล่าว ผู้ท่ถี ูกกระทา� ความรุนแรงมากที่สดุ เป็นเพศหญิง จา� นวน 15,056 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.30 รองลงมา คอื เพศชาย จ�านวน 1,605 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.63 และเพศทางเลอื ก จ�านวน 11 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.07 ตามลา� ดบั ดา้ นสญั ชาตขิ องผถู้ กู กระทา� ความรนุ แรงทมี่ ารบั บรกิ ารของศนู ยพ์ งึ่ ได ้ จา� นวน 16,672 ราย ประกอบดว้ ยสญั ชาตไิ ทย จา� นวน 16,269 ราย คดิ เป็นร้อยละ 97.58 และเป็นตา่ งชาติ/ต่างดา้ ว จ�านวน 403 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.42 3

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ แผนภมู ทิ ี่ 1 แสดงจ�านวนผู้มารับบริการจ�าแนกตามเพศและช่วงอายุของผู้ถูกกระท�าความรุนแรงที่เข้ารับบริการของ ศนู ยพ์ ง่ ได้ รงพยาบาลในสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ทีม่ า กองบรหิ ารการสาธารณสขุ สา� นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ (ข้อมลู ณ วันที ่ 11 เมษายน 2565) ข้อมูลจากแผนภูมิท่ี 1 แสดงจ�านวนผู้เข้ารับบริการจ�าแนกตามเพศและช่วงอายุของผู้ถูกกระท�าความรุนแรงของ ศนู ยพ์ งึ่ ได ้ จา� นวน 16,672 ราย พบวา่ ชว่ งอายทุ เ่ี ข้ารบั บรกิ ารมากที่สดุ 3 อันดบั แรก คือ อายุ 10 ปี – ไม่เกิน 20 ปี ถกู กระทา� ความรนุ แรงมากทสี่ ดุ จา� นวน 5,377 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.25 รองลงมา คอื ชว่ งอาย ุ 20 ป ี – ไมเ่ กนิ 30 ป ี จา� นวน 3,252 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.51 และช่วงอายุ 30 ปี - ไม่เกิน 40 ปี จ�านวน 2,691 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.14 ทั้งน้ี มีจ�านวน เด็กและเยาวชนถูกกระท�าความรุนแรง (อายุไม่เกนิ 20 ปี) จ�านวน 6,739 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 40.42

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ดา้ นความรุนแรงในครอบครัว สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญัติคุม้ ครองผ้ถู กู กระทาำ ดว้ ยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 แผนภูมิที่ 2 แสดงจา� นวนผมู้ ารบั บรกิ ารจา� แนกตามประเภทของการกระทา� ความรนุ แรงทเี่ ปนเหตหุ ลกั ใหเ้ ขา้ รบั บรกิ าร ของศนู ยพ์ ่งได้ รงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทมี่ า กองบริหารการสาธารณสุข ส�านักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (ขอ้ มูล ณ วันท่ ี 11 เมษายน 2565) หมายเหต ุ การพฒั นาฐานขอ้ มลู ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2545 – 2547 แบง่ ประเภทความนุ แรงตอ่ เดก็ และสตรอี อกเปน็ 4 ประเภท คอื ความรุนแรงด้านร่างกาย จิตใจ เพศ และดา้ นสงั คม ตอ่ มาในปี 2548 เปล่ียนดา้ นสังคมเป็นการถกู ละเลยทอดท้งิ และได้เพม่ิ ประเภทความรนุ แรงเป็น 5 ประเภท ในปี 2551 โดยเพิ่ม การลอ่ ลวงบงั คับแสวงผลประโยชน์ จากแผนภูมิท่ี 2 แสดงจ�านวนผู้เข้ารับบริการจ�าแนกตามประเภทของการกระท�าความรุนแรงท่ีเป็นเหตุหลัก ให้เข้ารบั บริการของศูนย์พงึ่ ได้ จา� นวน 16,672 ราย พบว่า ประเภทของการกระท�าความรุนแรงมากท่ีสดุ 3 อนั ดบั แรก คอื ถูกกระท�าทางร่างกาย จ�านวน 10,059 ราย คิดเป็นร้อยละ 60.33 รองลงมา คือ ถูกกระท�าทางเพศ จ�านวน 4,834 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 28.99 และถูกกระทา� ความรนุ แรงทางจติ ใจ จ�านวน 1,085 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 6.51 5

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ ตารางท่ี 2 แสดงจ�านวนผู้มารับบริการจ�าแนกตามประเภทผู้กระท�าความรุนแรงที่เข้ารับบริการของศูนย์พ่งได้ รงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข ล�าดับ ประเภทผู้กระทา� จา� นวน ราย) รอ้ ยละ 1 พอ่ 597 3.57 2 แม่ 546 3.26 3 พ/่ี นอ้ ง 431 2.58 4 ญาติ 813 4.86 5 พ่อบญุ ธรรม/แมบ่ ญุ ธรรม 12 0.07 6 พอ่ เลยี้ ง/แมเ่ ล้ียง 313 1.87 7 ลูกสาว/ลกู ชาย/ลูกเล้ียง 519 3.10 8 ผู้ดแู ล/ผู้อุปการะ 47 0.28 9 สามี/ภรรยา/คเู่ พศทางเลือก 29.01 10 แฟน 4,852 22.98 11 เพ่อื น 3,844 5.14 12 เพ่ือนร่วมงาน 0.91 13 เพื่อนบา้ น 860 4.81 14 คร ู 152 0.50 15 นายจ้าง 804 0.30 16 ลูกจา้ ง 83 0.09 17 พระ/นักบวช 51 0.16 18 คนไม่รจู้ กั /คนแปลกหน้า 15 5.47 19 อนื่ ๆ (คนรูจ้ ักทาง ace oo , แฟนเก่า, เพอ่ื นของญาต)ิ 26 11.04 915 100.00 รวม 1,846 16 726 ทม่ี า กองบรหิ ารการสาธารณสุข สา� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข (ข้อมลู ณ วันท่ ี 11 เมษายน 2565) หมายเหตุ ใน 1 เหตุการณค์ วามรุนแรงมีผกู้ ระทา� ความรนุ แรงมากกว่า 1 คน ขอ้ มลู จากตารางท่ ี 2 จา� แนกเฉพาะผ้กู ระทา� ท่ีเป็นบคุ คลในครอบครวั พบว่า ในล�าดับ 1 - 9 จะมผี ู้กระทา� ความรุนแรงในครอบครัว จ�านวน 8,130 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.60 จากผูก้ ระทา� ความรนุ แรงทง้ั หมด 16,726 ราย ข้อมูลจ�านวนผู้กระท�าความรุนแรงจ�าแนกตามประเภทผู้กระท�าความรุนแรง จ�านวน 16,726 ราย ซึ่งใน 1 เหตุการณ์ความรุนแรง มีผู้กระท�าความรุนแรงมากกว่า 1 คน พบว่า สามี/ภรรยา/คู่เพศทางเลือก กระท�าความรุนแรง มากที่สดุ จ�านวน 4,852 ราย คดิ เป็นร้อยละ 29.01 รองลงมา คือ ญาติ จ�านวน 813 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 4.86

รายงานข้อมลู สถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครัว สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผ้ถู ูกกระทำาด้วยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 ตารางที่ 3 แสดงจ�านวนผู้ที่ถูกกระท�าความรุนแรงจ�าแนกตามปัจจัยกระตุ้นให้เกิดการกระท�าความรุนแรงท่ีเข้า รบั บริการของศูนยพ์ ง่ ได้ รงพยาบาลในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ ปจั จยั กระต้นุ จ�านวน ราย) ร้อยละ 11,559 36.72 สมั พนั ธภาพในครอบครัว 1,860 - นอกใจ/หงึ หวง 5,563 24.31 - ทะเลาะวิวาท 4,136 - การใชค้ วามรนุ แรงในครอบครวั 7,654 22.18 ส่งิ กระตนุ้ 5,262 9.39 - สุรา 2,159 5.13 - สารเสพติด 233 0.34 - สอื่ ลามก 6,981 1.93 สภาพแวดลอ้ ม 2,957 100.00 ปัญหาสขุ ภาพจิต 1,615 ปญั หาเศรษฐกจิ 108 ปญั หาสุขภาพกาย 607 อื่น ๆ (เช่น ขาดทกั ษะการเล้ยี งด,ู ควบคมุ อารมณ์ไม่ได้) 31 4 1 รวม ท่มี า กองบรหิ ารการสาธารณสุข สา� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข (ขอ้ มลู ณ วันที่ 11 เมษายน 2565) หมายเหตุ ใน 1 เหตุการณ์การกระทา� ความรุนแรงมปี จั จยั กระตุน้ ให้เกดิ การกระทา� ความรุนแรงมากกว่า 1 ปัจจยั - ระบบขอ้ มูลได้มกี ารปรับปรงุ โปรแกรมฐานข้อมูลในป ี 2551 และในปี 2552 ได้ปรบั ค�านยิ ามและจัดกลุม่ ผกู้ ระทา� ความรนุ แรง รวมทงั้ สาเหต/ุ ปจั จยั ของการกระทา� ความรนุ แรงตอ่ เดก็ และสตร ี ใหค้ รอบคลมุ มากยงิ่ ขน้ึ โดยแบง่ สาเหต/ุ ปจั จยั ของการกระทา� ความรุนแรงเป็นกลุ่มใหญ ่ ๆ 7 กลุม่ ได้แก่ 1. ส่งิ กระตุน้ ไดแ้ ก ่ การดื่มสุรา การใชส้ ารเสพตดิ และสอื่ ลามก 2. สัมพนั ธภาพในครอบครวั เชน่ การนอกใจ ทะเลาะ หึงหวง ฯลฯ 3. สภาพแวดลอ้ ม ได้แก ่ ความใกล้ชดิ และโอกาสเออ้ื อ�านวย 4. ปัญหาเศรษฐกิจ ได้แก ่ ปัญหาความยากจน และการวา่ งงาน 5. ปัญหาสขุ ภาพกาย เชน่ การเจบ็ ปว่ ยเรอื้ รัง ความพกิ ารทางดา้ นร่างกาย ฯลฯ 6. ปญั หาสขุ ภาพจิต ไดแ้ ก่ ความเครียด และการเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคทางจิตเวช 7. อ่ืน ๆ เช่น การมีเพศสัมพันธ์โดยความสมัครใจของวัยรุ่น (ขาดทักษะการเล้ียงดู, ควบคุมอารมณ์ไม่ได้, พอ่ แม่ต้องการแจ้งความจงึ สง่ เด็กมาตรวจรา่ งกาย) เป็นตน้ จากตารางท่ ี 3 แสดงจา� นวนผทู้ ่ีถูกกระทา� ความรุนแรงจา� แนกตามปัจจัยกระตุ้นให้เกดิ การกระทา� ความรุนแรง ทีเ่ ข้ารับบรกิ ารของศูนยพ์ ึง่ ได ้ จ�านวน 31,481 ราย ซง่ึ ในการกระท�าความรนุ แรง 1 เหตกุ ารณ ์ เกิดจากปัจจัยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การกระท�าความรุนแรงมากกว่า 1 ปัจจัย พบว่า สาเหตุของความรุนแรงเกิดจากสัมพันธภาพในครอบครัวมากที่สุด จ�านวน 11,559 ราย คดิ เป็นร้อยละ 36.72 รองลงมา คอื ส่งิ กระตุน้ จ�านวน 7,654 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.31 และสภาพแวดลอ้ ม จา� นวน 6,981 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 22.18 7

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ 2) สำ� นกั กำรแพทย์ กรงุ ทพมหำนคร สา� นักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร ได้รายงานข้อมลู เกีย่ วกับผู้เข้ารับบรกิ ารศูนยพ์ ิทักษ์สิทธเิ ดก็ และสตร ี โรงพยาบาล ในสังกัดส�านกั การแพทย ์ กรุงเทพมหานคร ในช่วงระหวา่ งเดอื นมกราคม – ธันวาคม 2564 ดังน้ี ตารางที่ 4 แสดงการให้ความช่วยเหลือ จ�าแนกตามลัก ณะปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรง ในครอบครัวทเ่ี ขา้ รบั บริการของ รงพยาบาลในสงั กดั ส�านกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร ลกั ณะความรนุ แรง จา� นวน จา� นวน จ�านวนผ้ถู กู ท�ารา้ ยร่างกาย เหตกุ ารณ์ ครงั้ ) ผู้ท่รี บั บรกิ าร ราย) กระทา� �้า ราย) กระท�าชา� เรา อนาจาร 748 715 84 ล่อลวง 28 28 6 ขม่ ขนื 7 7 - ดดุ ่า/ข่/ู บังคบั /ตะคอก 3 3 3 ละเลยทอดทิง้ 27 24 3 กักขงั /หน่วงเหน่ียว 4 3 - อน่ื ๆ 68 67 8 1 1 - รวม 114 111 1 1 000 959 105 หมายเหตุ จา� นวนผูถ้ ูกกระทา� ความรุนแรงฯ ท่ีถกู กระท�าซ้�า หมายถงึ จ�านวนผถู้ กู กระท�าความรุนแรงที่ถูกกระซ�า้ ระหว่าง เดือน ม.ค. - ธ.ค. ของปที จ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มูลจากตารางท่ี 4 แสดงจ�านวนผ้เู ขา้ รบั บริการจ�าแนกตามลักษณะความรนุ แรงต่อเดก็ สตรี และความรนุ แรง ในครอบครัว ส�าหรับลักษณะความรุนแรงมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ การท�าร้ายร่างกาย จ�านวน 748 เหตุการณ์ คิดเป็น รอ้ ยละ 74.80 รองลงมา คอื การละเลยทอดท้งิ จ�านวน 68 เหตกุ ารณ์ คดิ เป็นร้อยละ 6.80 และการกระท�าช�าเรา จ�านวน 28 เหตกุ ารณ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.80 8

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครัว สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 ตารางท่ี 5 แสดงจ�านวนผู้กระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัวที่จ�าแนกตามสาเหตุ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรุนแรง ท่เี ขา้ รบั บรกิ ารของ รงพยาบาลในสังกัดสา� นักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร สาเหตุ จา� นวน ร้อยละ ปัจจยั จา� นวน ร้อยละ คร้งั ) ครงั้ ) ยาเสพติด 89 7.54 การขาดโอกาสทางการศึกษา 39 3.39 สุรา เครื่องดืม่ แอลกอ อล ์ 219 18.54 ประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกจิ / 204 17.71 ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชีพ/ตกงาน การพนัน 21 1.78 ตดิ การพนนั และอบายมุขต่าง ๆ 95 8.25 หงึ หวง/นอกใจ 213 18.04 เคยถกู กระท�าด้วยความรุนแรง 130 11.28 ในครอบครัวมากอ่ น ความเครียดทางเศรษฐกจิ 101 8.55 การยอมรับเร่ืองความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั 53 4.60 ทางเพศ/ชายเปน็ ใหญ่ บันดาลโทสะ 347 29.38 การยอมรบั เรอื่ งการใช้ความรนุ แรงมากอ่ น 79 6.86 อื่น ๆ ปัญหาครอบครวั , 191 16.17 มีพ ติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม 69 5.99 โรคซึมเศร้า/จิตเวช, เดก็ ป่วย มีพ ตกิ รรมคบซอ้ น นอกใจ 148 12.85 มารดาไม่พร้อมดูแล ความบาดหมางกนั ระหวา่ งคู่/สมาชกิ 236 20.49 ในครอบครัว หรอื ผูอ้ ่นื สมาชิกในครอบครวั เจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รัง/พกิ าร 41 3.56 สภาพทอี่ ยู่อาศัยไมเ่ หมาะสม 58 5.03 ใกล้แหลง่ อบายมขุ แหลง่ ม่ัวสมุ หรอื ท่ีเปลย่ี ว รวม 1 1 1 100.00 1 152 100.00 หมายเหตุ จ�านวนผ้ถู ูกกระท�าความรนุ แรงฯ อาจมีสาเหต/ุ ปัจจัย ได้มากกว่า 1 ปัจจยั ข้อมูลจากตารางท่ี 5 แสดงจ�านวนผู้กระท�าความรุนแรงในครอบครัวท่ีจ�าแนกตามสาเหตุ/ปัจจัยท่ีก่อให้เกิด ความรนุ แรง โดยความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนอาจมหี ลายสาเหตปุ ระกอบรว่ มกัน สาเหตคุ วามรุนแรงทพี่ บมากทสี่ ุด 3 อันดบั แรก คือ บันดาลโทสะ จ�านวน 347 คร้ัง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.38 รองลงมา คอื สุรา/ยาเสพติดเครอ่ื งดม่ื แอลกอ อล์ จ�านวน 219 ครั้ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.54 และหงึ หวง/นอกใจ จ�านวน 213 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 18.04 สา� หรับปัจจัยทีส่ ่งผลใหเ้ กิดความรนุ แรงมากท่ีสดุ 3 อนั ดับแรก คอื ปัจจยั ความบาดหมางกนั ระหว่างค่/ู สมาชิก ในครอบครวั หรือผอู้ ่นื จ�านวน 236 ครงั้ คดิ เป็นร้อยละ 20.49 รองลงมา คือ ประสบปัญหาทางดา้ นเศรษฐกจิ /ไม่ได้ประกอบ อาชพี /ตกงาน 204 คร้ัง คดิ เปน็ ร้อยละ 17.71 และมีพ ติกรรมคบซอ้ น นอกใจ 148 ครง้ั คดิ เป็นร้อยละ 12.85 9

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ) สำ� นกั อนำมัย กรงุ ทพมหำนคร สา� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ไดร้ ายงานขอ้ มลู เกยี่ วกบั ผเู้ ขา้ รบั บรกิ ารของศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ในสงั กดั สา� นกั อนามยั กรุงเทพมหานคร ในช่วงระหวา่ งวนั ท ่ี 1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2564 ดังน้ี แผนภมู ทิ ี่ 3 แสดงลกั ณะปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรนุ แรงในครอบครัวทีเ่ ข้ารบั บริการของศนู ย์บรกิ าร สาธารณสขุ ในสงั กดั สา� นกั อนามยั กรุงเทพมหานคร ข้อมลู จากแผนภูมิท่ี 3 แสดงลักษณะปญั หาความรุนแรงตอ่ เด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวทีจ่ ดั เก็บข้อมูล โดยศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสุขในสงั กดั สา� นักอนามยั กรุงเทพมหานคร พบว่า มผี เู้ ขา้ รับบริการทถ่ี กู กระทา� ความรนุ แรง จา� นวน 21 ราย โดยลกั ษณะความรุนแรงทพี่ บสูงสุด 3 อนั ดับแรก คือ การท�ารา้ ยร่างกาย จา� นวน 15 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 71.43 รองลงมา คอื ประจาน/ข/ู่ บงั คบั /ตะคอก จ�านวน 5 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 23.81 และกรณีอนาจาร จ�านวน 1 ราย คิดเป็น รอ้ ยละ 4.76 ตามลา� ดบั ทงั้ น ้ี การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผถู้ กู กระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั ทเี่ กดิ ขน้ึ ใชว้ ธิ กี ารเขา้ ระงบั เหตการณ์ ความรุนแรงในครอบครัว เย่ียมบ้าน/สอบข้อเท็จจริง ให้ค�าปรึกษา/แนะน�า และการประเมินความเสี่ยงต่อการถูกกระท�าซ้�า ท้งั 21 ราย ) รงพยำบำลตำ� รวจ ส�ำนักงำนตำ� รวจแหง่ ชำติ โรงพยาบาลตา� รวจ ไดร้ ายงานขอ้ มลู เกยี่ วกบั เดก็ และสตรที ถี่ กู กระทา� ความรนุ แรงทเี่ ขา้ รบั บรกิ ารของโรงพยาบาลตา� รวจ ระหวา่ งเดือนมกราคม – ธันวาคม 2564 เฉพาะผปู้ ว่ ยที่มารับบริการที่ศนู ยพ์ ง่ึ ได/้ ชันสูตร โรงพยาบาลตา� รวจ (ผปู้ ่วยบางส่วน เขา้ รบั การตรวจทห่ี อ้ งฉกุ เฉิน แต่ไมไ่ ด้มารบั บรกิ ารตอ่ ทศ่ี ูนย์พึ่งได้) 10

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญัติคุม้ ครองผู้ถกู กระทำาด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 - ขอ้ มูลประเภทการกระทา� ความรุนแรงระหว่างผู้กระทา� และผูถ้ กู กระทา� ความรุนแรงในครอบครวั จา� นวน 257 ราย พบวา่ ข่มขนื /การกระท�าช�าเรา จ�านวน 169 เหตกุ ารณ ์ รองลงมา คือ การท�าร้ายรา่ งกาย จา� นวน 88 เหตุการณ์ และยงั พบว่า มีจ�านวนผู้ถูกกระท�าฯ ที่ถูกกระท�าซ้�าโดยการท�าร้ายร่างกาย จ�านวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.89 และการข่มขืน/ การกระทา� ช�าเรา จา� นวน 5 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 1.95 แผนภูมิที่ 4 แสดงจ�านวนผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวจ�าแนกตามช่วงอายุและเพศท่ีเข้ารับบริการของ รงพยาบาลตา� รวจ ข้อมูลจากแผนภูมิที่ 4 ข้อมูลจ�าแนกตามช่วงอายุของบุคคลในครอบครัวท่ีถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัว ทเี่ ข้ารบั บรกิ ารของโรงพยาบาลต�ารวจ จ�านวน 546 ราย โดยชว่ งอายขุ องผถู้ ูกกระท�าความรุนแรงทีพ่ บสูงสดุ 3 อนั ดบั แรก คอื ในชว่ งอายรุ ะหวา่ ง 13 - 17 ป ี จา� นวน 173 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.68 รองลงมา คอื ชว่ งอายรุ ะหวา่ ง 26 - 40 ป ี จา� นวน 106 ราย คดิ เป็นร้อยละ 19.41 และช่วงอายรุ ะหว่าง 18 - 25 ปี จ�านวน 105 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 19.23 11

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ ตารางที่ 6 แสดงจ�านวนการด�าเนินการให้ความช่วยเหลือ คุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัวที่เข้า รบั บริการของ รงพยาบาลตา� รวจ การด�าเนนิ การให้ความชว่ ยเหลือ คุ้มครอง จา� นวน ราย) ร้อยละ - ให้คา� ปรึกษา/แนะน�า 32 37.21 - เย่ียมบ้าน สอบขอ้ เทจ็ จริง 1 1.16 - คุ้มครองสวัสดภิ าพ 6 6.98 - เยีย่ มบา้ นเพ่อื ตดิ ตามผล 1 1.16 - จัดหาทีพ่ กั ช่วั คราว 1 1.16 - แจง้ สิทธ ิ พ.ร.บ. คา่ ตอบแทนผเู้ สยี หาย และทดแทน 16 18.60 และค่าใชจ้ ่ายแกจ่ า� เลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544 - สงเคราะหค์ รอบครัว 16 18.60 - จัดให้ผถู้ ูกกระทา� ฯ ไดด้ �าเนินการร้องทกุ ข ์ ตามพระราชบัญญตั ฯิ 1 1.16 - การเข้าระงับเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครัว 6 6.98 - สง่ เขา้ รับการฝกอาชีพ/การศกึ ษา 6 6.98 6 100.00 รวม ข้อมูลจากตารางที่ 6 แสดงจ�านวนการให้ความช่วยเหลือคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัวที่เข้า รับบริการสูงทสี่ ดุ 3 อนั ดบั แรก คอื ให้คา� ปรกึ ษา/แนะน�า จา� นวน 32 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.21 รองลงมา คือ แจ้งสทิ ธิตาม พระราชบญั ญตั คิ า่ ตอบแทนผเู้ สยี หายและคา่ ทดแทน และคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ า� เลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544 และสงเคราะหค์ รอบครวั จา� นวนเหตุการณ์ละ 16 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.60 สว่ นขอ้ มลู สถานทเี่ กดิ เหตกุ ารณก์ ระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั จา� นวน 483 เหตกุ ารณ ์ พบวา่ สถานทท่ี ผ่ี รู้ บั บรกิ าร ประสบเหตกุ ารณก์ ระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั มากทส่ี ุด 3 อันดับแรก คือ เกดิ เหตุในบ้านตนเอง จา� นวน 169 เหตกุ ารณ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 34.99 รองลงมา คอื โรงแรม จา� นวน 68 เหตกุ ารณ ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.08 และสถานทท่ี า� งาน จา� นวน 51 เหตกุ ารณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 10.56 12

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ดา้ นความรุนแรงในครอบครวั สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบัญญัติคุ้มครองผ้ถู กู กระทำาด้วยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 5) ศนู ย์ชว่ ย หลอสังคม ( ) สำ� นกั งำน ลัดกระทรวงกำรพั นำสังคม และควำมมนั คงของมนุ ย์ ศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม ได้รายงานขอ้ มูลเก่ียวกับความรุนแรงต่อเดก็ และเยาวชน สตร ี และผู้สูงอาย ุ ท่ีขอรับบรกิ ารจาก ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม ในระหวา่ งวนั ท ี่ 1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2564 ทถ่ี กู กระทา� ความรนุ แรงทง้ั ภายในและภายนอกครอบครวั รวมจา� นวน 3,125 ราย โดยเป็นความรุนแรงในครอบครวั จ�านวน 2,416 ราย หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 77.31 ของความรุนแรง ทศ่ี ูนย์ฯ ดา� เนนิ การ และความรุนแรงนอกครอบครัว จา� นวน 709 ราย หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 22.69 รายละเอยี ดสรุปไดด้ ังน ี้ ขอ้ มลู จา� นวนเด็กและเยาวชน สตร ี ผู้สูงอาย ุ และคนพิการ ทถ่ี กู กระท�าความรุนแรงในครอบครวั ซีง่ ขอรับบรกิ ารจาก ศูนยช์ ่วยเหลือสงั คม จ�านวน 2,382 ราย ซึง่ มีรายละเอียด ดังน ้ี 1) เด็กและเยาวชน จ�านวน 920 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 38.62 โดยประเภทการกระท�าความรนุ แรงในครอบครัว คอื การถกู ทา� รา้ ยรา่ งกาย จา� นวน 703 ราย รองลงมา คอื การลว่ งละเมดิ ทางเพศ จา� นวน 134 ราย การถกู ลวนลาม กระทา� อนาจาร จา� นวน 54 ราย และทารกถกู ทอดทิ้งในทส่ี าธารณะ จา� นวน 29 ราย 2) สตรี จ�านวน 1,087 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.63 โดยประเภทการกระท�าความรุนแรงในครอบครัวมากที่สุด คือ การถูกท�าร้ายร่างกาย จ�านวน 1,054 ราย รองลงมา คือ การล่วงละเมิดทางเพศ จ�านวน 22 ราย การถูกลวนลาม กระทา� อนาจาร จ�านวน 11 ราย 3) ผสู้ งู อายุ จา� นวน 281 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.80 โดยประเภทการกระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั คอื การถกู ทา� รา้ ย ร่างกาย จ�านวน 276 ราย รองลงมา คือ การลว่ งละเมดิ ทางเพศ จ�านวน 4 ราย และการลวนลาม กระท�าอนาจาร จา� นวน 1 ราย 4) คนพิการ จา� นวน 94 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 3.95 โดยประเภทการกระทา� ความรุนแรงในครอบครัว คือ การถกู ทา� รา้ ย ร่างกาย จา� นวน 79 ราย รองลงมา คอื การลวนลาม กระทา� อนาจาร จ�านวน 11 ราย และการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ จ�านวน 4 ราย 1

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ แผนภูมิที่ 5 แสดงข้อมูลจ�านวนบุคคลในครอบครัวที่ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวที่เข้ารับบริการจาก ศูนย์ช่วยเหลือสังคม จา� แนกตามความสัมพนั ธร์ ะหว่างผกู้ ระท�าและผู้ถูกกระทา� ข้อมูลจากแผนภูมิที่ 5 แสดงจ�านวนผู้กระท�าความรุนแรงจ�าแนกตามประเภทความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระท�าและ ผถู้ กู กระทา� จา� นวน 2,416 ราย ซึง่ ความสมั พันธ์ระหวา่ งผถู้ ูกกระท�าและผู้กระทา� ทพ่ี บมากท่ีสุด 3 อนั ดับแรก คือ ค่สู มรส/ คสู่ มรสเดมิ /ผ้ทู อ่ี ยู่กิน/เคยอยูก่ ิน จ�านวน 920 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 38.08 รองลงมา คือ พอ่ /แม ่ จ�านวน 552 ราย คดิ เป็น รอ้ ยละ 22.85 และบุคคลที่อาศยั พง่ึ พิงอยู่ในครอบครวั เดยี วกัน จ�านวน 234 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.69 1

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ด้านความรุนแรงในครอบครัว สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองผู้ถูกกระทาำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 ) บำ้ นพัก ดกและครอบครัว กรมกิจกำร ดกและ ยำวชน กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย ์ โดยกองคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน ได้รายงานข้อมูลเกย่ี วกบั ความรุนแรงตอ่ เดก็ สตรี ท่ถี ูกกระทา� ความรนุ แรงในครอบครัว ทเี่ ขา้ รบั บรกิ ารจากบา้ นพกั เด็กและ ครอบครวั ทัว่ ประเทศ ในระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2564 ดังนี้ แผนภูมิที่ 6 แสดงจ�านวนผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวจ�าแนกตามช่วงอายุท่ีเข้ารับบริการของบ้านพักเด็ก และครอบครวั ข้อมูลจากแผนภูมิท่ี 6 แสดงผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวท่ีเข้ารับบริการของบ้านพักเด็กและครอบครัว ท่ัวประเทศ จ�าแนกตามช่วงอายุ จ�านวนทั้งส้ิน 444 ราย พบว่า ช่วงอายุของผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวมากท่ีสุด 3 อันดบั แรก คอื ช่วงอาย ุ 6 - 12 ป ี ป ี จา� นวน 108 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 24.32 รองลงมา คือ ช่วงอายุ 26 - 40 ปี จ�านวน 96 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 21.62 และช่วงอาย ุ 13 – 17 ปี จา� นวน 85 ราย คดิ เป็นร้อยละ 19.14 ข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ จ�าแนกตามปัญหาความรุนแรงฯ มีจ�านวนผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัว ท่ีเข้ารับบริการของบ้านพักเด็กและครอบครัว จ�านวนรวม 332 ราย โดยลักษณะความรุนแรงท่ีพบสูงสุด 3 อันดับแรก คือ การท�าร้ายร่างกาย จ�านวน 188 ราย คิดเป็นร้อยละ 56.63 รองลงมา คือ การข่มขืน/กระท�าช�าเรา จ�านวน 42 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 12.65 และการดุด่า/ดูถกู จา� นวน 33 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 9.94 15

กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ แผนภูมทิ ี่ 7 แสดงประเภทปญั หาความรุนแรงจา� แนกตามเพศผถู้ ูกกระท�าทีเ่ ขา้ รับบริการของบา้ นพกั เด็กและครอบครัว ข้อมูลจากแผนภมู ิท ี่ 7 แสดงประเภทความรนุ แรงทเ่ี กดิ ขึ้นกบั ผู้ถกู กระท�าความรนุ แรง ส�าหรบั จา� นวนความรนุ แรง ทพ่ี บมากท่ีสดุ 3 อนั ดับแรก คือ ความรนุ แรงทางรา่ งกาย จา� นวน 270 ราย คดิ เป็นร้อยละ 61.64 รองลงมา คอื ความรนุ แรง ทางจติ ใจ จา� นวน 102 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 23.29 และความรนุ แรงทางเพศ จ�านวน 66 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 15.07 ดา้ นสาเหตุ/ปจั จัยทกี่ อ่ ให้เกดิ ความรนุ แรงในครอบครัวของจ�านวนผู้กระท�า จา� นวน 469 ราย พบวา่ ปจั จัยทีก่ อ่ ให้ เกดิ ความรนุ แรงในครอบครัวมากทสี่ ดุ 3 อนั ดับแรก คือ สรุ า/ยาเสพตดิ จา� นวน 194 ราย คิดเป็นร้อยละ 41.36 รองลงมา คือ บันดาลโทสะ จ�านวน 100 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 21.32 และสขุ ภาพกาย/จติ จา� นวน 56 ราย คดิ เป็นร้อยละ 11.94 1

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั สำาหรับการรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผู้ถกู กระทาำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 ตารางท่ี 7 แสดงจ�านวนการด�าเนินการให้ความช่วยเหลือ คุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัวท่ีเข้า รบั บรกิ ารของบา้ นพักเด็กและครอบครวั การดา� เนินการใหค้ วามชว่ ยเหลอื คุม้ ครอง จ�านวน ราย) รอ้ ยละ - การเข้าระงบั เหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั 30 2.23 - เยีย่ มบ้าน สอบข้อเท็จจริง 254 18.91 - ส่งเข้ารับการฝกอาชพี /การศึกษา 19 1.41 - ให้ค�าปรกึ ษา / แนะนา� 300 22.34 - สงเคราะห์ครอบครัว 34 2.53 - คมุ้ ครองสวสั ดิภาพ 206 15.34 - เยี่ยมบา้ นเพ่ือตดิ ตามผล 104 7.74 - สง่ รกั ษาพยาบาล / บ�าบัดรกั ษา 115 8.56 - แจง้ สทิ ธิ พ.ร.บ.คา่ ตอบแทนผ้เู สยี หาย และคา่ ทดแทน 69 5.14 และคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ า� เลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544 128 9.53 - จัดหาท่ีพกั ชั่วคราว 68 5.06 - จัดใหผ้ ู้ถกู กระทา� ฯ ไดด้ า� เนนิ การร้องทุกข์ตามพระราชบญั ญัตฯิ 3 0.22 - ศาลออกคา� สั่งคุ้มครองสวัสดภิ าพ 13 0.97 - อืน่ ๆ (สง่ ผูก้ ระท�าเขา้ รบั การรรกั ษา, สง่ กลับภูมิลา� เนา, ไกลเ่ กลย่ี 100.00 และลงบนั ทกึ ข้อตกลง, สอบ ป.วอิ าญา, พยานศาล) 1 343 รวม ข้อมูลจากตารางท่ี 7 แสดงจ�านวนการให้ความช่วยเหลือคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัวที่เข้า รบั บรกิ ารสงู ทส่ี ดุ 3 อนั ดบั แรก คอื การใหค้ า� ปรกึ ษา/แนะนา� จา� นวน 300 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.34 รองลงมา คอื การเยยี่ มบา้ น สอบข้อเทจ็ จริง จา� นวน 254 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 18.91 และการคุ้มครองสวัสดิภาพ จ�านวน 206 ราย คดิ เป็นร้อยละ 15.34 7) สมำคมบัณ ติ สตรทำงก หมำยแหง่ ระ ทศ ทย ในพระบรมรำชินู ถัมภ์ สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้รายงานข้อมูลการให้ความช่วยเหลือ ทางดา้ นกฎหมายเกยี่ วกบั การกระทา� ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตร ี และความรนุ แรงในครอบครวั ระหวา่ งเดอื นมกราคม – ธนั วาคม 2564 ดังน ้ี 17

กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ แผนภูมทิ ่ี แสดงจ�านวนผู้ถกู กระท�าความรนุ แรงในครอบครัวจ�าแนกตามชว่ งอายแุ ละเพศทเ่ี ข้ารบั บรกิ ารของ สมาคมบณั ติ สตรที างกฎหมายแห่งประเทศไทย ข้อมูลจากแผนภูมิที่ 8 ข้อมูลจ�าแนกตามช่วงอายุของบุคคลในครอบครัวท่ีถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัว ที่เข้ารับบริการของสมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทยฯ จ�านวน 103 ราย พบว่า ช่วงอายุของผู้ถูกกระท�า ความรุนแรงในครอบครัวมากทสี่ ดุ 3 อนั ดบั แรก คอื เป็นบคุ คลในครอบครวั ในช่วงอายุระหวา่ ง 26 - 40 ป ี จา� นวน 37 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.92 รองลงมา คือ ชว่ งอายุระหว่าง 41 – ไมเ่ กิน 59 ป ี จา� นวน 21 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 20.39 และอายุ 60 ปขี นึ้ ไป จ�านวน 15 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.56 1

รายงานขอ้ มลู สถานการณ์ ด้านความรุนแรงในครอบครัว สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองผู้ถูกกระทำาดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 แผนภูมิท่ี 9 แสดงการให้ความช่วยเหลือ จ�าแนกตามปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ที่เขา้ รบั บริการของสมาคมบณั ติ สตรที างกฎหมายแหง่ ประเทศไทย ข้อมูลจากแผนภูมิท ี่ 9 แสดงจา� นวนผเู้ ขา้ รับบรกิ ารจ�าแนกตามลักษณะความรุนแรงตอ่ เดก็ สตรี และความรุนแรง ในครอบครัวที่เข้ารับบริการของสมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทยฯ พบว่า มีลักษณะความรุนแรง จ�านวน ทง้ั สน้ิ 105 เหตกุ ารณ ์ โดยลกั ษณะความรนุ แรงทพี่ บสงู สดุ 3 อนั ดบั แรก คอื การดดุ า่ /ดถู กู จา� นวน 48 เหตกุ ารณ ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.71 รองลงมา คือ ทา� รา้ ยร่างกาย จ�านวน 24 เหตุการณ์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 22.86 และการละเลยทอดทิ้ง จ�านวน 17 เหตุการณ ์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.19 อกี ทง้ั ยังพบวา่ จา� นวนผู้ถูกกระท�าซ้า� ส่วนใหญ่เป็นลักษณะการประจาน/ขู/่ บังคบั /ตะคอก จ�านวน 7 ราย 1

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ) มูลนิ ิหญงิ ชำยกำ้ ว กล มลู นธิ หิ ญงิ ชายกา้ วไกล ไดร้ ายงานขอ้ มลู ดา้ นการกระทา� ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตร ี และบคุ คลในครอบครวั ระหวา่ งเดอื น มกราคม – ธนั วาคม 2564 ซงึ่ รวบรวมจากแบบบนั ทกึ การใหบ้ รกิ ารใหค้ า� ปรกึ ษา โดยเจา้ หนา้ ทนี่ กั สงั คมสงเคราะห ์ อาสาสมคั ร นกั สงั คมสงเคราะห ์ และอาสาสมคั รนักกฎหมาย โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ตารางท่ี แสดงจา� นวนและวธิ กี ารใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผถู้ กู กระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั จา� แนกตามการดา� เนนิ การ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ คุม้ ครองทีเ่ ข้ารับบริการของมูลนธิ หิ ญิงชายก้าวไกล ตารางที่ ดแก�าสาเรดนดงนิ �าจกเ�านานนิรวใกหนา้ครแใวลหาะ้คมววชิธา่วีกมยาชเรห่วใลยหือเ้หคควลุ้มาอื มครชอ่วงยทเ่ีเหขล้าือรับผบู้ถรูกิกการระขทอ�างดมจ้วูลา�ยรนนาคธิ ยวิหว)นาญมิงรชุนาแยรก้อง้ายใวนลไกะคลรอบคหรนัถว่วา้จมย�างีแปานนรกดทตรีส่ ะาง่ บมต)ุกอ่ าร - การเข้าระงบั เหตุการณค์ วามรนุ แรงในครอบครัว 1 1.28 ตา� รวจ - เยีย่ มบ้าน สอบข้อเทจ็ จริง 1 1.28 สนง.พมจ. - ให้คา� ปรกึ ษา / แนะนา� 35 44.87 - สงเคราะห์ครอบครัว 2 2.56 - คมุ้ ครองสวสั ดิภาพ 7 8.97 - เย่ียมบา้ นเพอ่ื ติดตามผล 4 5.13 - ส่งรักษาพยาบาล / บา� บดั รกั ษา 1 1.28 - แจ้งสทิ ธ ิ พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผูเ้ สยี หาย และค่าทดแทน 10 12.82 และค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 - จดั ให้ผ้ถู กู กระท�าฯ ไดด้ า� เนินการรอ้ งทกุ ขต์ ามพระราชบญั ญัตฯิ 17 21.79 รวม 7 100.00 ข้อมูลจากตารางท่ี 8 การด�าเนนิ การชว่ ยเหลอื คุ้มครองผู้ถกู กระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครัวมากท่ีสุด 3 อนั ดบั แรก คือ การใหค้ า� ปรึกษา/แนะนา� จา� นวน 35 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 44.87 รองลงมา คอื จัดให้ผถู้ ูกกระท�าฯ ไดด้ �าเนินการรอ้ งทกุ ข์ ตามพระราชบญั ญตั ฯิ จา� นวน 17 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.79 และแจง้ สทิ ธพิ ระราชบญั ญตั คิ า่ ตอบแทนผเู้ สยี หายและคา่ ทดแทน และคา่ ใช้จ่ายแก่จา� เลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544 จา� นวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.82 ) สภำสังคมสง ครำะหแ์ หง่ ระ ทศ ทย ในพระบรมรำชู ถมั ภ์ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้รายงานข้อมูลที่เก่ียวกับปัญหาความรุนแรง ระหว่าง เดือนมกราคม – ธันวาคม 2564 รายละเอียด ดงั น้ี 20

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครัว สาำ หรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคุม้ ครองผู้ถกู กระทำาด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลการช่วยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาความเดอื ดรอ้ นของส�านกั สงเคราะหแ์ ละสวัสดิการ สภาสงั คมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จ�าแนกตามลกั ณะของปญั หา ลกั ณะปญั หา เดอื น ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม ปัญหา 1. สวัสดกิ ารสงั คม 2. กฎหมาย 17 23 14 34 10 8 12 46 25 20 19 4 232 3. ครอบครัว - - - - - - - - - 1 1 - 2 4. สขุ ภาพกาย 1 7 5 4 6 2 - 4 8 3 1 - 41 5. สขุ ภาพจติ 12 7 - 14 10 - 12 9 - 5 8 - 77 6. ความพกิ าร - - - 4 - 1 - - 1 - - 1 7 7. การประกอบอาชีพ - - - - - - - - - - - 2 2 8. การศึกษา 54 - - 76 - - 42 39 107 1 - - 9. หนีส้ ิน 30 25 21 37 47 82 265 325 111 - 22 10 319 10. ยาเสพติด 13 8 6 7 5 13 4 2 10 6 7 2 975 11. ผ้สู ูงอาย ุ - - - - - 3 - - - - 1 - 83 12. ทั่วไป - - - - - - - 15 12 - - - 26 22 11 14 12 5 16 8 19 10 1 13 4 รวม 27 157 153 92 57 190 90 114 351 44 293 46 60 32 1 926 หมายเหตุ ลักษณะปัญหาสวัสดิการสังคม ได้แก่ เงินสงเคราะห์ครอบครัวเพ่ือเป็นค่าครองชีพ ต้องการท�าอาชีพเสริม หารายได้ ต้องการทุนประกอบอาชีพ ต้องการหางานท�า สิทธิในการรักษาของผู้ป่วยโรคไต ไม่สามารถมีบุตรได้ต้องการรับ บุตรบญุ ธรรม ไมม่ ีบตั รประชาชน ขอรับสลากกนิ แบง่ รัฐบาล และตอ้ งการที่พัก ขอ้ มลู จากตารางท่ ี 9 แสดงจา� นวนการช่วยเหลอื ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนส�านกั สงเคราะหแ์ ละสวัสดิการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จ�าแนกตามลักษณะปัญหา จ�านวนท้ังสิ้น 1,926 ราย พบว่า ลักษณะปัญหาของผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ ปัญหาการศึกษา จ�านวน 975 ราย คิดเป็น ร้อยละ 50.62 รองลงมา คอื ปญั หาการประกอบอาชพี จ�านวน 319 ราย คดิ เป็นร้อยละ 16.56 และปญั หาสวัสดกิ ารสังคม จา� นวน 232 ราย คดิ เป็นร้อยละ 12.05 21

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ 10) สมำคมสง่ สริมสถำนภำพสตร ในพระอุ ถัมภ์ พระ จ้ำวรวงศ์ อ พระองค์ จ้ำ สมสวล กรมหมนสุท นำรนำถ สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีฯ ซ่ึงให้บริการบ้านพักฉุกเฉิน ได้รายงานการให้ความช่วยเหลือคุ้มครองเด็กและสตรี จากความรุนแรง ในป ี 2564 มรี ายละเอยี ด ดังนี้ แผนภมู ทิ ่ี 10 แสดงจา� นวนผกู้ ระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั ทจี่ า� แนกตามสาเหตุ ปจั จยั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความรนุ แรงทเี่ ขา้ รับบรกิ ารของสมาคมส่งเสรมิ สถานภาพสตรี หมายเหตุ จา� นวนผู้ถกู กระทา� ความรุนแรงฯ อาจมสี าเหตุ/ปัจจัย ได้มากกวา่ 1 ปจั จยั ข้อมูลจากแผนภูมทิ ่ ี 10 แสดงจ�านวนผ้กู ระท�าความรุนแรงในครอบครัวทจี่ า� แนกตามสาเหต/ุ ปัจจัยท่กี ่อใหเ้ กิด ความรุนแรง โดยความรุนแรงที่เกดิ ข้ึนอาจมหี ลายสาเหตปุ ระกอบร่วมกัน พบว่า สาเหตุ/ปจั จัยความรุนแรงท่พี บมากทสี่ ดุ คือ สรุ า/ยาเสพตดิ บนั ดาลโทสะ และมคี วามรสู้ กึ วา่ ตนเองมอี า� นาจมากกวา่ จา� นวนสาเหต/ุ ปจั จยั ละ 22 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.75 รองลงมา คือ หงึ หวง/นอกใจและเศรษฐกิจ/ตกงาน จา� นวนสาเหตุ/ปจั จยั ละ 20 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.87 22

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครวั สำาหรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญตั ิคุ้มครองผถู้ ูกกระทำาด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 11) มูลนิ ิ วณำหงสกลุ พอ ดกและสตร (องคก์ รสำ ำรณ ระ ยชน์) มูลนิธิปวีณาหงสกุลเพื่อเด็กและสตรี (องค์กรสาธารณประโยชน์) ได้รายงานข้อมูลการให้ความช่วยเหลือสังคม เด็ก และสตรี ผ้ทู ไ่ี มไ่ ด้รบั ความเปน็ ธรรมในรูปแบบต่าง ๆ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2564 ซง่ึ มีผไู้ ด้รับบริการทงั้ สิน้ จ�านวน 10,224 ราย โดยแบ่งประเภทของปญั หา ดังน้ี แผนภมู ทิ ี่ 11 แสดงจ�านวนผถู้ ูกกระท�าความรนุ แรงในครอบครัวจ�าแนกตามช่วงอายแุ ละเพศทีเ่ ข้ารบั บริการของ มลู นธิ ิปวีณาหงสกลุ ข้อมูลจากแผนภูมิที่ 11 ข้อมูลจ�าแนกตามช่วงอายุของบุคคลในครอบครัวที่ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวท่ีเข้า รับบริการของมูลนิธิปวีณาหงสกุลฯ จ�านวน 1,964 ราย พบว่า ช่วงอายุของผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัวมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ ชว่ งอายรุ ะหว่าง 10 - 15 ปี จา� นวน 330 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.80 รองลงมา คือ ชว่ งอายุระหวา่ ง 15 - 20 ป ี จ�านวน 257 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.09 และอาย ุ 40 ปขี น้ึ ไป จา� นวน 252 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.83 2

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ แผนภูมิท่ี 12 แสดงการใหค้ วามชว่ ยเหลอื จา� แนกตามปญั หาความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครวั ทเ่ี ขา้ รบั บรกิ ารของมลู นธิ ิปวณี าหงสกลุ ข้อมลู จากแผนภมู ทิ ี ่ 12 แสดงจา� นวนผู้เข้ารบั บรกิ ารจา� แนกตามลกั ษณะความรนุ แรงตอ่ เด็ก สตร ี และความรนุ แรง ในครอบครัวท่ีเข้ารับบริการของมูลนิธิปวีณาหงสกุลฯ พบว่า มีลักษณะความรุนแรงที่พบสูงสุด คือ การท�าร้ายร่างกาย (รวมทารณุ กรรม) จ�านวน 953 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 53.03 รองลงมา คือ การข่มขืน/กระทา� ชา� เรา (รวมอนาจาร) จา� นวน 741 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.24 และการล่อลวง (คา้ ประเวณ)ี จ�านวน 103 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 5.73 2

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ดา้ นความรนุ แรงในครอบครัว สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผู้ถูกกระทำาดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 แผนภมู ทิ ี่ 13 แสดงจา� นวนผกู้ ระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั ทจี่ า� แนกตามสาเหตุ ปจั จยั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความรนุ แรงทเี่ ขา้ รับบรกิ ารของมูลนิธิปวีณาหงสกุล หมายเหต ุ จา� นวนผถู้ กู กระท�าความรนุ แรงฯ อาจมสี าเหตุ/ปจั จัย ได้มากกว่า 1 ปัจจัย ขอ้ มลู จากแผนภูมิที่ 13 แสดงจ�านวนผกู้ ระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั ทจ่ี า� แนกตามสาเหตุ/ปจั จัยที่กอ่ ใหเ้ กดิ ความรุนแรง โดยความรุนแรงท่ีเกิดขึ้นอาจมีหลายสาเหตุประกอบร่วมกัน พบว่า สาเหตุ/ปัจจัยความรุนแรงที่พบมากท่ีสุด 3 อนั ดบั แรก คือ เศรษฐกิจ/ตกงาน (ผลกระทบจากสถานการณ์โรคติดเช้ือ COVID-19) จ�านวน 5,708 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.32 รองลงมา คือ ปญั หาครอบครวั และอื่น ๆ จ�านวน 1,090 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 14.77 และยาเสพตดิ จา� นวน 265 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 3.59 25

กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ 12) มลู นิ ิศูนย์พิทกั ส์ ทิ ิ ดก มลู นธิ ศิ นู ยพ์ ทิ กั ษส์ ทิ ธเิ ดก็ ไดร้ ายงานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื คมุ้ ครองเดก็ และสตรจี ากความรนุ แรง ระหวา่ งเดอื นมกราคม – ธนั วาคม 2564 มรี ายละเอียด ดังนี้ ตารางที่ 10 แสดงจ�านวนและวิธีการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว จ�าแนกตาม การด�าเนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลือ คุม้ ครองทีเ่ ข้ารับบรกิ ารของมูลนิธศิ ูนยพ์ ทิ ัก ์สทิ ธิเดก็ ตารางท่ีการด�าแดเ�าสนเดินนงกนิ จาก�ารานใรหวใ้คหนว้คแาวลมาะชมวว่ชิธย่วีกเยหาเรลหใอืลหอื ค้คมุ้ควค้มุารมคอรชงอ่วงยทเีเ่หขลา้ ือรบัผบู้ถรูกจกิ ก�ารารนาระยขวท)นอ�างดม้วูลยนคิธิหวร้อาญยมิงลรชะุนาแยรกง้าใวนไกคลรหอนถบ่วา้ คมยรงี ัปวานจรด�าทรแสี่ ะน่งบตกุ)่อตามการ - เยยี่ มบ้าน สอบข้อเทจ็ จรงิ 41 18.72 - ใหค้ า� ปรกึ ษา / แนะน�า 42 19.18 - สงเคราะหค์ รอบครวั 5 2.28 - คุม้ ครองสวัสดภิ าพ 9 4.11 - เย่ียมบ้านเพื่อติดตามผล/โทรศัพท์ตดิ ตามผล 42 19.18 - ส่งรกั ษาพยาบาล / บา� บดั รกั ษา 42 19.18 - แจ้งสิทธ ิ พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผูเ้ สยี หาย และค่าทดแทน และค่าใชจ้ ่ายแกจ่ �าเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 15 6.85 - จดั หาทพ่ี ักชวั่ คราว 9 4.11 - สหทยั มูลนิธ ิ - สถานสงเคราะห์เด็กออ่ น บา้ นพญาไท - สถานคุม้ ครองและพัฒนา คนพกิ ารบ้านเฟองฟา้ - คามลิ เลีย่ น โซลเชยี ล เซน็ เตอรร์ ะยอง - สถานสงเคราะห์เด็กชาย บา้ นปากเกรด็ - จดั ใหผ้ ถู้ กู กระทา� ฯ ไดด้ า� เนินการร้องทกุ ข์ 14 6.39 ตามพระราชบญั ญตั ิฯ รวม 219 100.00 ข้อมูลจากตารางท่ี 10 แสดงจ�านวนการให้ความช่วยเหลือคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว จ�านวนท้ังสิ้น 219 ราย เช่น การให้ค�าปรึกษา/แนะน�า การเยี่ยมบ้านเพ่ือติดตามผล/โทรศัพท์ติดตามผล และการส่งรักษา พยาบาล/บา� บัดรกั ษา จา� นวนประเภทความช่วยเหลอื ละ 42 ราย เท่ากัน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.18 รองลงมา คอื การเย่ยี มบ้าน สอบข้อเทจ็ จรงิ จ�านวน 41 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 18.72 2

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ดา้ นความรนุ แรงในครอบครัว สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผู้ถกู กระทำาดว้ ยความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 1 ) มูลนิ ิ พอนหญิง มูลนิธิเพื่อนหญิง ได้รายงานการให้ความช่วยเหลือด้านการกระท�าความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว ระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม 2564 มีรายละเอียด ดงั น้ี แผนภมู ิที่ 14 แสดงการใหค้ วามชว่ ยเหลอื จา� แนกตามปญั หาความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และความรนุ แรงในครอบครวั ทเ่ี ขา้ รบั บริการของมูลนธิ ิเพื่อนหญิง หมายเหต ุ ... จา� นวนผู้ถกู กระทา� ความรุนแรงที่ถกู กระทา� ซ้า� ระหว่างวนั ท่ ี 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2564 ข้อมูลจากแผนภูมทิ ี่ 14 แสดงจ�านวนผู้เข้ารับบริการจา� แนกตามลักษณะความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตร ี และความรุนแรง ในครอบครัวท่ีเข้ารับบริการของมูลนิธิเพื่อนหญิงพบว่า มีลักษณะความรุนแรง จ�านวนท้ังส้ิน 550 เหตุการณ์ โดยลักษณะ ความรนุ แรงที่พบสงู สดุ 3 อันดับแรก คือ การละเลยทอดทงิ้ จ�านวน 229 เหตุการณ ์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 41.64 รองลงมา คือ ท�าร้ายร่างกาย จ�านวน 86 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 15.64 และการประจาน/ขู่/บังคับ/ตะคอก จ�านวน 74 เหตุการณ ์ คิดเป็นร้อยละ 13.45 อีกทั้งยังพบว่าจ�านวนผู้ถูกกระท�าซ้�าส่วนใหญ่เป็นลักษณะการการละเลยทอดท้ิง จ�านวน 101 ราย รองลงมา คอื ประจาน/ขู/่ บังคับ/ตะคอก และทา� ร้ายรา่ งกาย จ�านวนเหตุการณ์ละ 7 รายเทา่ กนั โดยความรุนแรงที่เกิดขึ้นอาจมีหลายสาเหตุประกอบร่วมกัน พบว่า สาเหตุ/ปัจจัยความรุนแรงท่ีพบมากที่สุด คือ เศรษฐกิจ/ตกงาน จา� นวน 250 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 59.67 รองลงมา คอื สุขภาพกาย/จิต จา� นวน 61 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.56 และหึงหวง/นอกใจ จ�านวน 51 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 12.17 27

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 1 ) กรมกจิ กำรสตรและสถำบนั ครอบครัว กระทรวงกำรพั นำสังคมและควำมมนั คงของมนุ ย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้รวบรวมข้อมูล ความรุนแรงในครอบครัว ประจ�าปี 2564 (ระหว่างวันท่ี 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2564) ตามระบบฐานข้อมูล ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตร ี และความรนุ แรงในครอบครวั ภายใต ้ www.violence.in.th ซง่ึ ไดม้ กี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู โดยเจา้ หนา้ ทปี่ ระจา� ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว ส�านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 76 จงั หวดั และเจ้าหน้าทศี่ ูนย์ปฏบิ ตั ิการกรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั กรุงเทพมหานคร ซึ่งมรี ายละเอียด ดงั นี้ ตารางท่ี 11 แสดงจ�านวนเหตุการณค์ วามรุนแรงในครอบครวั ปี 2555 2564 จากระบบ านขอ้ มลู ภายใต้เวบ็ ไ ต์ . .. ปที ี่ จ�านวน จา� นวนผกู้ ระทา� ราย) จา� นวนผถู้ กู กระท�า ราย) เกดิ เหตุ เหตุการณ์ ชาย หญงิ ไมร่ ะบุ รวม ชาย หญงิ ไมร่ ะบุ รวม 2555 2556 969 730 63 11 04 70 755 14 39 2557 973 746 91 19 56 80 777 9 66 2558 928 702 65 18 7 5 72 729 5 06 2559 969 721 122 11 54 105 739 9 53 2560 801 598 96 13 707 94 610 15 719 2561 1,200 936 150 10 1 096 179 914 11 1 104 2562 1,299 1,028 138 20 1 1 6 183 1,007 21 1 211 2563 1,532 1,253 205 37 1 495 270 1,206 39 1 515 2564 1,789 1,393 248 54 1 695 297 1,392 43 1 732 2,114 1,610 310 58 1 97 382 1,624 59 2 065 รวม 12 574 9 717 1 4 251 11 456 1 732 9 753 225 11 710 หมายเหต ุ ข้อมลู ผกู้ ระท�า/ผ้ถู กู กระทา� ความรุนแรง 1 ราย เก่ยี วข้องกับเหตุการณค์ วามรุนแรงมากกวา่ 1 เหตกุ ารณ์ ขอ้ มลู จากตารางท ี่11 แสดงขอ้ มลู จากระบบฐานขอ้ มลู ความรนุ แรงในครอบครวั ภายใตเ้ วบ็ ไซต ์ www.violence.in.th ป ี 2555 – 2564 พบวา่ ความรุนแรงในครอบครวั ประจา� ปี 2564 มีจ�านวน 2,114 เหตกุ ารณ์ ในจา� นวนเหตุการณด์ งั กลา่ ว มผี กู้ ระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั จา� นวนทง้ั สน้ิ 1,978 ราย สว่ นใหญผ่ กู้ ระทา� ความรนุ แรงฯ เปน็ เพศชาย จา� นวน 1,610 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.40 รองลงมาเปน็ เพศหญิง จ�านวน 310 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 15.67 และไม่ไดร้ ะบ ุ จ�านวน 58 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.93 ในขณะที่ผู้ถูกกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จ�านวนทั้งสิ้น 2,065 ราย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ�านวน 1,624 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.64 รองลงมาเปน็ เพศชาย จา� นวน 382 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.50 และไม่ได้ระบุ จ�านวน 59 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.86 ทง้ั นี้ ข้อมูลผู้ถูกกระทา� ความรุนแรงในครอบครัว ต้ังแต่ป ี 2555 – 2564 หรือในรอบทศวรรษ พบว่า ป ี 2555 ผหู้ ญิงถกู กระทา� ร้อยละ 89.99 ปี 2556 รอ้ ยละ 89.72 ป ี 2557 ร้อยละ 90.45 ปี 2558 ร้อยละ 86.63 ปี 2559 รอ้ ยละ 84.84 ป ี 2560 รอ้ ยละ 82.79 ป ี 2561 รอ้ ยละ 83.15 ปี 2562 รอ้ ยละ 79.60 ป ี 2563 ร้อยละ 80.37 และปี 2564 ร้อยละ 78.64 ตามลา� ดับ จากข้อมูลจา� แนกตามเพศหญิงและชาย จะเห็นวา่ ในทุก ๆ ปี เพศหญงิ เปน็ ผ้ถู กู กระท�าความรุนแรง สูงที่สดุ โดยปี 2557 สงู ทส่ี ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.45 2

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ดา้ นความรนุ แรงในครอบครวั สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผถู้ กู กระทาำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 ตารางที่ 12 แสดงจ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวจ�าแนกตามประเภทเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว จากระบบ านขอ้ มลู ภายใต้เว็บไ ต์ . .. ประเภท จา� นวน จา� นวนผกู้ ระทา� ราย) จา� นวนผถู้ กู กระทา� ราย) เหตุการณ์ เหตกุ ารณ์ ชาย หญิง ไมร่ ะบุ รวม ชาย หญงิ ไมร่ ะบุ รวม ท�าร้ายรา่ งกาย 1,606 1,246 212 41 1 499 290 1,224 47 1 561 ดุดา่ /ดูถูก 544 401 107 16 524 93 435 20 54 หยาบคาย/ตะคอก / ประจาน/ข/ู่ บงั คับ 461 362 71 13 446 66 375 14 455 การละเลย/ทอดท้งิ 80 51 23 3 77 15 60 3 7 ข่มขืน 60 57 0 2 59 2 57 1 60 กกั ขัง/หนว่ งเหน่ยี ว 61 41 13 1 55 14 45 0 59 อนาจาร 32 29 0 2 31 1 31 1 33 ลอ่ ลวง 8 8 0 0 1 7 0 ไมร่ ะบ ุ 32 25 5 0 30 6 24 0 30 431 7 2 729 4 2 25 6 2 32 รวม 2 4 2 220 หมายเหตุ ข้อมลู ผูก้ ระท�า/ผถู้ ูกกระทา� ความรุนแรง 1 ราย เกี่ยวข้องกบั เหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงมากกวา่ 1 เหตกุ ารณ์ ขอ้ มลู จากตารางท ี่ 12 แสดงประเภทเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ป ี 2564 มจี า� นวนทงั้ สน้ิ 2,884 เหตกุ ารณ์ เหตกุ ารณ์ความรนุ แรงทเ่ี กดิ ขน้ึ มากทส่ี ดุ คอื การท�ารา้ ยร่างกาย จา� นวน 1,606 เหตุการณ ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.69 รองลงมา คอื ดุด่า/ดูถกู จ�านวน 544 เหตุการณ์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.86 และหยาบคาย/ตะคอก/ประจาน/ข่/ู บังคบั จ�านวน 461 เหตกุ ารณ ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 15.98 แผนภมู ทิ ่ี 15 แสดงจา� นวนเหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครัว จา� แนกตามสาเหตุ ปัจจยั จากระบบ านข้อมูล ภายใต้เวบ็ ไ ต์ . .. 2

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ หมายเหตุ ข้อมูลสาเหตุความรุนแรงในครอบครวั 1 ราย มีสาเหต/ุ ปัจจยั ของความรุนแรงมากกว่า 1 ปัจจยั ข้อมูลจากแผนภูมิท่ี 15 แสดงสาเหตุ/ปัจจัยการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว ปี 2564 จ�านวน เหตุการณ์ความรุนแรง 2,631 ราย โดยสาเหตุ/ปัจจัยท่ีเกิดขึ้นมากที่สุด คือ เมาสุรา/ยาเสพติด จ�านวน 1,157 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 43.98 รองลงมา คือ สุขภาพกาย/จิต จ�านวน 474 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 18.02 และนอกใจ/หึงหวง จ�านวน 379 เหตุการณ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.41 แผนภมู ทิ ่ี 16 แสดงจา� นวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั จา� แนกตามความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผกู้ ระทา� และผถู้ กู กระทา� จากระบบ านขอ้ มูล ภายใตเ้ วบ็ ไ ต์ . .. , ขอ้ มูลจากแผนภูมทิ ่ี 16 แสดงขอ้ มลู ความสมั พันธ์ระหว่างผู้กระท�าและผู้ถกู กระทา� โดยเหตุการณ์ความรนุ แรงทีเ่ กดิ ขึน้ มีจ�านวน 2,092 เหตกุ ารณ์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผู้กระทา� และผถู้ กู กระทา� ท่เี กดิ ขึ้นมากทส่ี ุด 3 อนั ดบั แรก คอื ระหว่าง สามีกับ ภรรยา จา� นวน 1,106 เหตกุ ารณ ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.87 รองลงมา คอื ระหวา่ งบดิ ามารดากระทา� ตอ่ บตุ ร จา� นวน 620 เหตกุ ารณ ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.64 และปู่/ย่า/ตา/ยายกระทา� กบั หลาน จ�านวน 94 เหตกุ ารณ์ คดิ เป็นร้อยละ 4.49 0

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ดา้ นความรุนแรงในครอบครัว สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผ้ถู กู กระทาำ ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 ตารางที่ 13 แสดงจ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว จ�าแนกตามสถานท่ีเกิดเหตุจากระบบ านข้อมูล ภายใต้เวบ็ ไ ต์ . .. สถานท่ี จา� นวน จา� นวนผกู้ ระท�า ราย) จ�านวนผถู้ กู กระทา� ราย) เกดิ เหตุ เหตกุ ารณ์ ชาย หญงิ ไม่ระบุ รวม ชาย หญงิ ไมร่ ะบุ รวม 1 8 2 11 ถนนหรอื ทางหลวง 13 10 1 0 11 3 8 1 12 นา/ไร่/สวน 12 10 1 1 12 2 1 0 3 ในปา่ /ทเี่ ปลยี่ ว/บ้านร้าง 4 2 2 0 4 35 151 4 190 บา้ นคนอน่ื 190 153 30 3 1 6 0 00 0 บา้ นเด็ก 0 0 0 0 0 272 1,151 40 1 463 บา้ นตนเอง 1,493 1,141 221 44 1 406 0 00 0 โรงงาน 0 0 0 0 0 0 4 0 4 โรงเรียน 4 1 3 0 4 0 4 0 4 โรงแรม 4 4 0 0 4 0 22 1 23 สถานที่ทา� งาน 24 22 0 1 23 0 10 1 สถานทเี่ รยี น 1 1 0 0 1 0 10 1 สถานบันเทงิ 1 1 0 0 1 0 00 0 สถานเล้ยี งเด็ก 0 0 0 0 0 0 00 0 สนามกี า 0 0 0 0 0 0 3 1 4 สวนสาธารณะ 4 4 0 0 4 6 45 2 53 หอพัก 55 44 6 3 53 0 3 0 3 หา้ งสรรพสนิ ค้า 4 3 0 0 3 64 226 10 300 อืน่ ๆ ไม่ระบุ 305 231 47 7 2 5 3 3 1 62 61 2 072 รวม 2 114 1 627 311 59 1 997 ข้อมูลจากตารางท่ี 13 แสดงข้อมูลสถานที่เกิดเหตุความรุนแรงในครบครัว ปี 2564 พบว่า ในจ�านวนผู้ถูกกระท�า ความรนุ แรงตามสถานทตี่ า่ ง ๆ จา� นวน 2,114 เหตกุ ารณ ์ เกดิ เหตกุ ารณก์ ารกระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั มากทสี่ ดุ 3 อนั ดบั แรก คือ บ้านตนเอง จ�านวน 1,493 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 70.62 รองลงมา คือ บ้านคนอื่น จ�านวน 190 เหตุการณ ์ คิดเป็นร้อยละ 8.99 และหอพกั จา� นวน 55 เหตุการณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 2.60 1

กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ ตารางท่ี 14 แสดงจา� นวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ประจา� ปี 2564 จา� แนกตามภมู ภิ าคทม่ี กี ารบนั ทกเหตกุ ารณ์ จากระบบ านข้อมลู ภายใตเ้ ว็บไ ต์ . .. ภมู ิภาค จา� นวน จา� นวนผูก้ ระทา� ราย) จ�านวนผูถ้ กู กระท�า ราย) กลาง เหตุการณ์ ชาย หญิง ไมร่ ะบุ รวม ชาย หญิง ไม่ระบุ รวม ตะวนั ออกเฉียงเหนอื เหนอื 648 497 109 14 620 121 519 15 655 ใต้ 521 379 64 23 466 83 361 26 470 ไมร่ ะบุ 517 413 84 9 506 96 416 7 519 393 304 50 8 362 77 308 8 393 รวม 4 ภาค 35 58 4 4 66 5 25 3 33 2 114 1 651 311 5 2 020 33 2 1 629 59 2 070 ตารางที่ 15 แสดงจ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ประจ�าปี 2564 จ�าแนกตามภูมิภาคและจังหวัดจาก ระบบ านขอ้ มูล ภายใตเ้ วบ็ ไ ต์ . .. ที่ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเ ียงเหนอื ภาคเหนอื ภาคใต้ จา� นวน จา� นวน จ�านวน จ�านวน เหตกุ ารณ์ จังหวัด เหตกุ ารณ์ จงั หวดั เหตุการณ์ จงั หวดั เหตกุ ารณ์ จังหวัด 1 กรุงเทพมหานคร 88 กา สนิ ธ ุ์ 0 กา� แพงเพชร 9 กระบ ่ี 44 2 กาญจนบุรี 41 ขอนแกน่ 71 เชยี งราย 53 ชุมพร 19 3 จันทบรุ ี 5 ชัยภูม ิ 41 เชียงใหม่ 53 ตรัง 12 4 ฉะเชิงเทรา 22 นครพนม 15 ตาก 25 นครศรีธรรมราช 39 5 ชลบุรี 20 นครราชสีมา 16 นครสวรรค์ 21 นราธิวาส 9 6 ชัยนาท 17 บงึ กา 8 นา่ น 43 ปตั ตานี 19 7 ตราด 10 บรุ ีรัมย ์ 41 พะเยา 18 พงั งา 21 8 นครนายก 24 มหาสารคาม 42 พิจติ ร 38 พัทลงุ 11 9 นครปฐม 4 มุกดาหาร 25 พิษณุโลก 23 ภเู ก็ต 39 10 นนทบรุ ี 12 ยโสธร 4 เพชรบรู ณ ์ 32 ยะลา 4 11 ปทมุ ธานี 38 รอ้ ยเอด็ 51 แพร่ 29 ระนอง 35 12 ประจวบคีรีขันธ์ 13 เลย 10 แม่ อ่ งสอน 43 สงขลา 46 13 ปราจนี บรุ ี 4 ศรสี ะเกษ 25 ลา� ปาง 12 สตูล 24 14 พระนครศรีอยธุ ยา 27 สกลนคร 19 ลา� พูน 44 สรุ าษฎรธ์ าน ี 71 15 เพชรบรุ ี 18 สุรนิ ทร์ 27 สุโขทยั 10 2

รายงานข้อมลู สถานการณ์ ด้านความรุนแรงในครอบครัว สาำ หรับการรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผถู้ กู กระทำาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 ท่ี ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเ ยี งเหนือ ภาคเหนือ ภาคใต้ จ�านวน จา� นวน จา� นวน จา� นวน เหตุการณ์ จงั หวดั เหตุการณ์ จงั หวัด เหตกุ ารณ์ จังหวดั เหตุการณ์ จงั หวัด 16 ระยอง 6 หนองคาย 19 อตุ รดิตถ ์ 23 17 ราชบรุ ี 70 หนองบวั ลา� ภู 15 อุทัยธาน ี 41 18 ลพบุรี 24 อา� นาจเจรญิ 0 19 สมุทรปราการ 23 อดุ รธานี 39 20 สมทุ รสาคร 37 อบุ ลราชธาน ี 53 21 สมทุ รสงคราม 10 22 สระแก้ว 13 23 สระบุรี 33 24 สิงห์บรุ ี 18 25 สพุ รรณบุร ี 34 26 อา่ งทอง 37 35 รวม 64 รวม 521 รวม ไม่ระบุ 42 517 รวม หมายเหตุ ไม่ระบุ เปนเหตุการณท์ เี่ กิดข้นแล้วไมส่ ามารถระบจุ ังหวัดได้ รวมท้ังส้นิ 2 114 ข้อมลู จากตารางท ี่ 14 แสดงจา� นวนเหตุการณค์ วามรนุ แรงในครอบครัว ประจ�าปี 2564 จา� แนกตามภมู ิภาค จา� นวน 76 จังหวดั และกรุงเทพมหานคร มจี �านวนรวมท้ังส้ิน 2,114 เหตกุ ารณ์ ภมู ิภาคทม่ี ีสถิตเิ หตกุ ารณค์ วามรนุ แรงมากท่ีสุด คือ ภาคกลาง มจี �านวน 648 เหตกุ ารณ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.65 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ�านวน 521 เหตกุ ารณ์ คิดเป็นร้อยละ 24.65 ภาคเหนือ จ�านวน 517 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 24.46 ภาคใต้ จ�านวน 393 เหตุการณ์ คิดเป็น รอ้ ยละ 18.59 และไม่ระบภุ าค จ�านวน 35 เหตกุ ารณ ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.66 และข้อมูลจากตารางที่ 15 ในแต่ละภาคมีจังหวัดท่ีมีเหตุการณ์ความรุนแรงมากท่ีสุด โดยในภาคกลาง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร มีจ�านวน 88 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 4.16 ภาคเหนือ คือ เชียงรายและเชียงใหม่ มีจ�านวนจังหวัดละ 53 เหตกุ ารณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 2.50 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื คอื ขอนแก่น มีจา� นวน 71 เหตกุ ารณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 3.35 และภาคใต้ คอื สรุ าษฎร์ธาน ี มจี �านวน 71 เหตกุ ารณ ์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.35 33

กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ ตารางท่ี 16 แสดงจ�านวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ประจ�าปี 2564 จ�าแนกตามจังหวดั 10 จังหวดั จากระบบ านขอ้ มลู ภายใต้เว็บไ ต์ . .. อนั ภมู ิภาค จ�านวน จา� นวนผ้กู ระทา� ราย) จ�านวนผถู้ ูกกระทา� ราย) ดับ เหตกุ ารณ์ ชาย หญิง ไมร่ ะบุ รวม ชาย หญิง ไม่ระบุ รวม 1 กรงุ เทพมหานคร 88 67 15 1 83 20 63 2 85 2 ขอนแกน่ 71 61 6 2 69 14 53 2 69 3 สรุ าษฎร์ธาน ี 71 46 11 6 63 11 50 7 68 4 ราชบุรี 70 49 13 1 63 14 53 3 70 5 เชยี งราย 53 43 9 1 53 7 46 0 53 6 เชียงใหม ่ 53 36 14 2 52 17 36 2 55 7 อบุ ลราชธาน ี 53 45 7 0 52 10 43 0 53 8 ร้อยเอ็ด 51 40 9 1 50 8 40 2 50 9 สงขลา 46 26 2 0 28 13 35 0 48 10 กระบ่ ี 44 39 5 0 44 6 38 0 44 รวม 76 จังหวัด 2 114 1 61 311 5 1 9 7 3 2 1 629 59 2 070 และ กทม. ข้อมูลจากตารางที่ 16 แสดงให้เห็นว่า เหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวที่มีการบันทึกข้อมูลจ�านวนมากที่สุด 10 อันดับแรก ซึ่งพบว่า ล�าดับแรก คือ กรุงเทพมหานคร จ�านวน 88 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ 4.16 รองลงมา คือ ขอนแกน่ และสุราษฎร์ธาน ี จา� นวนจังหวัดละ 71 เหตุการณ์ คดิ เปน็ ร้อยละ 3.35 และราชบุร ี จา� นวน 71 เหตกุ ารณ ์ คดิ เป็น ร้อยละ 3.35 ของจ�านวนเหตุการณ์ทั้งหมด ท้ังน้ี ข้อมูลจากตารางยังแสดงถึงเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว พบว่า ผูก้ ระท�าความรุนแรงฯ จา� นวนทั้งสิ้น 1,987 ราย ส่วนใหญเ่ ป็นเพศชาย จ�านวน 1,618 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.43 รองลงมา คือ เพศหญงิ จา� นวน 311 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.65 และไม่ได้ระบ ุ จา� นวน 58 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.92 ของผ้กู ระทา� ความรนุ แรงท้งั หมด ส่วนดา้ นผถู้ กู กระทา� ความรุนแรงฯ จ�านวนทัง้ สน้ิ 2,070 ราย พบวา่ ผู้ถกู กระทา� ความรนุ แรงส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จา� นวน 1,629 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.70 รองลงมา คอื เพศชาย จ�านวน 382 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.45 และ ไมไ่ ดร้ ะบุ จ�านวน 59 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.85

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ด้านความรนุ แรงในครอบครัว สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผ้ถู กู กระทาำ ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 15) กำรสำ� รวจสถำนกำรณค์ รอบครวั ทยในชว่ งกำรระบำดของ รคตดิ ชอ วรสั ค รนำ 201 ( 1) 15.1 รายงานผลการสา� รวจสถานการณค์ รอบครวั ไทยในชว่ งการระบาดของ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั ค รนา 2019 19) ในปี 2564 ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้ด�าเนินการส�ารวจสถานการณ์ครอบครัวไทยในช่วง การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รว่ มกบั นดิ า้ โพล สถาบนั พฒั นบรหิ ารศาสตร ์ ( IDA) โดยดา� เนนิ การส�ารวจ ในช่วงเดือนกรกฎาคม - สงิ หาคม 2564 ด้วยวิธกี ารสมั ภาษณท์ างโทรศพั ท์ ( ele hone S rve ) และมีผ้ตู อบ แบบสา� รวจ จา� นวน 2,508 ตวั อยา่ ง เพอื่ นา� ผลส�ารวจทไ่ี ดม้ าก�าหนดนโยบาย มาตรการ และแนวทางในการด�าเนินงานปอ้ งกัน และช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหาของครอบครัว และบริบทของพ้ืนท่ีทั่วประเทศ รวมท้ังเผยแพร่ประชาสมั พันธแ์ ละสนับสนนุ ขอ้ มลู ให้แกห่ น่วยงานที่เก่ยี วข้อง สรปุ ผลได้ดงั นี้ ส่วนข้อมลู ดา้ นสถานการณ์ครอบครวั ไทยในชว่ งการระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) พบวา่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ร้อยละ 94.78 และไมไ่ ดร้ ับผลกระทบ ร้อยละ 5.22 โดยในจ�านวนท่ีไดร้ ับผลกระทบนนั้ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่จะมีรายได้ลดลง ร้อยละ 63.40 รองลงมา คือ สุขภาพจิตเส่ือมโทรม ร้อยละ 54.19 และค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 47.03 ส่ิงที่ท�าให้รู้สึกวิตกกังวล จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) คือ สุขภาพ/การรักษาพยาบาล/ การป้องกันตัว รอ้ ยละ 39.19 รองลงมา คอื การเงนิ รายได ้ คา่ ใชจ้ ่าย ร้อยละ 38.88 และอาชีพ การท�ามาหากนิ รอ้ ยละ 13.48 สว่ นขอ้ มลู การสา� รวจสถานการณค์ วามรนุ แรงภายในครอบครวั ไทยในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) พบว่า สว่ นใหญ่ไมเ่ คยเกิดความรุนแรงในครอบครวั รอ้ ยละ 89.31 และเกิดความรุนแรงในครอบครวั ร้อยละ 10.69 โดยในจ�านวนท่ีเกิดความรุนแรงมีพ ติกรรมและความถี่ของความรุนแรงในครอบครัวในช่วงก่อนการระบาด COVID - 19 และชว่ งระหวา่ งการระบาด COVID - 19 ดงั น้ี 1) ด้านจติ ใจ พบว่า มีการกระทา� ด้านจิตใจบา้ งเป็นบางคร้ัง และมีการกระทา� เปน็ ประจา� เพ่ิมสูงขนึ้ ไดแ้ ก ่ การตวาด ตะคอก ด่าวา่ ดว้ ยค�าหยาบคาย การพูดจาดูถกู เหยยี ดหยาม เยาะเย้ย ทับถม พูดพาดพงิ ถงึ ภูมิหลงั หรอื ลอ้ เลยี น การละเลย ไมด่ ูแลเอาใจใส ่ เพกิ เฉย เย็นชา การขม่ ข ู่ และประจานหรือประณาม 2) ด้านร่างกาย พบว่า มกี ารกระท�าด้านรา่ งกายบ้างเปน็ บางครั้ง แต่เกดิ เหตุการณ์น้อย ไดแ้ ก่ การท�ารา้ ยด้วยก�าลัง การท�ารา้ ยด้วยอาวุธ และการกักขัง หน่วงเหน่ยี ว 3) ด้านเพศ พบวา่ ยังคงมีการกระท�าด้านเพศบ้างเปน็ บางคร้งั แต่เกดิ เหตกุ ารณ์น้อย ได้แก่ การกดดัน ข่มข่ ู คกุ คาม ให้ตอ้ งยอมมีเพศสมั พันธ์ดว้ ย การท�าอนาจาร และการใช้กา� ลงั บังคับ ส�าหรับสาเหตุส�าคัญท่ีท�าให้เกิดความรุนแรงในครอบครัวในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ส่วนใหญ ่ คือ รายไดล้ ดลง รองลงมา คอื ความเครียดจากการท�างาน และมภี าระหนี้สนิ ตามล�าดับ หากเกดิ เหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงภายในครอบครวั สว่ นใหญจ่ ะขอรบั ความชว่ ยเหลอื จากพอ่ แม ่ พ ี่ นอ้ ง ญาต ิ สมาชกิ อนื่ ๆ ในครอบครัว เปน็ ล�าดบั แรก ร้อยละ 53.92 รองลงมา คอื เจ้าหน้าทีต่ �ารวจ ร้อยละ 19.87 และผู้ใหญ่ทเ่ี คารพนบั ถอื รอ้ ยละ 7.99 โดยหนว่ ยงานทจี่ ะขอรบั ความชว่ ยเหลอื เปน็ ลา� ดบั แรก คอื สถานตี า� รวจ รอ้ ยละ 67.14 รองลงมา คอื ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม (สายด่วน 1300) รอ้ ยละ 16.88 ส�านักงานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวดั ร้อยละ 4.93 และองคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ (อบจ./เทศบาล/อบต.) รอ้ ยละ 4.63 ซง่ึ ชอ่ งทางในการขอรบั ความชว่ ยเหลอื พบวา่ สว่ นใหญจ่ ะขอรบั ความชว่ ยเหลอื ผา่ นช่องทางโทรศัพท ์ สายด่วนต่าง ๆ เช่น สายด่วน 1300 สายด่วน 1669 สายดว่ น 191 ร้อยละ 90.14 รองลงมา คือ เฟซบกุ ร้อยละ 26.66 และหนงั สอื รอ้ งเรียน ร้องทกุ ข ์ รอ้ ยละ 9.56 35

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ ส�าหรับส่งิ ท่ีต้องการให้หน่วยงานชว่ ยเหลือหากเกิดเหตกุ ารณค์ วามรุนแรงภายในครอบครวั พบวา่ สว่ นใหญ่ตอ้ งการ ให้หน่วยงานช่วยเหลือเรื่องการระงับเหตุทันที ร้อยละ 73.79 รองลงมา คือ สอบถามพูดคุย รับฟังปัญหา ให้ค�าปรึกษา ใหก้ �าลังใจ ร้อยละ 50.63 และอ�านวยความสะดวกใหอ้ ยู่ในท่ีปลอดภัย ร้อยละ 42.94 15.2 รายงานการส�ารวจระดบั ประเทศ ความรุนแรงในครอบครวั ภายใต้สถานการณ์การระบาด รค ควดิ 19 ระหว่างปี 2563 - 2564 คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้จัดท�าโครงการส�ารวจสุขภาพผู้หญิงและ บุคคลในครอบครัวภายใต้สถานการณ์การระบาดโควิด-19 โดยได้รับการสนับสนุนจากส�านักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) วัตถุประสงค์เพ่ือส�ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อผู้หญิงและบุคคลในครอบครัว ภายใต้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เพ่ือส่ือสารรณรงค์ให้สังคมมีความตระหนัก รู้เท่าทัน และไม่เพิกเฉยต่อปัญหา ความรุนแรงต่อผู้หญิงและบุคคลในครอบครัว ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และเพื่อพัฒนาข้อเสนอ เชงิ นโยบายระดับประเทศเพ่ือการช่วยเหลือ ป้องกัน เยยี วยาผู้หญงิ และบคุ คลในครอบครัวที่ไดร้ บั ผลกระทบจากความรุนแรง ในบรบิ ทครอบครวั ภายใตส้ ถานการณข์ องโรคอบุ ตั ใิ หม ่ วธิ กี ารสา� รวจการสา� รวจสขุ ภาพของครอบครวั ในสถานการณก์ ารระบาด ของโรคโควดิ -19 เพือ่ ทราบความชกุ ของปรากฏการณ์ความรนุ แรงต่อผ้หู ญงิ และบคุ คลในครอบครวั ในสถานการณ์การระบาด ของโรคโควิด-19 (โดยการสุ่มตวั อยา่ งประชากร) เป็นการส�ารวจภาคตดั ขวางในประชาชนไทย ( o lation- ase cross sectional s rve ) โดยใชว้ ธิ กี ารสัมภาษณ์แบบตอ่ หน้า ( ace-to- ace interview) สา� รวจในครัวเรือนทีส่ มุ่ ได ้ (ho sehol s rve ) โดยเกบ็ ขอ้ มูลคร้ังท่ี 1 ในชว่ งการระบาดเดอื นมกราคม - พ ษภาคม 2563 กลุ่มตัวอยา่ ง จ�านวน 1,285 ครวั เรอื น และครง้ั ท ี่ 2 ในชว่ งการระบาดเดอื นกรกฎาคม 2563 - มกราคม 2564 การส�ารวจกลุ่มตวั อยา่ ง จา� นวน 1,241 ครัวเรือน ซึง่ เป็นกลุ่มตัวอยา่ งเดมิ กบั การส�ารวจครงั้ แรก สรุปผล คือ ลกั ษณะของครวั เรอื นเป็นครอบครวั เด่ียว มรี ้อยละ 52.5 ซ่ึงมจี �านวนสมาชิกในครวั เรอื นเฉลีย่ 4 คน รอ้ ยละ 47.2 มเี ดก็ อายตุ า�่ กวา่ 15 ป ี อาศยั อยดู่ ว้ ย ประเดน็ รายไดค้ รอบครวั เฉลย่ี พบวา่ เมอ่ื วกิ ตเิ กดิ การระบาดของโรคโควดิ -19 ครอบครวั ส่วนใหญ่มรี ายไดต้ �่ากวา่ 10,000 บาท/เดือน มีร้อยละ 66.0 ส่วนใหญร่ ายไดไ้ มพ่ อใช ้ มีรอ้ ยละ 64.8 ครอบครวั ได้รบั ผลกระทบ ดา้ นการทา� งานถงึ รอ้ ยละ 86.5 ครอบครวั ไดร้ บั ผลกระทบทางเศรษฐกจิ มากและรนุ แรงถงึ รอ้ ยละ 40.6 ชว่ งทม่ี สี ถานการณก์ าร แพร่ระบาดโรคโควดิ -19 (เดอื นมกราคม - พ ษภาคม 2563) พบว่า ครอบครัวรอ้ ยละ 86.5 ได้รบั ผลกระทบทางด้านการงาน โดยร้อยละ 74.6 ได้รบั ผลกระทบจากการท่รี ายได้ลดลง จากผลกระทบดงั กลา่ ว ร้อยละ 40.6 ทคี่ รอบครวั ประเมนิ ว่าไดร้ ับ ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ ระดบั มากและรนุ แรง ในชว่ งทคี่ รอบครวั มคี วามเครยี ด ครอบครวั รอ้ ยละ 81.7 ไมท่ ราบวธิ หี รอื ไมม่ แี นวทาง ว่าต้องท�าอย่างไร โดยที่มีร้อยละ 4.4 ที่มีสมาชิกในครอบครัวมีความคิด ่าตัวตาย และร้อยละ 81.6 มีการพูดคุยกันหา แนวทางการแกป้ ัญหา ปัจจัยที่มีความสมั พนั ธ์กบั การเกิดความรุนแรงตอ่ ผู้หญิงและบคุ คลในครอบครัว ได้แก่ ลกั ษณะรายได้ ของครอบครวั ไมพ่ อใช ้ พบความชกุ มากกวา่ ครอบครวั ทมี่ รี ายไดพ้ อใช ้ พบวา่ 1) ในชว่ งการระบาดของโรคโควดิ -19 ครอบครวั ทม่ี ี เดก็ อายตุ า�่ กวา่ 15 ป ี มคี วามชกุ มากกวา่ ครอบครวั ทไี่ มม่ เี ดก็ เลก็ พกั อาศยั ดว้ ย 2) ครอบครวั ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบทางเศรษฐกจิ มาก และรนุ แรง มคี วามชกุ ในการเกดิ ความรนุ แรงมากกวา่ 3) ครอบครวั ทม่ี คี วามรนุ แรงพบวา่ มรี ะดบั ความเครยี ดสงู กวา่ ครอบครวั ทไ่ี มม่ คี วามรนุ แรง และ 4) ครอบครวั ทมี่ กี ารพดู คยุ กนั หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หา พบความชกุ ในการเกิดความรนุ แรงนอ้ ยกวา่ ครอบครัวท่มี กี ารพดู คยุ แต่เกดิ การขดั แยง้ กัน และ 5) ครอบครัวทม่ี ีสมาชกิ คนใดคนหนง่ึ สูบบุหรี่ ด่มื สุรา หรอื ใช้สารเสพตดิ อ่นื ๆ มีความชุกของความรุนแรงในครอบครัวมากกวา่ ครอบครัวท่ีไม่มกี ารใชส้ ารเสพติด ข้อเสนอแนะของรายงานฉบับนี้ ได้แก่ ประการแรก ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เช่น กลุ่มที่มีความเส่ียง จะเกิดความรุนแรงในครอบครัวควรได้รับมาตรการเยียวยา มาตรการเยียวยาควรสนับสนุนทางสังคม/ เศรษฐกิจที่ยั่งยืน การสนับสนุนทุนในการประกอบอาชีพใหม่/ การให้ทุนโดยไม่ต้องกู้ โดยเน้นการพ่ึงพาตนเอง การมีกฎระเบียบ/ กฎหมาย มอบหมายงานความรับผิดชอบให้ชัดเจน การควรจัดท�าแนวทางในการดูแลผู้มีพ ติกรรม เส่ียงเกิดความรุนแรงในครอบครัว และประการท่ีสอง ข้อเสนอแนะหน่วยงานในพื้นท่ี เช่น การส่งเสริมการมีส่วนร่วมการแก้ไขปัญหาอย่างบูรณการท้ังในภาวะ ปกตแิ ละภาวะวิก ติ และการส่งเสรมิ การรณรงคส์ ร้างความสัมพันธ์ในครอบครวั

รายงานข้อมลู สถานการณ์ ดา้ นความรุนแรงในครอบครวั สาำ หรับการรายงานตามมาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญัติคุ้มครองผ้ถู กู กระทำาด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจำาปี 2564 1 ) ตวั อยำ่ งกรณศก ำ ควำมรุนแรงในครอบครัวในช่วง พ.ศ. 25 25 1) กรณตี วั อย่าง 1 กรณีสามที า� รา้ ยร่างกาย บังคบั ข่มขู่ ไม่ส่งเสยี เล้ยี งดู 1.1) สถานการณค์ วามรนุ แรง ภรรยา (ผถู้ กู กระทา� ฯ) และสาม ี (ผกู้ ระทา� ฯ) อยกู่ นิ กนั ฉนั สามภี รรยาโดยไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นสมรส เปน็ ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน มบี ุตรด้วยกนั 1 คน อายุ 4 เดอื น ภรรยาถูกกระทา� ความรนุ แรงในครอบครวั จากสาม ี ซึ่งมพี ตกิ รรมบังคบั ขม่ ขู่ให้อยู่แต่ในบ้านเพ่ือเลย้ี งดบู ุตร ไม่สง่ เสยี เลี้ยงดตู นเองและบุตร มปี ากเสียงท�าร้ายร่างกายบ่อยครัง้ จึงขอความชว่ ยเหลอื จากส�านักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั กาญจนบุร ี 1.2) สาเหตุการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว พ ตกิ รรมนอกใจ และผู้กระทา� มภี รรยาใหม่โดยเปดเผย 1.3) การด�าเนินการช่วยเหลอื กรณคี วามรุนแรงในครอบครัว 1) การรบั แจง้ เหตแุ ละการสอบขอ้ เท็จจริง เม่ือวันท่ี 10 กรกฎาคม 2563 ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับเร่ืองขอความช่วยเหลือจากภรรยา (ผู้ถูกกระท�าฯ) อายุ 23 ปี ถูกสามี (ผู้กระท�าฯ) อายุ 25 ปี กระท�าความรนุ แรง สา� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั กาญจนบรุ ี มอบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ทฯ่ี ดา� เนนิ การ ประสานศูนย์ปฏิบัติการเทศบาลต�าบล ลงเย่ียมผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัว เม่ือวันที่ 5 สิงหาคม 2563 ณ จงั หวดั กาญจนบรุ ี พบผถู้ กู กระทา� ฯ และบตุ ร ซง่ึ อาศยั ในบา้ นพกั มสี ภาพเปน็ บา้ นพกั สองชน้ั หลงั คามงุ ดว้ ยกระเบอ้ื ง ภายใน บ้านชั้นท่สี องมีห้องนอน 2 หอ้ ง ชัน้ ล่างมีห้องนง่ั เล่น 1 ห้อง หอ้ งน้�า 1 ห้อง และหอ้ งครัว 1 ห้อง มีการดูแลและจดั เกบ็ ส่งิ ของ เป็นระเบียบ สภาพบ้านมน่ั คงแข็งแรงปลอดภยั ผถู้ กู กระท�าฯ ได้ให้ขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ ปจั จบุ นั ผู้ถกู กระทา� ฯ ไมไ่ ด้ประกอบอาชีพ เน่ืองจากต้องเล้ียงดูบุตรวัย 4 เดือน โดยได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด เดือนละ 600 บาท มีค่าใช้จ่ายท่ีต้อง รับผดิ ชอบค่าครองชพี ประจ�าวนั และคา่ เลี้ยงดูบตุ ร ภายหลงั จากสา� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั กาญจนบรุ ี ไดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลอื และ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกาญจนบุรี ออกค�าส่ังคุ้มครองสวัสดิภาพ ผู้ถูกกระท�าฯ ได้พาบุตรมาอาศัยอยู่กับมารดา ท่ีบา้ นพักของบิดาเล้ียง โดยผกู้ ระทา� ฯ ไมไ่ ด้มีการกระท�าความรนุ แรงกบั ผูถ้ ูกกระทา� ฯ อกี และรบั ทราบภายหลงั วา่ ผกู้ ระทา� ฯ ไดพ้ าภรรยาใหม่เขา้ มาอาศัยในบา้ นทเ่ี กดิ เหตุ 2) การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพ ส�านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาญจนบุรี ได้ให้ค�าแนะน�าปรึกษาแนวทาง การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทา� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 พรอ้ มทงั้ ประสานสง่ ตอ่ ยังศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกาญจนบุรี เพื่อร้องขอค�าสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชน และครอบครวั และวธิ พี ิจารณาความศาลเยาวชนและครอบครวั พ.ศ. 2553 แบบฉกุ เฉนิ โดยศาลออกค�าสงั่ คุ้มครองสวสั ดภิ าพ เม่ือวันท่ี 13 กรกฎาคม 2563 และได้ประสานศูนย์ปฏิบัติการเทศบาลตา� บล เฝ้าระวังไม่ให้เกิดการกระท�าซ�้า และวางแผน ตดิ ตามเยย่ี มบ้านประเมินครอบครวั เพอื่ วางแผนให้การชว่ ยเหลือคุม้ ครองสวัสดภิ าพ ตามค�าสง่ั ศาลเป็นระยะเวลา 6 เดือน 3) การติดตาม สา� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั กาญจนบรุ ี ไดด้ า� เนนิ การตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ติ าม ค�าสงั่ คุม้ ครองสวัสดิภาพ พร้อมรายงานผลต่อศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั กาญจนบุรี 37

กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ 2) กรณตี ัวอยา่ งท่ี 2 ภรรยาถกู สามที �าร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัส 2.1) สถานการณ์ความรนุ แรง ภรรยา (ผู้ถกู กระทา� ฯ) อย่กู ินฉันสามภี รรยาโดยไมไ่ ด้จดทะเบียนสมรส กับสาม ี (ผกู้ ระทา� ฯ) เปน็ เวลา 2 ป ี ไม่มีบุตรรว่ มกัน ผ้กู ระทา� ฯ และผถู้ ูกกระท�าฯ ประกอบอาชพี ขับรถสง่ สนิ ค้า มีรายได้รวมกันเดือนละ 20,000 บาท ผ้กู ระทา� ฯ มพี ติกรรมติดสุรา ยาเสพตดิ อารมณร์ ้อน หึงหวง และหวาดระแวงวา่ ผถู้ ูกกระท�าฯ แอบคยุ กับชายอืน่ เป็นเหตุให้ทะเลาะกนั เปน็ ประจา� วนั ท ่ี 2 มนี าคม 2563 ผกู้ ระทา� ฯ ขอเงนิ จากผถู้ กู กระทา� ฯ แตผ่ ถู้ กู กระทา� ฯ ไมม่ ใี ห ้ ผกู้ ระทา� ฯ กลา่ วหาวา่ ผถู้ กู กระทา� ฯ จะน�าเงินเก็บไว้ใชก้ บั ชายอ่นื จงึ ท�ารา้ ยรา่ งกายผ้ถู กู กระท�าฯ โดยใชเ้ ทา้ เตะและถบี บรเิ วณใบหนา้ พรอ้ มข่มข่วู า่ หา้ มแจ้งความ หลังจากนน้ั ผ้กู ระทา� ฯ ได้ออกไปทา� งานตามปกต ิ ผถู้ ูกกระทา� ฯ จึงโทรศพั ท์ขอความช่วยเหลือจากศูนยเ์ อราวณั ใหม้ ารับตวั สง่ โรงพยาบาลลาดกระบงั แพทย์ฉายภาพรังสีกระดูกขากรรไกรพบความผิดปกติ จึงส่งตวั เขา้ รับการรักษาทโ่ี รงพยาบาลสิรินธร แพทยว์ ินจิ ฉัยกระดูกขากรรไกรล่างหัก 2 จุด (กระดูกมุมกรามขวาหกั และกระดกู รอยตอ่ บริเวณปลายคางหกั ) 2.2) สาเหตุการกระทา� ความรนุ แรงในครอบครัว พ ติกรรมการติดสุรา ยาเสพติด ร่วมกับสภาวะอารมณ์รุนแรง หึงหวงและหวาดระแวงว่าผู้ถูกกระทา� ฯ จะมชี ายอ่นื 2.3) การดา� เนินการชว่ ยเหลอื กรณคี วามรนุ แรงในครอบครวั 1) การรบั แจ้งเหตุและการสอบขอ้ เท็จจริง เม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2563 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 ได้ประสานทางโทรศัพท์มายังศูนย์ปฏิบัติการ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว เพ่ือลงพ้ืนที่ให้ความช่วยเหลือคุ้มครองสวัสดิภาพภรรยา (ผู้ถูกกระท�าฯ) อายุ 30 ปี ถูกสาม ี (ผู้กระทา� ฯ) ท�าร้ายรา่ งกายในพ้ืนทีก่ รงุ เทพมหานคร หลังจากผู้ถูกกระท�าฯ ออกจากโรงพยาบาล เจ้าหน้าท่ีศูนย์ปฏิบัติการ ฯ เข้าสอบข้อเท็จจริงผู้ถูกกระ ท�าฯ พรอ้ มแจง้ สิทธิตามพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองผู้ถูกกระทา� ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ณ บ้านพกั เด็กและ ครอบครัวจงั หวัดสมทุ รปราการ ผถู้ กู กระท�าฯ แจง้ วา่ ตอ้ งการดา� เนนิ คดใี หถ้ งึ ทส่ี ุด หลังจากดา� เนนิ คดีแลว้ จะกลบั ไปอยู่บ้านท่ี จงั หวัดสรุ ินทร์ 2) การคุ้มครองสวัสดิภาพ เจ้าหน้าท่ีศูนย์ปฏิบัติการฯ น�าส่งผู้ถูกกระท�าฯ เข้ารับการคุ้มครองสวัสดิภาพชั่วคราว ณ บ้านพักเด็ก และครอบครวั จังหวดั สมุทรปราการ พร้อมท้งั น�าผู้ถูกกระท�าฯ เขา้ แจ้งความรอ้ งทุกขด์ �าเนินคดี (ขอ้ หาทา� ร้ายรา่ งกายผู้อน่ื จน เปน็ เหตใุ ห้ผู้อนื่ ได้รับอันตรายสาหัส และความรนุ แรงในครอบครวั ) ณ สถานตี า� รวจนครบาลจระเขน้ ้อย และเจ้าหนา้ ท่ีตา� รวจ ไดล้ งพื้นท่ีเพอ่ื ช้ีจดุ เกดิ เหตุประกอบสา� นวนคด ี จากกรณีท่ีผู้ถูกกระท�าฯ ประสงค์จะกลับไปอยู่บ้านที่จังหวัดสุรินทร์ เจ้าหน้าท่ีบ้านพักเด็กและ ครอบครัวจังหวัดสมุทรปราการ ได้ประสานเจ้าหนา้ ทบี่ ้านพกั เด็กและครอบครัวจังหวัดสุรินทร์ ลงพ้ืนท่เี ย่ียมบ้านผูถ้ กู กระทา� ฯ ในจังหวัดสรุ นิ ทร ์ เพอ่ื ประเมนิ ความพรอ้ มและเตรียมการวางแผนกลับคืนส่คู รอบครวั 3) การตดิ ตามผล ระหว่างท่ีผู้ถกู กระท�าฯ กลับไปอยบู่ ้านท่จี งั หวัดสุรนิ ทร์ ผู้กระท�าฯ พยายามติดตอ่ เพอื่ ขอโทษและขอคนื ดี แตผ่ ถู้ ูกกระทา� ฯ ไม่กลบั ไปคืนดดี ้วย หลังจากอย่บู า้ นทจี่ งั หวดั สรุ ินทร์เปน็ เวลา 2 เดอื น ผถู้ กู กระทา� ฯ ได้กลับมาทา� งานและพัก อาศยั ทจี่ ังหวดั สมุทรปราการ วนั ท ี่ 10 พ ศจกิ ายน 2563 ศาลอาญามนี บรุ พี พิ ากษาจา� คกุ ผกู้ ระทา� โดยไมร่ อลงอาญา เนอ่ื งจากผกู้ ระทา� ฯ มีพ ตกิ รรมทีไ่ ม่มคี วามสา� นึกผิดและผดิ นัดศาล พรอ้ มทง้ั ไมม่ ีการบรรเทาทุกข์แกภ่ รรยา 38

รายงานขอ้ มูลสถานการณ์ ด้านความรุนแรงในครอบครวั สำาหรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบัญญัติคุ้มครองผูถ้ ูกกระทำาด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 3) กรณตี ัวอย่างท่ี 3 สามีชอบดุด่า ทา� รา้ ยร่างกาย 3.1) สถานการณ์ความรุนแรง ภรรยา (ผถู้ กู กระทา� ฯ) มปี ญั หาทะเลาะววิ าทกบั สาม ี (ผกู้ ระทา� ฯ) เปน็ ประจา� เนอ่ื งจากผกู้ ระทา� ฯ มนี สิ ยั เจา้ ช ู้ อารมณ์รอ้ น ชอบดดุ ่า และทา� รา้ ยรา่ งกายบ่อยครัง้ เม่อื ผ้ถู กู กระทา� ฯ ขอแยกทางทา� ใหผ้ กู้ ระทา� ฯ ไมพ่ อใจท�าลายทรัพย์สิน ในบา้ นและทรัพยส์ ินของผู้ถูกกระท�าฯ มีการต่อยทใ่ี บหนา้ ผู้ถกู กระท�าฯ หลายคร้ังจนได้รบั บาดเจบ็ 3.2) สาเหตุการกระท�าความรนุ แรงในครอบครัว พ ติกรรมนอกใจไปมีหญิงอืน่ อารมณ์ร้อน และการใชค้ �าพดู ด่าทอดว้ ยถ้อยคา� รนุ แรง 3.3) การด�าเนินการชว่ ยเหลอื กรณคี วามรนุ แรงในครอบครวั 1) การรับแจง้ เหตแุ ละการสอบขอ้ เท็จจริง วันที ่ 9 มนี าคม 2564 ส�านกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั ราชบุรี ไดร้ ับการประสาน จากศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดราชบุรี กรณีผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวขอรับการคุ้มครองสวัสดิภาพ เน่ืองจากสามที �าร้ายรา่ งกาย ชอบดุดา่ เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระท�าความรุนแรงในครอบครัวจังหวัดราชบุรี ด�าเนินการสอบ ข้อเท็จจริงและให้การช่วยเหลือ ให้ค�าปรึกษาแนะน�าตามกระบวนการในส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกับทีมสหวิชาชีพจังหวัดราชบุร ี ทราบว่าเกิดการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว โดยการท�าร้ายร่างกายและทรัพย์สิน ข่มขู่ ดุด่า ด่าทอด้วยค�าพูดท่ีรุนแรง ท�าร้ายจิตใจดว้ ยการมีหญิงอ่นื ผถู้ ูกกระทา� ฯ ตอ้ งการแยกทางกบั ผู้กระทา� ฯ และไมใ่ ห้ผกู้ ระท�ามาทา� รา้ ยรา่ งกายอีก 2) การคุม้ ครองสวัสดภิ าพ สา� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ราชบรุ ี ไดใ้ หค้ า� แนะนา� ปรกึ ษา และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 และศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด ราชบุรีรับเร่ืองขอคุ้มครองสวัสดิภาพ และเข้าสู่กระบวนการพิจารณาไต่สวนตามค�าร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพตามที่ ผู้ถูกกระท�าฯ ร้องขอ โดยผู้กระท�าฯ รับทราบแล้วแต่ไม่มาตามนัด ศาลได้ด�าเนินการตามข้ันตอน และออกค�าสั่ง ค้มุ ครองสวสั ดิภาพ โดยพนักงานเจา้ หนา้ ที่ตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผถู้ กู กระท�าดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ติดตามผลการปฏบิ ัติตามคา� สั่งคมุ้ ครองสวัสดภิ าพพร้อมรายงานผลตอ่ ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดราชบรุ ี 3) การติดตามผล สา� นักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั ราชบุรี วางแผนการเยย่ี มครอบครวั กา� กับติดตาม รายงานผลให้ศาลทราบ และประสานภาคเี ครือขา่ ยในพ้นื ทชี่ ว่ ยเหลอื ดูแล กา� กับตดิ ตามในสว่ นท่ีเกยี่ วข้อง 39

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ สว่ นท 2 รำยงำนขอ้ มลู ควำมรนุ แรงในครอบครัว ตำมมำตรำ 17 แหง่ พระรำชบัญญัตคิ ุ้มครองผู้ถูกกระทำ� ด้วยควำมรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 มาตรา 17 ก�าหนดให้กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดท�ารายงานประจ�าปี ได้แก่ จ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จา� นวนคา� สง่ั กา� หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารเพอื่ บรรเทาทกุ ข ์ จา� นวนการละเมดิ คา� สงั่ กา� หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารเพอื่ บรรเทาทกุ ข์ ของพนกั งานเจ้าหนา้ ท่แี ละศาล และจา� นวนการยอมความโดยไดร้ วบรวมขอ้ มูลจาก 1) หนว่ ยงานในกระบวนการยตุ ธิ รรมทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก ่ สา� นกั งานตา� รวจแหง่ ชาต ิ สา� นกั งานอยั การสงู สดุ และสา� นกั งาน ศาลยตุ ธิ รรม 2) บันทึกการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นตามแบบรายงานการด�าเนินการคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรง ในครอบครัว หรือ แบบ คร. 6 ซ่งึ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ขอ้ มูลจำกหน่วยงำนในกระบวนกำรยุติ รรมท กยวขอ้ ง 1.1 สา� นักงานตา� รวจแห่งชาติ ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ได้รายงานข้อมูลเกี่ยวกับคดีความรุนแรงในครอบครัวจากหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ กองบัญชาการต�ารวจนครบาล ต�ารวจภูธรภาค 1 - 9 ศูนย์ปฏิบัติการต�ารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และส�านักงานตรวจ คนเข้าเมือง ประกอบด้วย ข้อมูลจ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จ�านวนค�าสั่งก�าหนดมาตรการหรือวิธีการ เพื่อบรรเทาทุกข์ที่ออกโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีฐานะเทียบได้ไม่ต�่ากว่าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ารวจช้ันผู้ใหญ่ ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญตั ฯิ จา� นวนการละเมดิ คา� สัง่ และจา� นวนการยอมความในชัน้ สอบสวน รวมถึงข้อมลู จา� นวน คดคี วามรุนแรงในครอบครวั จ�าแนกประเภทของการกระทา� ผดิ ระหวา่ งป ี พ.ศ. 2555 - 2564 ดังนี้ 0

รายงานข้อมูลสถานการณ์ ดา้ นความรนุ แรงในครอบครวั สาำ หรบั การรายงานตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผถู้ ูกกระทาำ ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาำ ปี 2564 ตารางที่ 17 แสดงจ�านวนคดีตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผูถ้ กู ระทา� ด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ทจี่ ดั เก็บ ดยสา� นกั งานต�ารวจแหง่ ชาติ ปีทีจ่ ดั เกบ็ จา� นวนคดกี ารกระทา� จ�านวนค�าสงั่ กา� หนด จา� นวนการละเมดิ จ�านวน 1 มกราคม ความรนุ แรงในครอบครวั มาตรการ วิธกี าร คา� สั่งก�าหนด การยอมความ เพอื่ บรรเทาทุกข์ ชน้ั สอบสวน 31 ธันวาคม) ไมร่ อ้ งทกุ ข์ ร้องทุกข์ มาตรการ วิธกี าร บรรเทาทกุ ข์ 2555 142 400 - - 86 2556 42 202 - - 19 2557 54 200 41 5 44 2558 52 204 29 - 21 2559 2 108 16 1 8 2560 60 229 17 1 44 2561 10 188 27 19 30 2562 1 51 8 2 9 2563 38 185 7 - 40 2564 1 84 5 - 1 รวม 402 1 51 150 2 302 ข้อมูลจากตารางท่ี 17 แสดงจ�านวนคดีตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรง ในครอบครัว พ.ศ. 2550 ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2555 - 2564 และจ�านวนกรณีที่มีการร้องทุกข์และไม่ร้องทุกข์ พบว่า ในป ี 2564 มีจ�านวนคดีการกระทา� ความรุนแรงในครอบครวั 85 คด ี แบ่งเปน็ การร้องทกุ ข์ จ�านวน 84 คดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 98.82 และไม่ร้องทุกข์ จ�านวน 1 คดี คิดเป็นร้อยละ 1.18 โดยมีการออกค�าสั่งก�าหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข ์ จา� นวน 5 ค�าสงั่ และมกี ารยอมความชนั้ สอบสวน จา� นวน 1 คา� สั่ง ตารางที่ 1 แสดงประเภทของการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จ�าแนกตามเพศและอายุของผู้ถูกกระท�าที่จัดเก็บ ดยสา� นักงานต�ารวจแหง่ ชาติ ประเภทการกระทา� ความรุนแรง จ�านวนคดี รวม ผู้ถูกกระทา� ราย) ผู้ถกู กระทา� ราย) อายุระหวา่ ง 0 1 ปี อายุ 1 ปี ขน้ ไป ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม 1. การกระท�าความรุนแรงร่างกาย 3 2 5 28 46 74 79 2. การกระท�าความรุนแรงเพศ 14 87 101 15 67 82 183 3. การกระท�าความรุนแรงจติ ใจ 4. การกระทา� ความรนุ แรงสังคม - 3 3 - 4 4 7 (การละเลย/การทอดท้งิ ) - 1 1 - - - 1 5. อ่ืน ๆ (การคา้ มนุษย ์ เอาบุตรไปขอทาน ฯลฯ) 1 6 7 - - - 7 1 99 117 43 117 160 277 รวม 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook