เทคโนโลยีความจริงเสรมิ 1 โปรแกรมท่ใี ชใ้ นการสร้างสื่อ AR 2 การติดต้ังโปรแกรมสำหรบั การสร้างส่อื AR 6 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเรมิ่ ทำ AR 27 การเปิดโปรแกรม Unity 28 การสรา้ งโปรเจ็คตใ์ หม่ 29 การบันทกึ ฉากและโปรเจ็คต์ Unity 30 การเปดิ โปรเจ็คต์ Unity 30 สว่ นประกอบของหน้าต่างใน Unity 31 การควบคุมการแสดงผลและการจัดการวัตถุ 32 การสร้าง AR โมเดล 3 มติ ิ 33 การสร้าง AR โมเดลแอนเิ มชน่ั 3 มติ ิ 45 การสร้าง AR หมุน ย้าย ย่อ ขยาย โมเดล 3 มติ ิ 55 การสรา้ ง AR เสยี ง 62 การสรา้ ง AR วดิ ีโอ 67 การสร้าง AR มากกวา่ 1 มารค์ เกอร์ 73 การสร้างปมุ่ เชื่อมโยงไปยงั เวบ็ ไซต์ 78 การสร้างปุ่มออกจากแอพพลิเคชัน่ 85 การสร้างหน้าเมนู AR 89 การสง่ ออกเป็นแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ 116
เทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) หมายถึง เทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างโลก ของความจริง (Real World) เข้ากับโลกเสมอื น (Virtual World) โดยใช้วิธีซอ้ นภาพในโลกเสมอื นไว้บนภาพใน โลกความเปน็ จริง ผา่ นอุปกรณด์ ิจทิ ัล ไดแ้ ก่ แวน่ ตาดจิ ิทัล แทบ็ เล็ต สมารท์ โฟน หรืออุปกรณ์แสดงผลภาพอ่ืนๆ เพ่อื ใหเ้ ห็นภาพเสมือนอย่ใู นสภาพแวดลอ้ มจริง หลักการทำงานของเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) จะเริ่มจากผู้ใช้ติดต้ัง แอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นสำหรับการใช้งานโดยเฉพาะ เมื่อเปิดแอพพลิเคชั่นโปรแกรมจะสั่งให้อุปกรณ์ดิจิทัล เช่นสมาร์ทโฟนเปิดการทำงานของกล้องออปติคอล โปรแกรมจะทำการค้นหามาร์คเกอร์ (Marker) เมื่อผู้ใช้ มองไปทม่ี ารค์ เกอรแ์ ละโปรแกรมสามารถตรวจพบ โปรแกรมจะจับตำแหน่งของมารค์ เกอร์เพ่อื ประมวลผลและ ระบุวัตถุดจิ ทิ ลั ที่สัมพันธก์ บั มารค์ เกอร์ แลว้ แสดงผลวตั ถดุ จิ ิทัลบนมาร์คเกอรใ์ นสภาพแวดล้อมจริง ผใู้ ช้สามารถ ปฏสิ มั พนั ธ์กบั วัตถดุ ิจทิ ัลหรอื เนอ้ื หาดิจิทลั ท่ีปรากฏขนึ้ ได้ 1
โปรแกรม Unity 3D เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถในหลากหลาย ได้แก่ การสร้างเกม 2 มิติ การ สร้างเกม 3 มิติ การสร้างเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) และเทคโนโลยีความจริง เสมือน (Virtual Reality: VR) โดยทำงานร่วมกับโปรแกรม Vuforia และ Visual Studio สามารถส่งออกเป็น เว็บ HTML5 และแอพพลิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการต่างๆ เช่น Windows, iOS และ Android แล้วนำไปติดต้ัง ในสมารท์ โฟนได้ทันที 2
โปรแกรม Vuforia เป็นโปรแกรมฟรีบนเทคโนโลยีคลาวด์ ใช้สำหรับพัฒนาฐานข้อมูล (Database) และรหัส (License) ของแอพพลิเคชั่นเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) ที่ต้องการพัฒนา มรี ะบบการพฒั นา SDK ที่รองรับการทำงานไดท้ ั้งรูปแบบ 2 มติ ิ และ 3 มิติ 3
โปรแกรม Android Studio เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นสำหรับ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เป็นเครื่องมือ IDE จาก Google พัฒนามาจากการทำงานของ Eclipse และ Android ADT Plugin เพื่ออำนวยความสะดวกในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์ให้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น ทั้งด้านการออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานผู้ใช้ (Graphic User Interface: GUI) ที่ช่วยทดสอบการ แสดงผล (Preview) แอพพลิเคชั่นในมุมมองที่แตกต่างกันบนสมาร์ทโฟนแต่ละรุ่นผ่าน Emulator โดยทำงาน ร่วมกับ Java SDK เพื่อให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) จากโปรแกรม Unity 3D และสามารถส่งออกเปน็ แอพพลิเคช่นั แอนดรอยด์ได้ Java Development Kit หรอื JDK คอื ชุดของเคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการพัฒนาโปรแกรม Java ของบรษิ ัท Sun Micro Systems ผู้ที่ต้องการพัฒนาแอพพลิเคชั่นสำหรับแอนดรอยด์จะต้องติดตั้ง Java JDK เพื่อให้ โปรแกรมสามารถคอมไพลแ์ อพพลิเคช่ันได้ 4
โปรแกรม Visual Studio เป็นโปรแกรมที่ใช้พัฒนาซอฟต์แวร์และระบบต่างๆ ที่สามารถใช้เขียน โปรแกรมภาษาต่างๆ ภาษา C หรือ C# มีโครงสร้างการเขียนที่เป็นรูปแบบบังคับ เขียนง่าย มีความทันสมัย การพฒั นาเทคโนโลยีความจริงเสรมิ (Augmented Reality: AR) จะใชโ้ ปรแกรม Vuforia และ Unity 3D เปน็ หลัก หากต้องการเขียนชุดคำสัง่ ที่เฉพาะเจาะจง จะตอ้ งใชโ้ ปรแกรม Visual Studio รว่ มพฒั นาด้วย 5
การติดตง้ั Unity 1. ดบั เบ้ิลคลกิ Unity 2018 Pro x64.exe เพ่ือเร่มิ ตดิ ตงั้ โปรแกรม 2. คลกิ Next 3. คลกิ เลือก I accept the terms of the License Agreement 4. คลิก Next 5. คลกิ Next 6
6. คลิก Next แลว้ รอสักครู่ 7. คลกิ Finish การติดตง้ั Android Support 1. เขา้ ไปท่โี ฟลเดอร์ Support แล้วดบั เบ้ลิ คลกิ UnitySetup-Android-Support-for-Editor-2018.2.exe 2. คลกิ Next 3. คลกิ เลอื ก I accept the terms of the License Agreement 4. คลกิ Next 7
5. คลิก Next 6. กำหนด Destination Folder ไปที่ C:\\Program Files\\Unity 7. คลกิ Next 8. คลิก Finish การติดตง้ั Vuforia AR Support 1. เขา้ ไปทโี่ ฟลเดอร์ Support แลว้ ดับเบิล้ คลกิ UnitySetup-Vuforia-AR-Support-for-Editor-2018.2.exe 2. คลิก Next 8
3. คลิกเลอื ก I accept the terms of the License Agreement 4. คลกิ Next 5. คลิก Next 6. กำหนด Destination Folder ไปที่ C:\\Program Files\\Unity 7. คลกิ Next แล้วรอสกั ครู่ 8. คลิก Finish 9
การลงทะเบยี นเข้าใชง้ าน Vuforia 1. ไปท่ี developer.vuforia.com 2. คลิก Register 3. กรอกรายละเอียดของผ้ใู ช้ 4. กรอกรหัสทปี่ รากฏในชอ่ ง Captcha Code 5. คลกิ I agree และ I acknowledge 6. คลิก Create account 10
7. คลกิ OK 8. ยืนยนั การสมคั รด้วยอเี มล์ โดยการคลิกลงิ คล์ งทะเบียน 9. คลิก OK 11
การลงช่ือเขา้ ใช้ Vuforia 1. ไปที่ developer.vuforia.com 2. คลกิ Log In 3. กรอกอีเมลและรหัสผา่ น 4. คลกิ Login 5. จะเข้าสู่ระบบพร้อมใชง้ าน 12
การตดิ ตัง้ Android Studio 1. เปดิ โปรแกรม Unity 2. คลิก New project 3. กำหนดรายละเอียดดงั น้ี ▪ Project Name กำหนดช่ือโปรเจ็คต์ ▪ Location กำหนดที่จดั เก็บโปรเจค็ ต์ ▪ Template กำหนดเปน็ 3D 13
4. คลิก Create project 5. ไปที่ Edit > Preferences 6. ไปท่ี External Tools 7. ไปที่ SDK คลิก Download 8. โปรแกรมจะเปิดเว็บ developer.android.com/studio 9. คลกิ Download Android Studio 14
10. คลกิ I have read and agree with the above terms and conditions 11. คลิก Download Android Studio for Windows 12. ดับเบิ้ลคลิก Android Studio IDE.exe เพื่อเริ่มการติดตัง้ โปรแกรม 15
13. คลิก Next 14. คลกิ Next 15. คลกิ Next 16. คลิก Install แล้วรอสกั ครู่ 17. คลกิ Next 18. คลิกเลอื ก Start Android Studio 19. คลิก Finish 16
20. คลิกเลอื ก Do not import settings 21. คลิก OK การตัง้ คา่ Android Studio 1. เมอ่ื เข้าสโู่ ปรแกรม Android Studio แลว้ ให้คลกิ Next 2. ท่ีหน้า Install Type คลกิ เลอื ก Standard 3. คลิก Next 4. ที่หน้า Select UI Theme คลิกเลือก Theme ที่ตอ้ งการ 5. คลิก Next 6. คลกิ Finish 17
7. ทห่ี น้า Downloading Components ให้รอสกั ครู่ 8. คลกิ Finish 9. คลิก Start a new Android Studio project 18
10. คลิกเลอื ก Add No Activity 11. คลิก Next 12. กำหนดรายละเอียดดงั นี้ ▪ Name กำหนดช่ือโปรเจค็ ต์ ▪ Package name กำหนดชอ่ื แพ็คเกจ (ควรกำหนดเป็น Reverse Domain) ▪ Save location กำหนดท่ีจดั เกบ็ ไฟล์ ▪ Language กำหนดภาษาโปรแกรมเป็น Java ▪ Minimum API level กำหนดเวอรช์ ั่นของระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยดข์ ัน้ ต่ำ 13. คลิก Finish 14. เมื่อเข้าสู่โปรแกรมแล้ว ให้ไปคลิกที่ SDK Manager 15. ที่ Android SDK ให้คลิกเลือกติดต้ังเวอร์ช่ัน แอนดรอยด์ขนั้ ต่ำท่รี องรบั แอพพลิเคชนั่ 16. คลกิ OK 17. คลกิ OK 19
18. คลกิ Accept 19. คลิก Next แล้วรอสักครู่ 20. คลกิ Finish 21. คลิกปดิ โปรแกรม Android Studio 22. คลกิ Exit 23. กลบั ไปท่ี Unity โปรแกรมจะตรวจพบ SDK ทห่ี นา้ ตา่ ง Android SDK detected ใหค้ ลกิ Yes หมายเหตุ หาก Unity ไมต่ รวจพบอัตโนมัติ ในหน้าตา่ ง Unity Preferences > External Tools ให้อา้ งองิ SDK โดยการคลกิ Browse แล้ว เลือกไดเรคทอรี่ C > Users > User Name > AppData > Local > Android > Sdk 1. เปิดโปรแกรม Unity แล้วไปท่ี Edit > Preferences 2. ไปที่ External Tools 3. ไปที่ JDK คลิก Download 20
4. จะเขา้ สเู้ วบ็ ไซต์ Java ในสว่ นของ Java SE Development Kit ให้คลกิ Accept License Agreement 5. เลอื กดาวน์โหลดตามระบบปฏิบตั กิ ารท่ใี ช้อยู่ 6. ลงชอื่ เขา้ ใช้ดว้ ยบญั ชี Oracle 21
7. เมือ่ ดาวน์โหลดเสร็จแลว้ ใหด้ บั เบ้ิลคลกิ JDK Windows x64.exe เพ่อื ทำการตดิ ต้งั 8. คลกิ Next 9. คลิก Next แล้วรอสกั ครู่ 10. คลกิ Next แล้วรอสกั ครู่ 11. คลิก Close 22
12. กลับไปที่ Unity โปรแกรมจะตรวจพบ JDK ที่หน้าต่าง Java Development Kit (JDK) detected ใหค้ ลกิ Yes หมายเหตุ หาก Unity ไม่ตรวจพบอัตโนมัติ ในหน้าต่าง Unity Preferences > External Tools ให้อ้างอิง SDK โดยการ คลกิ Browse แลว้ เลือกไดเรคทอรี่ C > Program Files > Java > jdk การตดิ ตงั้ แบบออนไลน์ 1. ไปท่ี visualstudio.microsoft.com 2. คลิก Download Visual Studio เลอื กรุ่น Community หรือ Professional 3. ดับเบล้ิ คลิกตวั ตดิ ตัง้ Visual Studio 4. คลิก Continue 5. รอสกั ครู่ 23
6. คลกิ Install 7. คลิก Continue 8. คลิก Not now แลว้ รอโปรแกรมดาวน์โหลดและตดิ ตงั้ สกั ครู่ 9. เมอื่ ตดิ ตง้ั เสร็จแล้ว คลิก Lunch เพ่อื เปิดโปรแกรม Visual Studio 24
10. คลิก Not now, may be later 11. เลือก Theme ท่ีต้องการ 12. คลกิ Start Visual Studio 13. คลิกปิดโปรแกรม การตดิ ตั้งแบบออฟไลน์ 1. เข้าไปทโี่ ฟลเดอร์ Installer แล้วดับเบลิ้ คลกิ ที่ vs_Professional1.exe 2. คลกิ Continue แล้วรอสกั ครู่ 25
3. คลกิ Install 4. คลกิ Continue 5. คลกิ Not now แล้วรอโปรแกรมดาวนโ์ หลดและตดิ ต้ังสกั ครู่ 6. คลิก Lunch เพือ่ เปิดโปรแกรม Visual Studio 7. คลิก Not now, may be later 8. เลอื ก Theme ทต่ี อ้ งการ 9. คลกิ Start Visual Studio 10. คลิกปดิ โปรแกรม 26
โมเดล 3 มิติ เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องเตรียมหากต้องการสร้าง AR โดยใช้สมาร์ทโฟนส่องไปยังรูปภาพ Image Target แล้วปรากฏภาพ 3 มิติ ผู้ใช้สามารถปั้นโมเดล 3 มิติขึ้นเองได้จากโปรแกรมสร้างโมเดล 3 มิติ ได้แก่ Maya, 3Ds Max และ Blender เป็นต้น หรือสามารถเข้าไปดาวน์โหลดได้ท่ี models-resource.com, assetstore.unity.com และ free3d.com เสียง เป็นวัตถุดิจิทัลที่แสดงเสียงที่ผู้ใช้จำเป็นต้องเตรียมหาก ตอ้ งการสร้าง AR โดยใช้สมาร์ทโฟนสอ่ งไปยงั รปู ภาพ Image Target หรือ Marker แล้วปรากฏเป็นคลิปเสียง ผู้ใช้สามารถบันทึกเสียงและตัดต่อเสียง ได้จากโปรแกรมตัดต่อเสียงทั่วไป เช่น Adobe Audition, Sony Sound Force และ Audacity เป็นตน้ คลิปวิดีโอ เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องเตรียมหากต้องการสร้าง AR โดยใช้สมาร์ทโฟนส่องไปยังรูปภาพ Image Target หรือ Marker แล้วปรากฏเป็นคลิปวิดีโอ ผู้ใช้สามารถถ่ายทำ ตัดต่อ และทำภาพกราฟิก เคลื่อนไหวได้จากโปรแกรมตัดต่อวิดีโอทั่วไป เช่น Adobe Premiere Pro, Adobe After Effects และ TechSmith Camtasia เปน็ ต้น 27
รูปภาพเป้าหมาย (Image Target) มาร์คเกอร์ (Marker) หรือทริกเกอร์ (Tricker) เป็นรูปภาพที่ใช้ อ้างอิงในฐานข้อมูล ผู้ใช้จะต้องออกแบบรูปภาพเพื่อให้สมาร์ทโฟนส่อง สามารถออกแบบรูปภาพได้จาก โปรแกรมวาดภาพหรือตกแตง่ ภาพทั่วไป เชน่ Adobe Photoshop และ Adobe Illustrator เป็นต้น ภาพกราฟิก (Graphic) เป็นกราฟิกสำหรับใช้ทำการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้ เช่น ในการทำงานของ เทคโนโลยีความจริงเสริมที่มีการปฏิสัมพันธ์ อาจมีการสร้างปุ่ม (Button) เข้ามาใช้ในโปรเจ็คต์ จึงจำเป็นต้อง ออกแบบกราฟกิ สำหรบั ปมุ่ ใหด้ ูสวยงามน่าใช้ 1. คลิก Start 2. คลกิ Unity 28
1. เมื่อเปิดโปรแกรม Unity แล้วให้คลิก Projects 2. คลกิ New project 3. กำหนดรายละเอียดโปรเจค็ ตด์ งั น้ี ▪ Project name กำหนดชอื่ โปรเจค็ ต์ ▪ Location กำหนดท่ีจัดเกบ็ โปรเจค็ ต์ ▪ Template กำหนดเปน็ 3D 4. คลกิ Create project 29
การทำงานของ Unity มักจะมีการนำโมเดล นำกล้อง นำรูปภาพ และส่วนประกอบต่างๆ เข้ามาใน ฉาก (Scene) ดงั นัน้ การบนั ทึกจะไปท่ี File > Save Scene แต่ถ้าหากมีการนำเขา้ ไฟล์ต่างๆ ด้วยใหบ้ ันทึกโปร เจค็ ต์ โดยไปที่ File > Save Project 1. ไปที่ Projects 2. คลิก Open 3. เลอื กโฟลเดอร์โปรเจ็คต์ 4. คลกิ Select Folder 5. จะปรากฏโปรเจ็คต์ 30
หมายเหตุ การเปิดโปรเจ็คต์สามารถทำได้โดยคลิกที่ Projects โปรแกรมจะแสดงโปรเจ็คต์ล่าสุดที่เคยเปิดไว้ ให้คลิกโปรเจ็คต์ที่ต้องการเปดิ หากไมพ่ บในรายการใหค้ ลิก Open หลังจากเปิดโปรแกรมและสร้างโปรเจ็คต์ใหม่ขึ้นมาแล้ว จะพบกับส่วนประสานงานผู้ใช้ (User Interface) ของโปรแกรม Unity โดยพาเนลหลกั ท่ีใช้งานมดี งั นี้ 31
เมนบู าร์ (Menu Bar) สำหรับเรยี กใชค้ ำสัง่ ตา่ งๆ แถบเครื่องมือ (Tool Bar) สำหรบั จดั การกับวัตถุ พาเนล Hierarchy สำหรับจัดลำดบั วัตถุ พาเนล Scene สำหรบั แสดงพื้นทีก่ ารทำงาน พาเนล Project สำหรับจดั เก็บไฟล์ต่างๆ ทตี่ ้องใชง้ าน เช่น รปู ภาพ วิดโี อ และเสยี ง เป็นตน้ พาเนล Inspector สำหรบั กำหนดค่าต่างๆ ใหก้ ับวัตถทุ ่เี ลอื กในพาเนล Hierarchy การควบคุมการแสดงผลและการจัดการวัตถุ จะใช้เครื่องมือในแถบเครื่องมือ (Tool Bar) โดยแต่ละ เครื่องมมี ีหนา้ ทกี่ ารทำงานดงั น้ี Hand Tool สำหรบั เล่อื นมุมมองในฉาก Move Tool สำหรับปรบั ตำแหน่งวัตถุในฉาก Rotate Tool สำหรับหมุนวัตถุในฉาก Scale Tool สำหรับปรับขนาดวัตถใุ นฉาก Rect Tool สำหรบั ปรบั ขนาดวตั ถใุ นระนาบ 2 มิติ Move, Rotate or Scale selected objects สำหรับปรับตำแหน่ง หมุน และปรับ ขนาดวัตถุ Center สำหรบั กำหนดจุดหมุนของวัตถใุ ห้อยตู่ รงกลาง Pivot สำหรับกำหนดจดุ หมุนของวตั ถใุ หอ้ ยู่ดา้ นล่าง Global กำหนดวิธีการจบั วัตถแุ บบสากล Local กำหนดวธิ ีการจับวัตถุโดยมที ิศทางการจับตรงขา้ มกับ Global เนื่องจากการใช้เครื่องมือควบคุมการแสดงผลและจัดการวัตถุ อาจทำให้การทำงานเป็นไปได้ช้า การ ใช้เมาส์และคีย์บอร์ด จะชว่ ยให้ทำงานไดเ้ ร็วขึน้ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 32
[ALT] + เมาสก์ ลาง ใช้สำหรับเลือ่ นมมุ มองในฉาก [ALT] + เมาส์ซ้าย ใชห้ มนุ มมุ มองในฉาก [ALT] + เมาส์ขวา ใชส้ ำหรบั ซมู เข้า-ซูมออก มมุ มองในฉาก ลกู กลิง้ เมาส์กลาง ใชส้ ำหรับซมู เขา้ -ซมู ออก มมุ มองในฉาก [ALT] + ลกู กลิง้ เมาสก์ ลาง ใช้สำหรับซมู เขา้ -ซูมออก ในบรเิ วณทีเ่ คอร์เซอรป์ รากฏ 1. ไปที่ File > Build Settings 2. ไปที่ Android 3. คลิก Switch Platform 4. คลิก Player Settings 5. ไปที่พาเนล Inspector 6. ไปที่ XR Settings แล้วคลกิ เลือก Vuforia Augmented Reality 7. ปิดหนา้ ตา่ ง Build Settings 33
1. ลงชอ่ื เข้าใชท้ ีเ่ ว็บไซต์ developer.vuforia.com 2. ไปทเ่ี มนู Develop 3. ไปท่แี ท็บ License Manager 4. คลกิ Get Development Key 5. กำหนดช่ือใบอนญุ าตทีช่ อ่ ง License Name 6. คลกิ เลอื ก By Checking this Box 34
7. คลิก Confirm 8. คลิกที่ชอ่ื ใบอนญุ าต 9. ในส่วนของ License Key ใหค้ ลกิ ทรี่ หสั ท่ปี รากฏเพอ่ื คดั ลอกไปยัง Unity 35
1. ไปท่พี าเนล Hierarchy คลกิ ขวาท่ี Main Camera แลว้ เลือกคำส่งั Delete 2. ไปทเ่ี มนู GameObject > Vuforia > AR Camera 3. คลกิ Import แลว้ รอสักครู่ 4. คลิกท่ี AR Camera 5. ไปทพ่ี าเนล Inspector 36
6. คลกิ Open Vuforia Engine Configuration 7. คดั ลอก License Key จากเวบ็ Vuforia ไปวางทีช่ อ่ ง App License Key 8. คลกิ บรเิ วณทว่ี ่าง 1 คร้ัง เพ่ือเสรจ็ ส้ินการเช่อื มโยงใบอนุญาต 37
1. ไปที่เวบ็ Vuforia 2. ไปทเ่ี มนู Develop 3. ไปทแ่ี ท็บ Target Manager 4. คลิก Add Database 5. กำหนดชือ่ ฐานขอ้ มลู ในช่อง Database Name 6. กำหนด Type เปน็ Device 7. คลกิ Create 8. คลกิ ท่ีฐานข้อมูลท่สี รา้ งขน้ึ 38
9. คลิก Add Target 10. คลิกเลอื ก Single Image 11. คลกิ Browse เลอื กไฟล์ Image Target 12. เลือกรปู ภาพท่ีต้องการ 13. คลกิ Open 14. กำหนดความกว้างของ Image Target ที่ช่อง Width (คา่ ท่เี หมาะสมคอื 400) 15. คลกิ Add 16. รปู ภาพจะปรากฏพรอ้ มแสดง Rating และ Status 17. คลกิ Download Database (All) 39
18. คลิกเลือก Unity Editor 19. คลิก Download 20. เม่อื ดาวน์โหลดเสร็จแลว้ คลกิ ทไ่ี ฟลฐ์ านข้อมูล 21. จะเข้าสโู่ ปรแกรม Unity โดยอัตโนมัติ ใหค้ ลกิ Import 40
1. คลกิ AR Camera 2. ไปที่ GameObject > Vuforia > Image 3. คลกิ ท่ี Image Target 4. ไปทีพ่ าเนล Inspector แล้วกำหนดคส่ังใน Image Target Behavior ดงั นี้ ▪ Database ใหเ้ ลอื กฐานขอ้ มลู ท่ีสรา้ งข้นึ ▪ Image Target ให้เลือกรปู ภาพท่ตี อ้ งการ 41
1. ไปที่ models-resource.com 2. คลิกเลอื กโมเดล 3 มติ ทิ ต่ี ้องการ 3. คลิก Download Zip Archive 42
4. แตกไฟลโ์ ดยการคลิกขวา แลว้ เลอื กคำสั่ง Extract Here 5. ลากโฟลเดอร์โมเดลไปวางในโปรแกรม Unity ในโฟลเดอร์ Assets 43
6. ดบั เบิล้ คลิกโฟลเดอร์โมเดล แล้วลากไฟลโ์ มเดล (.dae) ไปไว้ใน Image Target 7. ยอ่ ขยาย หมนุ และปรับตำแหน่งโมเดลให้อยภู่ ายในรปู ภาพ Image Target 44
8. คลิก Play เพอื่ ทดสอบการแสดงผล หมายเหตุ การย่อ ขยาย หมุน และปรับตำแหน่ง นอกจากใช้เคร่ืองมอื สำหรับยอ่ ขยาย หมุน และ ปรับตำแหน่ง แล้ว สามารถไปที่พาเนล Inspector แล้วกำหนดตำแหน่งที่ Position กำหนดการหมนุ ท่ี Rotation และกำหนดขนาดที่ Scale โดยการพิมพค์ ่าท่ตี ้องการ 1. สร้างโปรเจค็ ต์ใหมใ่ น Unity (ดูเพ่มิ เตมิ ท่หี นา้ 29) 2. ตงั้ ค่าโปรเจค็ ต์ AR (ดเู พม่ิ เตมิ ทห่ี นา้ 33-34) 3. การจดั การใบอนญุ าตจาก Vuforia (ดเู พม่ิ เตมิ ทีห่ นา้ 34-35) 4. จัดการเชอ่ื มโยงใบอนญุ าตจาก Vuforia ใหเ้ รยี บร้อย (ดูเพม่ิ เติมที่หน้า 36-37) 5. จดั การฐานขอ้ มูล Image Target (ดูเพม่ิ เติมทีห่ นา้ 38-40) 6. นำรปู ภาพ Image Target เขา้ มาใน Unity (ดเู พม่ิ เตมิ ท่ีหน้า 41) 45
1. ไปท่เี วบ็ ไซต์ free3d.com 2. เลือกดาวน์โหลดโมเดล 3 มติ ทิ ี่มีแอนิเมชั่น 3. แตกไฟลใ์ หเ้ รยี บรอ้ ย 4. ดับเบิล้ คลกิ ท่ีไฟล์ Unity 5. จะกลบั เขา้ สโู่ ปรแกรม Unity อตั โนมตั ิ ใหค้ ลกิ Import 46
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128