Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

Published by saowanee.yaukala, 2020-04-27 22:02:45

Description: วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

วนั วสิ าขบูชาเป็ นวนั ทีร่ ะลกึ ถงึ วนั ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพทุ ธเจ้า ซ่ึงตรงกบั วนั เพญ็ เดอื นวสิ าขมาส (เดอื น 6) ตรงกนั ท้ัง 3 คราว คอื  เช้าวนั ศุกร์ ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 6 ปี จอ ก่อนพทุ ธศักราช 80 ปี เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติ ทพี่ ระราชอุทยานลมุ พนิ ีวนั ระหว่างกรุงกบิลพสั ด์ุกบั เทวทหะ  เช้ามดื วนั พุธ ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 6 ปี ระกา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี เจ้าชายสิทธัตถะ ตรัสรู้ เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธ์ิ ฝั่งแม่นา้ เนรัญชรา ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม หลงั จากออกผนวชได้ 6 ปี ปัจจุบนั สถานทีแ่ ห่งนี้ เรียกว่า พุทธคยา เป็ นตาบลหน่ึงของเมอื งคยา แห่งรัฐพหิ าร ประเทศอนิ เดยี  หลงั จากตรัสรู้ ทรงออกประกาศพระธรรมวนิ ัยและโปรดเวไนยสัตว์เป็ นเวลา 45 ปี เมื่อ พระชนมายุได้ 80 พรรษา ก็ เสดจ็ ดบั ขนั ธปรินิพพาน เม่ือวนั องั คาร ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 6 ปี มะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมลั ลกษตั ริย์ เมอื งกสุ ินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมือง กสุ ีนคระ รัฐอตุ ตรประเทศ ประเทศอนิ เดยี ) เนื่องจากเหตุการณ์สาคญั ท้งั 3 เหตุการณ์ดงั กล่าวข้างต้น เกดิ ขนึ้ ตรงกนั ในวนั เพญ็ เดอื น 6 ชาวพุทธจงึ เรียกการบูชาในวนั นีว้ ่า \"วนั วสิ าขบูชา\" ซ่ึงแปลว่า การบูชาในวนั เพญ็ เดอื นหก (บาง แห่งเรียกว่า วนั พระพุทธเจ้า หรือ พทุ ธชยนั ต)ี

เหตุการณ์ในวนั ประสูตเิ ป็ นเหตุการณ์สาคญั ลาดบั แรกของพระพทุ ธเจ้าเกดิ ขนึ้ ในวนั เพญ็ เดอื นวสิ าขมาส โดยพระพุทธเจ้าหรือพระนามเดมิ \"เจ้าชายสิทธัตถะ\" ได้ประสูตใิ น พระบรมศากยราชวงศ์ เป็ นพระราชโอรสแห่งพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหา มายา ผ้เู ป็ นพระราชมเหสีแห่งพระเจ้าสุทโธทนะ โดยเจ้าชายสิทธัตถะทรงดารงตาแหน่ง ศากยมกฏุ ราชกมุ าร ผ้จู กั ได้รับสืบพระราชบัลลงั ก์เป็ นกษตั ริย์แห่งกรุงกบลิ พสั ด์ุสืบไป

จากหลกั ฐานช้ันบาลี (พระไตรปิ ฎก) และอรรถกถา กล่าวว่า หลงั จากพระโพธิสัตว์ผู้ ดารงอยู่ในดุสิตเทวโลกได้บาเพญ็ พระบารมีครบถ้วนแล้ว ได้ทรงรับคาอาราธนาเพอ่ื จุตลิ งมา ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า[5] พระโพธิสัตว์จงึ ได้จุตจิ ากสวรรค์ช้ันดุสิตลงมาสู่พระ ครรภ์ของพระนางสิริมหามายา เม่ือเวลาใกล้รุ่ง วนั พฤหสั บดี ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 6 ปี ระกา ก่อน พทุ ธศักราช 80 ปี เมอ่ื พระนางสิริมหามายาทรงพระครรถ์ครบถ้วนทศมาส (10 เดอื น)[6] ในวนั เพญ็ เดอื น วสิ าขมาส (ตรงกบั วนั ศุกร์ ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 6 ก่อนพุทธศักราช 80 ปี ) พระองค์มีพระราช ประสงค์ทจี่ ะเสดจ็ พระราชดาเนินกลบั ไปประสูตพิ ระราชบุตรยงั เมืองเทวทหะอนั เป็ นเมอื ง บ้านเกดิ ของพระองค์ แต่ขณะเสดจ็ พระราชดาเนินได้เพยี งกลางทางหรือภายในพระราช อุทยานลมุ พนิ ีวนั ซึ่งต้งั อยู่ระหว่างเมอื งกบิลพสั ด์ุและเมืองเทวทหะต่อกนั พระองค์เกดิ ประชวรพระครรภ์จะประสูติ อามาตย์ผู้ตามเสดจ็ จงึ จดั ร่มไม้สาละถวาย พระนางจงึ ประสูติ พระโอรส ณ ใต้ร่มไม้สาละน้ัน โดยขณะประสูตพิ ระนางประทับยนื พระหัตถ์ทรงจบั กง่ิ สาละไว้ เมื่อพระโพธิสัตว์ประสูตแิ ล้ว (โดยอาการทีพ่ ระบาทออกจากพระครรภ์ก่อน) พระ โพธิสัตว์ได้ทรงพระดาเนินไปได้ 7 ก้าว และได้ทรงเปล่งอาสภวิ าจา (วาจาประกาศความเป็ น ผ้สู ูงสุด) ขนึ้ ว่า[7] โดยการทรงเปล่งอาสภวิ าจาเป็ นอศั จรรย์นี้ นับเป็ นบุรพนิมิตแห่งพระบรมโพธิญาณ ที่ เจ้าชายน้อยผู้เป็ นพระบรมโพธิสัตว์จกั ได้ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในกาลอกี ไม่นาน

หลงั จากออกผนวชได้ 6 ปี จนเม่ือพระชนมายุ 35 พรรษา เจ้าชายสิทธัตถะกท็ รงตรัสรู้ เป็ นพระพุทธเจ้า ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธ์ิ ฝ่ังแม่นา้ เนรัญชรา ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้า มดื ของวนั พธุ ขนึ้ 15 คา่ เดอื น 6 ปี ระกา ก่อนพทุ ธศักราช 45 ปี ปัจจุบันสถานทต่ี รัสรู้แห่งนี้ เรียกว่า พทุ ธคยา เป็ นตาบลหนึ่งของเมอื งคยา แห่งรัฐพหิ าร ของอนิ เดยี สิ่งท่ตี รัสรู้ คอื อริยสัจส่ี เป็ นความจริงอนั ประเสริฐ 4 ประการของพระพุทธเจ้า ซ่ึง พระพุทธเจ้าเสดจ็ ไปทีต่ ้นมหาโพธ์ิ และทรงเจริญสมาธิภาวนาจนจติ เป็ นสมาธิได้ฌานที่ 4 แล้ว บาเพญ็ ภาวนาต่อไปจนได้ฌาน 3 คอื - ยามต้น : ทรงบรรลุ \"ปุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ\" คอื ทรงระลกึ ชาตใิ นอดตี ท้งั ของ ตนเองและผู้อน่ื ได้ - ยามสอง : ทรงบรรลุ \"จุตูปปาตญาณ\" คอื การรู้แจ้งการเกดิ และดบั ของสรรพสัตว์ ท้งั หลาย ด้วยการมตี าทิพย์สามารถเห็นการจุตแิ ละอบุ ตั ขิ องวญิ ญาณท้งั หลาย - ยามสาม หรือยามสุดท้าย : ทรงบรรลุ \"อาสวกั ขยญาณ\" คอื รู้วธิ ีกาจดั กเิ ลสด้วย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค) ได้ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ในคนื วนั เพญ็ เดอื น 6 ซึ่งขณะน้ันพระพทุ ธองค์มพี ระชนมายุได้ 35 พรรษา

เมอื่ พระพทุ ธองค์ได้ตรัสรู้และแสดงธรรมเป็ นเวลานานถงึ 45 ปี จนมีพระชนมายุได้ 80 พรรษา ได้ประทับจาพรรษา ณ เวฬุคาม ใกล้เมอื งเวสาลี แคว้นวชั ชี ในระหว่างน้ันทรงพระ ประชวรอย่างหนัก คร้ันเมือ่ ถงึ วนั เพญ็ เดอื น 6 พระพทุ ธองค์กบั พระภกิ ษุสงฆ์ท้งั หลาย กไ็ ปรับ ภตั ตาหารบณิ ฑบาตทบี่ ้านนายจุนทะ ตามคากราบทูลนิมนต์ พระองค์เสวยสูกรมัททวะที่นาย จุนทะต้งั ใจทาถวายกเ็ กดิ อาพาธลง แต่ทรงอดกล้นั มุ่งเสดจ็ ไปยงั เมอื งกสุ ินารา ประทับ ณ ป่ า สาละ เพอ่ื เสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน เมอื่ ถงึ ยามสุดท้ายของคนื น้ัน พระพุทธองค์กท็ รงประทานปัจฉิมโอวาทว่า \"ดูก่อนภกิ ษุ ท้ังหลายอนั ว่าสังขารท้งั หลายย่อมมีความเส่ือมสลายไปเป็ นธรรมดา ท่านท้งั หลายจงยงั กจิ ท้งั ปวงอนั เป็ นประโยชน์ของตนและประโยชน์ของผู้อนื่ ให้บริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาท เถดิ \" หลงั จากน้ันกเ็ สดจ็ เข้าดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน ในราตรีเพญ็ เดอื น 6 น้ัน

ปรากฏหลกั ฐานว่า วนั วสิ าขบูชา เร่ิมต้นคร้ังแรกในประเทศไทยต้งั แต่สมัยกรุงสุโขทยั เป็ นราชธานี สันนิษฐานว่าได้รับแบบแผนมาจากลงั กา นั่นคอื เมอื่ ประมาณ พ.ศ. 420 พระเจ้า ภาตกิ รุ าช กษตั ริย์แห่งกรุงลงั กา ได้ประกอบพธิ ีวสิ าขบูชาขนึ้ เพอ่ื ถวายเป็ นพทุ ธบูชา จากน้ัน กษตั ริย์ลงั กาพระองค์อน่ื ๆ กป็ ฏิบัตปิ ระเพณวี ิสาขบูชานีส้ ืบทอดต่อกนั มา ส่วนการเผยแผ่เข้ามาในประเทศไทยน้ัน น่าจะเป็ นเพราะประเทศไทยในสมัยกรุงสุโขทัย มีความสัมพนั ธ์ด้านพระพทุ ธศาสนากบั ประเทศลงั กาอย่างใกล้ชิด เหน็ ได้จากมพี ระสงฆ์จาก ลงั กาหลายรูปเดนิ ทางเข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนา และนาการประกอบพธิ ีวสิ าขบูชาเข้ามา ปฏิบัตใิ นประเทศไทยด้วย สาหรับการปฏบิ ัตพิ ธิ ีวสิ าขบูชาในสมยั สุโขทยั น้ัน ได้มีการบนั ทึกไว้ในหนังสือนางนพ มาศ สรุปได้ว่า เม่อื ถงึ วนั วสิ าขบูชา พระเจ้าแผ่นดนิ ข้าราชบริพาร ท้ังฝ่ ายหน้า และฝ่ ายใน ตลอดท้ังประชาชนชาวสุโขทัย จะช่วยกนั ประดบั ตกแต่งพระนคร ด้วยดอกไม้ พร้อมกบั จุด ประทีปโคมไฟให้ดูสว่างไสวไปท่วั พระนคร เป็ นเวลา 3 วนั 3 คนื เพอื่ เป็ นการบูชาพระ รัตนตรัย ขณะที่พระมหากษตั ริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ กท็ รงศีล และทรงบาเพญ็ พระราช กศุ ลต่าง ๆ คร้ันตกเวลาเยน็ กเ็ สดจ็ พระราชดาเนินพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และ นางสนองพระโอษฐ์ ตลอดจนข้าราชการท้ังฝ่ ายหน้า และฝ่ ายใน ไปยงั พระอารามหลวง เพอ่ื ทรงเวยี นเทยี นรอบพระประธาน ส่วนชาวสุโขทยั จะรักษาศีล ฟังธรรม ถวายสลากภตั สังฆทาน อาหารบณิ ฑบาตแด่พระภกิ ษุสามเณร บริจาคทานแก่คนยากจน ทาบุญไถ่ชีวติ สัตว์ ฯลฯ

หลงั จากสมัยสุโขทยั ประเทศไทยได้รับอทิ ธิพลของศาสนาพราหมณ์มากขนึ้ ทาให้ในช่วง สมัยกรุงศรีอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไม่ปรากฏหลกั ฐานว่ามีการประกอบพธิ ีวิ สาขบูชา จนกระทั่งมาถงึ รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั รัชกาลท่ี 2 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2360) มพี ระราชดาริที่จะให้ฟื้ นฟูพธิ ีวสิ าขบูชาขนึ้ มาใหม่ โดยสมเดจ็ พระสังฆราช (มี) สานักวดั ราชบูรณะ ถวายพระพรให้ทรงทาขนึ้ เป็ นคร้ังแรก ในวนั ขนึ้ 14 คา่ 15 คา่ และวนั แรม 1 คา่ เดอื น 6 พ.ศ. 2360 และให้จดั ทาตามแบบอย่างประเพณเี ดมิ ทุก ประการ เพอื่ ให้ประชาชนได้ทาบุญ ทากศุ ล โดยท่วั หน้ากนั การรือ้ ฟื้ นพธิ ีวสิ าขบูชาขนึ้ มาใน ครานี้ จงึ ถอื เป็ นแบบอย่างถอื ปฏบิ ัตใิ นการประกอบพธิ ี วนั วสิ าขบูชา ต่อเนื่องมาจวบ จนกระท่งั ปัจจุบนั

วนั วสิ าขบูชา ถอื เป็ นวนั สาคญั ทสี่ ุดทางพระพทุ ธศาสนา เน่ืองจากล้วนมีเหตุการณ์ท่ี เกยี่ วข้องกบั การถอื กาเนิดของพระพุทธศาสนา คอื เป็ นวนั ท่พี ระศาสดา คอื พระสัมมาสัมพทุ ธ เจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ดงั น้ัน พทุ ธศาสนิกชนทั่วโลกจงึ ให้ความสาคญั กบั วนั วิ สาขบูชานี้ ในวนั ท่ี 13 ธันวาคม พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาตไิ ด้ยอมรับญตั ตทิ ี่ประชุม กาหนดให้วนั วสิ าขบูชาเป็ นวนั สาคญั ของโลก โดยเรียกว่า Vesak Day ตามคาเรียกของชาวศรี ลงั กา ผู้ทยี่ น่ื เรื่องให้สหประชาชาตพิ จิ ารณา และได้กาหนดให้วนั วสิ าขบูชานีถ้ อื เป็ นวนั หยุดวนั หนึ่งของสหประชาชาตอิ กี ด้วย ท้งั นี้ เพอ่ื ให้ชาวพุทธท่วั โลกได้มโี อกาสบาเพญ็ บุญเนื่องในวนั ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระบรมศาสดา โดยการทสี่ หประชาชาตไิ ด้กาหนดให้วนั วสิ าขบูชาเป็ นวนั สาคญั ของโลกน้ัน ได้ให้เหตุผล ไว้ว่า องค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็ นมหาบุรุษผู้ให้ความเมตตาต่อหมู่มวลมนุษย์ เปิ ดโอกาสให้ทุกศาสนาสามารถเข้ามาศึกษาพุทธศาสนา เพอ่ื พสิ ูจน์หาข้อเท็จจริงได้โดยไม่ จาเป็ นต้องเปลยี่ นมานับถอื ศาสนาพุทธ และทรงสั่งสอนทุกคนโดยใช้ปัญญาธิคุณ โดยไม่คดิ ค่าตอบแทน

จะแบ่งออกเป็ น 3 พธิ ี ได้แก่ 1. พิธีหลวง คือ พระราชพิธีสาหรับพระมหากษตั ริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ประกอบใน วนั วิสาขบูชา 2. พิธีราษฎร์ คือ พิธีของประชาชนทวั่ ไป 3. พิธีของพระสงฆ์ คือ พิธีท่ีพระสงฆป์ ระกอบศาสนกิจ กจิ กรรมทพี่ ทุ ธศาสนิกชนพงึ ปฏิบัตใิ น วนั วสิ าขบูชา ได้แก่ 1. ทาบุญใส่บาตร กรวดน้าอุทิศส่วนกศุ ลใหญ้ าติท่ีล่วงลบั และเจา้ กรรมนายเวร 2. จดั สารับคาวหวานไปทาบุญถวายภตั ตาหารที่วดั และปฏิบตั ิธรรม ฟังพระธรรม เทศนา 3. ปล่อยนกปล่อยปลา เพ่ือสร้างบุญสร้างกศุ ล 4. ร่วมเวยี นเทียนรอบอุโบสถท่ีวดั ในตอนค่า เพื่อราลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 5. ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกบั วนั สาคญั ทางพทุ ธศาสนา 6. จดั แสดงนิทรรศการ ประวตั ิ หรือเร่ืองราวความเป็นมาเก่ียวกบั วนั วิสาขบชู า ตาม โรงเรียน หรือสถานที่ราชการต่าง ๆ เพ่ือใหค้ วามรู้ และเป็นการร่วมราลึกถึงความสาคญั ของ วนั วิสาขบูชา 7. ประดบั ธงชาติตามอาคารบา้ นเรือน วดั และสถานที่ราชการ 8. บาเพญ็ สาธารณประโยชน์

ในวนั วสิ าขบูชา พุทธศาสนิกชนท้งั หลายควรยดึ ม่นั ในหลกั ธรรม ซึ่งหลกั ธรรมท่ีควร นามาปฏบิ ัตใิ นวนั วสิ าขบูชา ได้แก่ 1. ความกตญั ญู คอื การรู้คุณคน เป็ นคุณธรรมทีค่ ู่กบั ความกตเวที ซ่ึงหมายถงึ การตอบแทนคุณที่มีผู้ทาไว้ ความกตญั ญแู ละความกตเวทีนี้ เป็ นเคร่ืองหมายของคนดี ทาให้ครอบครัวและสังคมมีความสุข ซ่ึงความกตญั ญกู ตเวทนี ้ันสามารถเกดิ ขนึ้ ได้กบั ท้งั บิดามารดาและลูก ครูอาจารย์กบั ศิษย์ นายจ้างกบั ลูกจ้าง ฯลฯ ในพระพทุ ธศาสนา เปรียบพระพุทธเจ้าเสมือนกบั บุพการี ผ้ชู ีใ้ ห้เหน็ ทางหลดุ พ้นแห่ง ความทุกข์ ดงั น้ัน พุทธศาสนิกชนจงึ ควรตอบแทนความกตญั ญกู ตเวทีด้วยการทานุบารุง พระพทุ ธศาสนา และดารงพระพุทธศาสนาให้อยู่สืบไป 2. อริยสัจ 4 คอื ความจริงอนั ประเสริฐ 4 ประการที่พระพทุ ธเจ้าทรงตรัสรู้ใน วนั วสิ าขบูชา ได้แก่ - ทุกข์ คอื ปัญหาของชีวติ สภาวะท่ีทนได้ยาก ซึ่งทุกข์ข้นั พนื้ ฐาน คอื การเกดิ การแก่ และ การตาย ล้วนเป็ นส่ิงทม่ี นุษย์ทุกคนต้องเผชิญ ส่วนทุกข์จร คอื ทุกข์ทเี่ กดิ ขนึ้ ในการดาเนิน ชีวติ ประจาวนั เช่น การพลดั พรากจากส่ิงท่ีเป็ นท่ีรัก หรือความยากจน เป็ นต้น - สมุทยั คอื ต้นเหตุของปัญหา หรือสาเหตุของการเกดิ ทุกข์ และสาเหตุส่วนใหญ่ของ ปัญหาเกดิ จาก \"ตณั หา\" อนั ได้แก่ ความอยากได้ต่าง ๆ อย่างไม่มที ่สี ิ้นสุด - นิโรธ คอื ความดบั ทุกข์ เป็ นสภาพท่คี วามทุกข์หมดไป เพราะสามารถดบั กเิ ลส ตณั หา อุปาทานออกไปได้ - มรรค คอื หนทางทน่ี าไปสู่การดบั ทุกข์ เป็ นการปฏิบตั เิ พอื่ แก้ปัญหา มี 8 ประการ ได้แก่ ความเหน็ ชอบ ดาริชอบ วาจาชอบ กระทาชอบ เลยี้ งชีพชอบ พยายามชอบ ระลกึ ชอบ ต้งั จติ ม่ัน ชอบ 3. ความไม่ประมาท คอื การมีสตติ ลอดเวลา ไม่ว่าจะทาอะไร พดู อะไร คดิ อะไร ล้วนต้องใช้สติ เพราะสตคิ อื การระลกึ ได้ การระลกึ ได้อยู่เสมอจะทาให้เราใช้ชีวติ อย่างไม่ประมาท ซึ่งความประมาทน้ันจะทา ให้เกดิ ปัญหายุ่งยากตามมา ดงั น้ัน ในวนั นีพ้ ทุ ธศาสนิกชนจะพากนั น้อมระลกึ ถงึ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยความมีสติ

นบั วา่ เป็นวนั ที่มีความสาคญั สาหรับพทุ ธศาสนิกชนทุกคน เป็นวนั ท่ีมี การทาพิธีพทุ ธบชู า เพื่อเป็นการนอ้ มราลึกถึงพระวสิ ุทธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระมหา กรุณาธิคุณ ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ที่มีต่อมวลมนุษยแ์ ละสรรพสตั ว์ อีกท้งั เพอื่ เป็นการราลึก ถึงเหตุการณ์อนั น่าอศั จรรยท์ ้งั 3 ประการ ที่มาบงั เกิดในวนั เดียวกนั และนาหลกั ธรรมคาสงั่ สอนของพระพุทธองคม์ าเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิในการดารงชีวิตคะ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook