โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย ฝา ยประถม หนงั สอื เรียนวชิ าสุขศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 5 เลม 2 โดย อาจารยจินตนา บรรลอืิ ศกั ด์ิช่ือ นามสกลุช้ัน ป.5/ เลขที่ กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
คำ� นิยม การจัดท�ำแบบเรียนและแบบฝึกหัดของทุกระดับชั้นในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ด�ำเนินการให้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขณะเดียวกันก็ได้ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพนั ธกิจของโรงเรยี นและเพ่ือประโยชน์สงู สุดตอ่ นักเรียน ความสำ� เรจ็ ของการจดั ทำ� แบบเรยี นเกดิ จากความรว่ มมอื รว่ มใจของคณาจารย์ทกุ ทา่ นทเี่ ลง็ เหน็ ถงึ ประโยชนแ์ ละความสำ� คญั ทโ่ี รงเรยี นควรมแี บบเรยี นทด่ี ี เพอื่ ใชเ้ ปน็สอ่ื การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดบั ชนั้ อนั เปน็ ผลดแี กน่ กั เรยี นในการเรยี นรู้ ตลอดจนใหผ้ ู้ปกครองมคี วามเข้าใจในการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรยี น ในนามของโรงเรยี น ขอขอบคณุ คณาจารยผ์ จู้ ดั ทำ� ทกุ ทา่ นไว้ ณ ทน่ี ้ี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ไ่ี ดก้ รณุ าใหข้ อ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั ทำ� แบบเรยี นและแบบฝึกหัดดังกล่าว จนท�ำให้แบบเรียนท่ีจัดท�ำข้ึนมีความสมบูรณ์เหมาะสมท่ีจะน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนและขอขอบคุณสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทไ่ี ดส้ นบั สนนุ งบประมาณและดำ� เนนิ การจดั ทำ� จนทำ� ใหเ้ กดิแบบเรยี นและแบบฝกึ หัดท่ีมรี ปู เลม่ ที่สวยงาม แม้แบบเรียนนี้จะมีความสมบูรณ์ในเน้ือหาแล้ว แต่ก็ต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้เป็นแบบเรียนที่มีความทันสมัย ดังนั้นหากผู้ปกครองหรือผู้ท่ีน�ำแบบเรยี นไปใชม้ ขี อ้ แนะนำ� หรอื ขอ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ประโยชน์ ขอไดโ้ ปรดแจง้ ใหท้ างโรงเรยี นทราบ เพอ่ื โรงเรยี นจะได้ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการพิจารณาปรับปรุงแบบเรยี นน้ตี ่อไป รองศาสตราจารย์สพุ ร ชัยเดชสรุ ยิ ะ ผู้อำ� นวยการโรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม และรองคณบดคี ณะครศุ าสตร์ 1
หนงั สือเรียนวชิ าสขุ ศึกษาชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 เป็นหนังสือในโครงการจัดท�ำต�ำราเรียนของสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนโรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม ไดม้ หี นงั สือเรยี นทม่ี คี ุณภาพคณะผู้จัดทำ� ในส่วนของสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ในส่วนของโรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม มหาวิทยาลัยรองศาสตราจารยส์ พุ ร ชยั เดชสรุ ยิ ะ คุณศักดชิ์ ยั ยอดวานชิ คุณวิกรานต์ ตงั้ ศริ ิพัฒน์อาจารย์ศริ ริ ัตน์ ศิรวิ ิโรจน์สกลุ คุณวรี พฒั น์ คงสิทธิ์ คณุ ธนา ต้งั ตรงศกั ดิ์อาจารจนิ ตนา บรรลอื ศกั ดิ์ คณุ สชุ นิ รัตนศิริวไิ ล คณุ ภาสกร เจริญมีชยั กุล คณุ เกยี รติพร ศิริชัยสกุล คุณสุวัฒน์ วโิ รจนาภริ มย์ ดร.วฒุ ิพงศ์ กิตตธิ เนศวร คุณศรัณย์ มหัทธนกลุผสู้ นบั สนนุ งบประมาณในการจดั ทำ� ต้นฉบบั และจดั พมิ พห์ นงั สือ คณุ ณฏั ฐวฒุ ิ โตวิกกัยสมาคมผปู้ กครองและครโู รงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ดร.ศิลปพร ศรีจัน่ เพชรคุณสุธี ธาราหิรัญโชติ คณุ วิภาดา ต้งั ปกรณ์คุณสรวุฒิ เนื่องจำ� นงค์ คณุ พิเศษ วงศ์กติ ตพิ ฒั น์คณุ เดชา รตั นาธาร คุณธีรศักด์ิ ธนพัฒนากลุคณุ บญุ ฤทธิ์ รัตนจงกลคณุ อภิชาต เจริญพิวัฒนพงษ์ เรียบเรยี งโดย จดั พิมพโ์ ดย อาจารย์จินตนา บรรลือศักด์ิ บริษัท ไซเบอรพ์ รนิ้ ท์ จำ� กัด ผูต้ รวจ 959 ซอยสทุ ธิพร ถนประชาสงเคราะห์ รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา สรายทุ ธพิทักษ์ แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กทม 10400 ชอื่ เรือ่ ง โทร 02-641-9135-8 โทรสาร 02-641-9139 หนังสอื เรยี นวิชาสุขศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 2 พมิ พค์ ร้ังที่ 1 ออกแบบรปู เลม่ ปที พ่ี มิ พ์ : กนั ยายน 2557 เซยี ดไี ซน์ สตูดโิ อ Zia Design Studio จ�ำนวนทีจ่ ัดพมิ พ์ : 2000 เล่ม 137 ซอยสุขุมวิท 81 ถนนสขุ มุ วิท จำ� นวนหนา้ : 48 หน้า แขวงพระโขนงเหนอื เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10260 ราคา : 105 บาท Tel : 02-311-2156, 081-732-7893 ประเภทของสง่ิ พิมพ์ : หนังสือ Fax : 02-742-6754 เจา้ ของและผู้จดั จำ� หนา่ ย E-mail : [email protected] โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ภาพประกอบ ซอยจฬุ า 11 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ ณัฐพร ดวงฉวี เขตปทมุ วัน กรุงเทพฯ 10330 ISBN: 978-616-551-838-32 สุขศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 2
เกร่นิ น�ำ คำ� น�ำ คงไม่มีใครปฏิเสธว่า สมัยเป็นนักเรียน เรามัก หนงั สอื เรยี นวชิ าสขุ ศกึ ษาระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาจะสนใจหนังสืออ่านเล่นที่มีรูปเล่ม ภาพประกอบ สีสัน ปที ี่ 5 ซง่ึ อยใู่ นกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษาและเนอ้ื หาทนี่ า่ สนใจสำ� หรบั เดก็ นกั เรยี นมากกวา่ การอา่ น จดั ทำ� ขน้ึ ตามสาระการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รแกนกลางการตำ� ราเรยี นดงั นน้ั สมาคมผปู้ กครองและครโู รงเรยี นสาธติ ศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีวัตถุประสงค์จฬุ าฯ จงึ เหน็ ความสำ� คญั ในการปรบั ปรงุ เนอื้ หาของตำ� รา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ สอื่ ประกอบการเรยี นรใู้ นการทจี่ ะพฒั นาผเู้ รยี นเรียนใหม้ ีความทนั สมยั และถูกตอ้ ง มรี ูปภาพประกอบที่ ใหม้ ศี กั ยภาพทง้ั ในเรอ่ื งของการคดิ การแกป้ ญั หา ตลอดสวยงามและชดั เจน ตลอดจนมรี ปู เลม่ ทด่ี งึ ดดู ใหน้ า่ สนใจ จนการคน้ ควา้ หาความรตู้ า่ ง ๆ มที กั ษะชวี ติ ทส่ี ามารถนำ�นา่ เรยี นรู้ เพอื่ ใหห้ ลกั สตู รของโรงเรยี นทไ่ี ดร้ บั การพฒั นา ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ที่ส�ำคัญคือมีสุขภาพดี ท้ังมาอยา่ งยาวนาน คงความเป็นหลกั สตู รที่ดีเลศิ ตลอดไป ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ รวมทง้ั อยรู่ ว่ มกนั กบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ ง ด้วยความตั้งใจของสมาคมผู้ปกครองและครู มคี วามสขุโรงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ จงึ เกดิ “โครงการพฒั นาตำ� ราเรยี น” ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นขึ้น เป็นความภาคภูมิใจและน่ายินดีที่โครงการดังกล่าว ประโยชนแ์ ละชว่ ยพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ มที กั ษะทำ� ใหเ้ รามหี นงั สอื เรยี นในรปู แบบใหมท่ ม่ี คี ณุ ภาพ สำ� หรบั ชีวิตในการด�ำรงสุขภาพเพ่ือเป็นรากฐานที่ดีในการด�ำรงเปน็ สอ่ื การเรยี นการสอนภายในโรงเรยี น อกี ทง้ั ยงั สามารถ ชีวติ ต่อไปนำ� ไปใชอ้ า้ งองิ และเผยแพรเ่ ปน็ ประโยชนแ์ กค่ ณะครแู ละผูเ้ รยี นอน่ื ๆ ทั่วไปท่ีสนใจไดอ้ กี ด้วย อาจารยจ์ นิ ตนา บรรลือศักด์ิ ในนามของสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียน ผู้จดั ทำ�สาธิตจุฬาฯ ขอขอบพระคุณความร่วมแรงร่วมใจของโรงเรียน คณาจารย์ผู้แต่งหนังสือ กรรมการสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ และผู้ที่เก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีท�ำให้โครงการพัฒนาต�ำราเรียนนี้ด�ำเนินการมาได้อยา่ งราบร่ืนและประสบความส�ำเร็จตลอดมา นายศกั ด์ชิ ยั ยอดวานิช นายกสมาคมผปู้ กครองและครูโรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 3
สารบญัหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 บรโิ ภคปลอดภัย ใส่ใจสักนิด หนา้ 6 หน่วยย่อยที่ 4.1 ข้อมลู ขา่ วสารทางสุขภาพ • แหล่งข้อมูลขา่ วสารทางสขุ ภาพและวิธคี น้ หา 8 กจิ กรรมเสริมความเขา้ ใจ 1 10 11 หนว่ ยย่อยที่ 4.2 การตดั สินใจเลอื กซอื้ อาหารและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ 11 • ลกั ษณะของอาหาร 13 • หลกั การพจิ ารณาเลอื กซ้ือเครอ่ื งสำ� อาง 15 กจิ กรรมเสรมิ ความเข้าใจ 2 17 • การวเิ คราะหส์ ่อื โฆษณาเพ่อื ตัดสินใจเลือกซือ้ อาหารและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ 18 กิจกรรมเสรมิ ความเข้าใจ 3 19 19 หน่วยยอ่ ยที่ 4.3 การใช้บริการทางสุขภาพ 20 • ความหมายของการบรกิ ารสุขภาพ 22 • บคุ คลทใ่ี ห้บรกิ ารทางสุขภาพ 23 กจิ กรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 4 แบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ 24 24หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ใช้ยาปลอดภยั ห่างไกลสารเสพติด 25 26 หน่วยย่อยที่ 5.1 ความปลอดภัยจากการใช้ยา 27 • อนั ตรายจากการใช้ยา • ข้อแนะนำ� ในการปฏิบัตติ นจากการอา่ นฉลากยา กิจกรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 1 4 สุขศึกษา ประถมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 2
หนว่ ยยอ่ ยท่ี 5.2 สารเสพตดิ ใหโ้ ทษ หน้า • ความหมายของสารเสพติด 29 • ชนดิ และประเภทของสารเสพตดิ 29 • ลกั ษณะอาการของผู้ติดสารเสพตดิ 29 • สาเหตขุ องการตดิ สารเสพตดิ 31 • ผลกระทบของการตดิ สารเสพตดิ 31 • การปอ้ งกนั การตดิ สารเสพติด 32 กจิ กรรมเสรมิ ความเข้าใจ 2 32 แบบฝึกหัดทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้ 33 34หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 ชวี ติ และครอบครวั 35 หน่วยยอ่ ยท่ี 6.1 การเปลย่ี นแปลงทางเพศ 36 • สขุ ปฏิบตั ิทางเพศ 37 กจิ กรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 1 38 • การปฏิบัตติ นใหเ้ หมาะสมกับเพศตามวฒั นธรรมไทย 39 กจิ กรรมเสริมความเขา้ ใจ 2 40 41 หนว่ ยยอ่ ยท่ี 6.2 ครอบครวั กบั คณุ ภาพชวี ติ 41 • ความหมายและองค์ประกอบของครอบครวั 42 • ลักษณะของครอบครวั ทอ่ี บอุน่ 43 • ความขัดแยง้ ในครอบครัวและกลมุ่ เพ่ือน • พฤติกรรมทพี่ งึ ประสงคใ์ นการแกไ้ ขปญั หาความขัดแย้งในครอบครัว 44 และกลุ่มเพ่ือน 45 กจิ กรรมเสริมความเขา้ ใจ 3 48 แบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วยการเรยี นร ู้ 48บรรณานกุ รม 5
บหนรว่ ยโิ กภารคเรยีปนรลู้ท่ีอ4 ดภยั ใส่ใจสักนิด ตวั ชี้วัดชน้ั ปี 1. คน้ หาขอ้ มลู ขา่ วสารเพอ่ื ใชส้ รา้ งเสรมิ สขุ ภาพได้ (พ4.1 ป.5/2) 2. วเิ คราะหส์ อื่ โฆษณาในการตดั สนิ ใจเลอื กซอ้ื อาหารและผลติ ภณั ฑ์ สุขภาพอยา่ งมเี หตผุ ลได้ (พ 4.1 ป.5/3) บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสักนดิขอ้ มลู ข่าวสารทางสุขภาพ การตดั สนิ ใจเลอื กซอื้ อาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ การใชบ้ ริการทางสขุ ภาพ ( การวเิ คราะหส์ อ่ื โฆษณาในการตดั สนิ ใจเลอื กซอื้ อาหารและผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ ) หนว่ ยยอ่ ยที่ 4.1 ขอ้ มลู ข่าวสารทางสขุ ภาพ สังคมปัจจุบันนับว่าเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร เพราะความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยดี า้ นการผลติ สอ่ื ตา่ งๆ ทำ� ใหส้ ามารถเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และทว่ั ถงึ กนั ทกุ มมุ โลก ทกุ วนั นเ้ี ราไดร้ บั ข้อมูลขา่ วสารต่างๆ ผา่ นสอ่ื หลายประเภท เชน่ โทรทศั น์ วทิ ยุ นติ ยสาร วารสาร อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ ฯลฯ เร่ืองราวความรู้เก่ียวกับสุขภาพเป็นข้อมูลหนึ่งที่อยู่ในความสนใจของ ประชาชน ดังนั้น ประชาชนจ�ำเป็นต้องรู้จักวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพท่ีได้รับ เพื่อเป็นความรู้ ในการที่จะน�ำไปปฏิบัติในการสร้างเสริมสุขภาพให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ รวมท้ังป้องกันอันตรายที่อาจจะ เกดิ ขึ้นจากการโฆษณาชวนเชอื่ หรอื การโออ้ วดสรรพคณุ ท่ีเกินความจรงิ6 สุขศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 2
แนวทางการวิเคราะหข์ อ้ มลู ข่าวสารดา้ นสขุ ภาพ 1. ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ได้จากสื่อสิ่งพิมพ์และอินเทอร์เน็ต ควร วเิ คราะหว์ า่ มาจากแหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ไดห้ รอื ไม่ เชน่ โรงพยาบาล ขอ้ มลู จากแพทย์ เปน็ ตน้ 2. ข้อมูลท่มี าจากการโฆษณาสินคา้ ควรวิเคราะห์การให้รายละเอียดของ ขอ้ มลู การใชข้ อ้ ความทเ่ี กนิ จรงิ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ รวมทง้ั วเิ คราะห์ ถึงคณุ ภาพและความปลอดภัยด้วย 3. ขอ้ มลู ขา่ วสารทกุ ประเภทควรมกี ารตรวจสอบซำ้� เชน่ สอบถามผรู้ ู้ ถาม ผ้เู คยใช้สินคา้ หรือผลติ ภณั ฑ์ข้อมลู ข่าวสารทางสขุ ภาพ ข่าวสารสุขภาพ หมายถึง ข่าวหรือข้อความเกี่ยวกับสุขภาพที่ผู้ส่งตอ้ งการประชาสมั พนั ธห์ รอื ถา่ ยทอดความรใู้ หก้ บั บคุ คลทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื บคุ คลอนื่ ๆท่สี นใจ ปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารสุขภาพ โดยผู้ท่ีเกีย่ วข้องหรอื ผูท้ ส่ี นใจสามารถเขา้ ไปคน้ หาข้อมลู ได้หลากหลายแนวทาง เช่นเวบ็ ไซต์ โทรศพั ท์ หนังสอื วารสาร โทรทัศน์ วิทยุ หรอื ทห่ี น่วยงานโดยตรง 7
แหล่งข้อมูลข่าวสารทางสขุ ภาพและวธิ ีคน้ หา แหล่งขอ้ มลู ขา่ วสารที่ใหข้ อ้ มลู ด้านสุขภาพท่ีเชอ่ื ถือได้ทนี่ ักเรียนควรรู้ มีดงั นี้1. สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา เร่อื งน่ารู้ สามารถตดิ ตอ่ สอบถามและขอขอ้ มลู เกย่ี วกบั การ สถาบันวจิ ัยระบบสาธารณสุขเลอื กซอ้ื และเลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพชนดิ ตา่ งๆ ทสี่ นใจ (สวรส.) ไดร้ บั การสนับสนุนโดยโทรศพั ทไ์ ปทหี่ มายเลข 0-2590-7000 หรอื อาจไป จากสำ�นกั งานกองทนุ สนบั สนนุตดิ ตอ่ ขอเอกสารทางวชิ าการไดโ้ ดยตรงทส่ี ำ� นกั งานคณะ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)กรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ถนน และความร่วมมอื จากองคก์ รติวานนท์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี หรือค้นข้อมูล ภาคตี ่างๆ ได้จดั ทำ�เว็บไซต์ผ่านส่ืออินเทอร์เน็ตโดยเปิดเข้าไปท่ีเว็บไซต์ www. www.hiso.or.th เพอ่ื เปน็ การfda.moph.go.th หรอื สามารถโทรศพั ทไ์ ปรบั ฟงั ขอ้ มลู เผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารสขุ ภาพเก่ียวกับผลิตภณั ฑ์สุขภาพชนดิ ต่างๆไดท้ ส่ี ายด่วน อย.1556 ซึ่งแบ่งสาระน่ารู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็น ผา่ นส่อื อินเทอรเ์ นต็หมวดตา่ งๆ เชน่ สาระนา่ รดู้ า้ นยา อาหาร เครอ่ื งสำ� อางเครอ่ื งมือแพทย์2. ส�ำนกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค (สคบ.) เป็นหน่วยราชการสังกัดเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ส�ำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่รับเร่ืองราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคท่ีไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการซื้อและใชส้ นิ คา้ รวมท้ังเผยแพร่ความรู้ทางวชิ าการแกผ่ บู้ รโิ ภค ซ่งึ สามารถโทรศพั ท์ติดตอ่ไดท้ ห่ี มายเลข 0-2629-7037-9 หรอื สายดว่ นรอ้ งทกุ ข์ 1166 หรอื คน้ ขอ้ มลู ผา่ นสอ่ือินเทอรเ์ น็ตโดยเปิดเข้าไปท่เี ว็บไซต์ www.ocpb.go.th.3. สายดว่ น 1675 กนิ ดี สขุ ภาพดี กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพท่ีมีเรื่องราวเก่ียวกับการบริโภคอาหารและโภชนาการทคี่ วรรู้ โดยสายดว่ น 1675 กนิ ดี สขุ ภาพดี จะแบง่ สาระความรเู้ ปน็ หมวดตา่ งๆ ซงึ่ หมวดทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การบรโิ ภค ไดแ้ ก่ หมวดอาหารและเครอ่ื งดื่ม โภชนบัญญัติ 9 ประการ ผลิตภณั ฑ์เสริมอาหาร8 สุขศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 2
4. กรมควบคุมโรค มีหน้าที่เผยแพร่วิชาการด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยท่ีคุกคามสุขภาพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชน สามารถค้นข้อมูลเพิ่มเติมผ่านส่ืออินเทอร์เน็ตโดยเปิดเข้าไปท่ีเว็บไซต์ www.ddc.moph.go.th 5. กรมอนามยั มีหน้าท่ีถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ ตลอดจนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรการปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และประชาชน สามารถคน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ผา่ นสอ่ือินเทอรเ์ น็ตโดยเปิดเข้าไปทเ่ี วบ็ ไซต์ www.anamai.moph.go.th 6. ส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สป.สช.) มหี นา้ ทดี่ ำ� เนนิ การเพอ่ื ใหป้ ระชาชนมหี นว่ ยบรกิ ารประจำ� และการขอเปลี่ยนหน่วยบริการประจ�ำ ตลอดจนประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนทราบขอ้ มลู ของหนว่ ยบรกิ าร กำ� กบั ดแู ลหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยบรกิ ารในการใหบ้ รกิ ารขา่ วสารสาธารณสขุ และอำ� นวยความสะดวก รบั การเสนอเรอื่ งรอ้ งเรยี นตา่ งๆ สามารถคน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ผา่ นสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ โดยเปดิเขา้ ไปทเ่ี วบ็ ไซต์ www.nhso.go.th7. สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) มีหน้าที่ในการกระตุ้น สนับสนุนและประสานความร่วมมือให้ประชาชนร่วมในกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ โดยการควบคุมการบริโภคยาสูบควบคุมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสขุ ภาพ สนบั สนนุ โครงการการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ างถนนและอบุ ตั เิ หตตุ า่ งๆสง่ เสรมิ การออกกำ� ลงั กายและกฬี าเพอ่ื สขุ ภาพ สามารถคน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิผา่ นสื่ออินเทอรเ์ น็ตโดยเปดิ เขา้ ไปท่ีเวบ็ ไซต์ www.thaihealth.or.th 9
กจิ กรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 1 ใหน้ กั เรยี นทำ� รายงานโดยคน้ ควา้ ขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพ จะเปน็ ขา่ วหรอื บทความกไ็ ดจ้ ากแหลง่ ขอ้ มูลต่างๆ คนละ 5 เรอ่ื ง และตอบค�ำถามตามหัวขอ้ ทกี่ ำ� หนดให้ดงั น้ี หวั ข้อขา่ วหรอื บทความ เร่อื ง 1. เนอื้ หา 2. วเิ คราะห์ความนา่ เชอ่ื ถือหรือไม่นา่ เช่อื ถอื ของข้อมลู โดยระบุเหตุผล 3. อา้ งอิง10 สขุ ศกึ ษา ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เล่ม 2
หน่วยย่อยท่ี 4.2 การตัดสินใจเลือกซ้ืออาหารและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ อาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพตา่ งๆ เชน่ ยา เครอ่ื งสำ� อาง เครอื่ งใชต้ า่ งๆลว้ นเปน็ ปจั จยั ทมี่ คี วามจำ� เปน็ ตอ่ การดำ� รงชวี ติ โดยเฉพาะอาหารซงึ่ ในปจั จบุ นัมหี ลากหลายรปู แบบทจ่ี ำ� หนา่ ยใหก้ บั ผบู้ รโิ ภค การทผี่ บู้ รโิ ภคจะตดั สนิ ใจเลอื กซื้ออาหารในรูปแบบใดน้ัน ควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ เช่น ความปลอดภัยความสะอาด ราคา ค่านิยม อทิ ธพิ ลของการโฆษณา เปน็ ตน้ลกั ษณะของอาหารทม่ี ีจำ� หน่ายในปัจจุบนั มีดงั ตอ่ ไปน้ี1. อาหารทันใจหรอื อาหารจานด่วน ได้แก่ 1.1 อาหารปรุงตามท่ีส่ังทนั ที ไดแ้ ก่ อาหารตามสั่งตา่ งๆ เช่น กว๋ ยเตี๋ยว ข้าวผดั ราดหนา้ ฯลฯ ถงึ แมจ้ ะมคี วามปลอดภยั เนอ่ื งจากอาหารปรงุ เสรจ็ ใหมๆ่ แตผ่ ู้ บรโิ ภคควรพจิ ารณาดา้ นความสะอาดของการลา้ งผกั และเนอ้ื สตั วท์ ใี่ ช้ ปรงุ อาหาร รวมทงั้ ความปลอดภยั ของเครอื่ งปรงุ ดว้ ย เชน่ การใชส้ า รกลมุ่ ซลั ไฟตห์ รอื สารฟอกขาวในการผลติ อาหาร โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ฟอกสอี าหารใหข้ าวขนึ้ ลดการเกดิ สนี ำ�้ ตาลและยดื อายกุ ารเกบ็ เกย่ี วอาหาร เนอ่ื งจากมคี ณุ สมบตั ยิ บั ยงั้ และทำ� ลายเชอื้ ราไดด้ ี สารฟอก ขาวมักใส่ในถ่ัวงอก หน่อไม้ดอง ซ่ึงอาจมีผลต่อผู้บริโภค คือ ท�ำให้ เกดิ โรคภมู แิ พแ้ ละโรคไตได้ สาร ด.ี ด.ี ท.ี ซงึ่ เปน็ สารปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รู พชื ทำ� ใหข้ ากรรไกรและกลา้ มเนอื้ เกรง็ เจบ็ คอ คลนื่ ไส้ อาเจยี น ปวด ศรี ษะ ออ่ นเพลยี ถา้ ไดร้ บั ในปรมิ าณมากอาจเปน็ อนั ตรายถงึ ชวี ติ การ ปนเปอ้ื นของอะฟลาทอกซนิ ในถวั่ ลสิ งปน่ พรกิ แหง้ และพรกิ ป่น จะ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคมะเรง็ ในตบั เปน็ ตน้ นอกจากนผี้ บู้ รโิ ภคยงั ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ สขุ ลกั ษณะของผปู้ ระกอบอาหาร และความสะอาดของรา้ นอาหารดว้ ย 11
1.2 อาหารประเภทปรงุ สำ� เร็จ ได้แก่ อาหารที่ผ่านการปรุงแล้ว เช่น แกงเผ็ด แกงจืด ผัดผกั ตา่ งๆ การเลือกซ้ือต้องสงั เกตสี กล่นิ และรสของ อาหารว่าเป็นไปตามปกติ นอกจากนี้ยังต้องดูความ สะอาดของสถานที่ ผู้ประกอบอาหารและผู้ขาย รวม ถึงภาชนะ และอุปกรณ์ในการอุ่นอาหารให้ร้อนเพ่ือ ทำ� ลายเช้อื โรค 1.3 อาหารทันใจจากต่างประเทศ หรือทเ่ี รียกกันวา่ อาหารฟาสต์ฟู้ด มกั มชี อ่ื เรยี กเปน็ ภาษาองั กฤษ เชน่ พซิ ซา่ แฮมเบอรเ์ กอร์ โดนทั เฟรน้ ช์ฟรายด์ ฯลฯ ผ้บู ริโภคทช่ี อบรับประทาน อาหารประเภทนี้ ควรค�ำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ เนอื่ งจากจะมปี รมิ าณสารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรต และไขมนั มาก รวมทั้งน�้ำตาลด้วย เมื่อรับประทานเปน็ ประจ�ำอาจส่งผลให้เกิดโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เปน็ ตน้ 2. อาหารปรุงไว อาหารปรงุ ไว ไดแ้ ก่ อาหารกงึ่ สำ� เรจ็ รปู ทม่ี เี ครอ่ื งปรงุ รส ในซองแนบมา เช่น บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป โจ๊ก ข้าวต้ม ฯลฯ เพ่ือ สะดวกในการรับประทาน เพียงแค่เติมน้�ำร้อนก็สามารถ รับประทานได้ ในการเลือกซ้ืออาหารกึ่งส�ำเร็จรูปควรเลือก บรรจภุ ณั ฑท์ ม่ี ฉี ลากแสดงชอื่ อาหารทางการคา้ เลขทะเบยี นการคา้ เครือ่ งหมาย อย. สถานทผี่ ลติ สว่ นประกอบ วนั เดือน ปที ผ่ี ลิต วันหมดอายุ นอกจากนี้อาหารต้องบรรจุอยู่ในห่อหรือซองที่ เรียบร้อยไม่ช�ำรุดฉกี ขาด สขี องหอ่ ไมล่ อก เมือ่ เปิดหอ่ หรือซอง แล้วไม่มีกลิ่นหืนหรือมีเช้ือราปะปน อาหารกึ่งส�ำเร็จรูปส่วน ใหญ่จะมีแป้ง ดังนั้น ถ้าต้องการบริโภคควรเติมผัก เนื้อ สัตว์หรือไข่ เพ่ือเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและผู้ท่ีแพ้ผงชูรส ไม่ควรรับประทานอาหารประเภทน้ี เพราะในซองเคร่ืองปรุง จะมีผงชูรสอยู่ดว้ ย12 สขุ ศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 2
3. อาหารพรอ้ มปรงุ อาหารพร้อมปรุงเป็นอาหารดิบท่ีบรรจุเป็นชุดๆ มีให้เลือกว่า ต้องการอาหารประเภทผดั แกง ทอด ย�ำ โดยมเี นือ้ สตั ว์ ผัก เครื่องปรงุ พร้อมที่จะน�ำไปปรุงที่บ้าน ในการเลือกซื้อควรค�ำนึงความสดใหม่ของ อาหาร ก่อนปรุงอาหารควรน�ำมาล้างให้สะอาดก่อน ข้อเสียของอาหาร ประเภทนี้คือ บางคร้ังไม่มีฉลากระบุส่วนผสม วันท่ีผลิต วันหมดอายุ และอาจมีปริมาณสารเจือปนในอาหารเกินมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ ดังนั้น ในการเลือกซ้ืออาหารชนิดน้ี ต้องเลือกท่ีมีฉลากระบุส่วนผสม วันผลิต และวนั หมดอายไุ วอ้ ยา่ งชดั เจน การตัดสินใจเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่นๆ ก็มีความจำ�เป็น โดยเฉพาะเครื่องสำ�อางซึ่งส่วนใหญ่ใช้เพื่อความสะอาดในชีวิตประจำ�วัน รวมถึงใช้เพ่ือปกป้องหรือส่งเสริมให้มีสุขภาพดีและตกแต่งให้ดูดี เช่น ยาสีฟัน น้ำ�ยาป้วนปาก แป้ง แชมพู สบู่ เป็นต้นหลกั การพิจารณาเลอื กซ้อื เคร่ืองสำ� อาง ต้องสงั เกตฉลากแสดงส่ิงตา่ งๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. ชือ่ เคร่อื งสำ� อาง ชือ่ ทางการคา้ 2. ประเภทหรอื ชนิดของเครื่องสำ� อาง วา่ เปน็ เคร่อื งส�ำอาง ควบคุมพิเศษ เคร่ืองส�ำอางควบคมุ หรอื เคร่ืองส�ำอางทั่วไป 3. สว่ นประกอบทส่ี ำ� คัญ เป็นสว่ นที่จะช่วยให้สามารถตรวจสอบ รายละเอียดของสว่ นประกอบในเครื่องส�ำอางก่อนซ้อื เพอื่ ที่ จะไดห้ ลกี เลย่ี งสารเคมที แ่ี พ้ได้งา่ ยขึน้ 4. ชอื่ และทตี่ ้งั ของผ้ผู ลิตและผนู้ ำ� เข้า ในสว่ นนจ้ี ะเปน็ การแสดง ความรบั ผดิ ชอบของเจา้ ของผลิตภัณฑ์ ในกรณที ผี่ บู้ รโิ ภคเกดิ ปญั หาใดๆ กส็ ามารถตดิ ต่อหาผูร้ บั ผิดชอบได้ 5. วัน เดอื น ปที ่ีผลิต 6. วิธใี ช้ 7. ปริมาณสุทธิ 8. คำ� เตือน เคร่ืองสำ� อางควบคุมพิเศษทกุ ประเภทตอ้ งแสดง ขอ้ ความคำ� เตอื นทก่ี ฎหมายกำ� หนด 13
เรือ่ งน่ารู้ 1. เครื่องสำ� อางควบคมุ พเิ ศษ เป็นเครื่องส�ำอางที่มีความเส่ียงสูงต่อการเกิด อนั ตรายกบั ผบู้ รโิ ภค เพราะมสี ว่ นผสมของสารเคมที เี่ ปน็ อนั ตราย การกำ� กบั ดูแลจงึ เขม้ งวด ตอ้ งมกี ารขึ้นทะเบยี นก่อน น�ำมาจำ� หนา่ ย จงึ มีเลขทะเบยี น ในกรอบ อย. เชน่ ยาสฟี นั นำ้� ยาบ้วนปาก ผลิตภณั ฑ์ยืดผม ดัดผม ยอ้ มผม ผลติ ภณั ฑ์ก�ำจดั ขน เปน็ ต้น 2. เครื่องส�ำอางควบคุม เป็นเครื่องส�ำอางท่ีอันตรายน้อยกว่าเคร่ืองส�ำอาง ควบคมุ พเิ ศษ มสี ว่ นผสมของสารควบคมุ การกำ� กบั ดแู ลไมเ่ ขม้ งวดเทา่ เครอื่ ง ส�ำอางควบคุมพเิ ศษ ผ้ปู ระกอบธุรกิจเพยี งมาแจ้งรายละเอยี ดตอ่ หน่วยงาน ของรัฐ เคร่ืองส�ำอางควบคุมจะไม่มีเลขทะเบียน อย. เช่น แป้งฝุ่นโรยตัว แชมพูขจัดรงั แค ครมี กันแดด ผา้ อนามัย เปน็ ตน้ 3. เครอ่ื งส�ำอางทั่วไป เปน็ เคร่ืองส�ำอางที่ไม่มีสว่ นผสมของสารควบคมุ พิเศษ หรือสารควบคุม เช่น แชมพูสระผมท่ีไม่มีสารขจัดรังแค สบู่ ครีมนวดผม โลชนั่ ครมี บ�ำรุงผิว ลปิ สติก โฟมลา้ งหน้า นำ�้ มนั ทาผวิ เยลแต่งผม เป็นต้น หลักในการใชเ้ คร่ืองส�ำอางใหป้ ลอดภยั 1. ควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ท่ีเช่ือถือได้ ไม่ซ้ือตามค�ำ โฆษณาหรือคำ� ชกั ชวนของผู้อื่น 2. ควรซอ้ื ผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อางทม่ี ฉี ลากอยา่ งชดั เจน 3. ก่อนใช้ควรอ่านฉลากให้เข้าใจและปฏิบัติตามค�ำ แนะน�ำอย่างเครง่ ครัด 4. ควรทดสอบการแพก้ อ่ นใช้ และเมอื่ เกดิ การแพค้ วร หยุดใช้เครอ่ื งส�ำอางนั้นทันที 5. ควรใชเ้ ครอื่ งสำ� อางตามความจำ� เปน็ เพราะการใช้ อยา่ งพรำ่� เพรอ่ื อาจทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตราย และเปน็ การ ส้ินเปลืองคา่ ใชจ้ ่ายอีกด้วย14 สุขศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 2
กิจกรรมเสรมิ ความเข้าใจ 2 ใหน้ กั เรยี นหาฉลากผลติ ภณั ฑอ์ าหาร และผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพอนื่ ๆ มาอยา่ งละ 1 ชนดิ ตดิ ลงในกรอบทกี่ �ำหนดให้ พร้อมทัง้ วเิ คราะหข์ อ้ มูลบนฉลาก โดยทำ� เคร่ืองหมายชี้ระบุจดุ ที่ควรสงั เกตกอ่ นการเลือกซื้อผลติ ภณั ฑน์ นั้ และแสดงความคดิ เหน็ ดว้ ยวา่ นกั เรยี นจะตดั สนิ ใจซอ้ื ผลติ ภณั ฑเ์ หลา่ นห้ี รอื ไม่ เพราะเหตใุ ดฉลากผลติ ภณั ฑ์อาหารผลิตภัณฑน์ ี ้ สมควร ไม่สมควร เลือกซอื้ เพราะ 15
ฉลากผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพ ผลติ ภัณฑ์น้ ี สมควร ไม่สมควร เลอื กซื้อ เพราะ16 สุขศกึ ษา ประถมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 2
อิทธิพลของส่ือโฆษณาต่อการตัดสินใจ โฆษณาทางทวี ที แ่ี สดงการรบั รไู้ ดท้ งั้ ภาพและเสยี งเลอื กซื้ออาหารและผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดแต่งภาพ เพิ่มแสง สามารถท�ำให้คนหลงเช่ือได้ แต่พอซ้ือมาใช้กลับ การโฆษณามอี ทิ ธพิ ลอยา่ งยง่ิ ตอ่ ผบู้ รโิ ภค ยง่ิ ไม่เป็นไปตามท่ีโฆษณา และอาจเกิดอันตรายต่อในปัจจุบันมีสื่อต่างๆที่เข้าถึงผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว สุขภาพ ดังน้ัน ก่อนตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและและง่ายดาย ผู้ผลิตจึงแข่งขันกันท�ำโฆษณาผ่านสื่อ ผลิตภัณฑ์ใดๆ ควรพิจารณาใหร้ อบคอบตา่ งๆ เชน่ โทรทศั น์ หนงั สอื พมิ พ์ อนิ เทอรเ์ นต็ ฯลฯเพอื่ นำ� เสนอขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑข์ องตนเองตอ่ ผบู้ รโิ ภคซง่ึ บางครง้ั มกี ารโฆษณาเกนิ ความจรงิ หรอื ใชเ้ ทคนคิกลวธิ ตี า่ งๆ ทท่ี ำ� ใหผ้ บู้ รโิ ภคหลงเชอื่ โดยเฉพาะการการวเิ คราะห์ส่อื โฆษณาเพอื่ ตัดสนิ ใจเลอื กซ้ืออาหารและผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ การวิเคราะห์ส่ือโฆษณาเพื่อตัดสินใจเลือกซ้ืออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ เพราะการโฆษณาสว่ นใหญม่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ จงู ใจผบู้ รโิ ภค จงึ มกั ใชข้ อ้ ความหรอื ตกแต่งภาพใหเ้ กินจรงิ ผู้บรโิ ภคควรมแี นวทางในการวเิ คราะหส์ ื่อโฆษณา ดงั นี้ 1. วิเคราะห์ส่ือโฆษณาว่ามคี วามเชอ่ื ถือไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน 2. วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาโฆษณาวา่ มคี วามเกนิ จรงิ หรอื มคี วามเปน็ ไปไดม้ าก น้อยแค่ไหน โดยต้องศึกษาเงื่อนไขรายละเอียดอ่ืนๆ ของผลิตภัณฑ์ ซงึ่ อาจไมไ่ ดร้ ะบุไว้ในการโฆษณา 3. เปรียบเทียบข้อมูลสื่อโฆษณาจากหลายๆแหล่ง เพื่อหาเหตุผลและ ความเปน็ ไปไดข้ องข้อมูล 17
กจิ กรรมเสรมิ ความเข้าใจ 3 ใหน้ ักเรียนยกตัวอย่างการโฆษณาอาหารหรอื ผลิตภณั ฑส์ ุขภาพที่เห็นว่ามีการโฆษณาในลกั ษณะ เกนิ ความจรงิ หรือหลอกลวงใหผ้ ู้บริโภคหลงเชอื่ มา 1 ชนิด การวิเคราะหข์ อ้ เท็จจรงิ จากโฆษณาอาหารหรอื ผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ ชนดิ ของอาหาร/ผลิตภณั ฑ์สุขภาพ ชื่อสนิ คา้ ขอ้ ความทีเ่ กนิ ความจรงิ โฆษณาผ่านสื่อ โทรทศั น์ วิทยุ หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร/นิตยสาร ปา้ ยโฆษณา อ่ืนๆ ระบุ18 สุขศึกษา ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2
หน่วยยอ่ ยที่ 4.3 การใชบ้ ริการทางสุขภาพการใช้บรกิ ารทางสุขภาพ เรอื่ งของสขุ ภาพนบั วา่ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ทท่ี กุ คนควรเอาใจใส่ แมว้ า่ ปจั จบุ นั จะมแี หลง่ บรกิ ารในเรอื่ งของสุขภาพอยู่มากมาย แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ ดังนั้น จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีทุกคนควรจะมีความรู้เก่ียวกับการใช้บริการทางสุขภาพ เพ่ือช่วยเหลือตนเอง รวมท้ังแนะน�ำผู้อื่นในการเลือกใช้บริการสุขภาพเมอ่ื ถึงคราวจำ� เป็นความหมายของการบรกิ ารสขุ ภาพ การบริการสุขภาพ หมายถึง การตรวจโรค การรักษาพยาบาล การป้องกันโรค รวมทั้งการให้ค�ำแนะนำ� ต่างๆ เกี่ยวกับการส่งเสรมิ สุขภาพและการปอ้ งกันโรคดว้ ยสถานทที่ ่ใี หบ้ รกิ ารสุขภาพสถานที่ให้บริการทางสุขภาพมีอย่หู ลายลกั ษณะ ดงั นี้ 1. โรงพยาบาล เปน็ สถานทที่ ใ่ี หบ้ รกิ ารในการตรวจรกั ษาและปอ้ งกนั โรคมที ง้ั ทดี่ ำ� เนนิ การโดยรฐั และเอกชน ใหบ้ รกิ ารในดา้ นการตรวจวนิ จิ ฉยั โรค รกั ษาพยาบาลและ ฟน้ื ฟสู ภาพผปู้ ว่ ยทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจ รวมทง้ั ใหบ้ รกิ ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา่ งๆ 2. คลินิก เป็นสถานท่ีให้บริการทางสุขภาพที่ด�ำเนินการโดยเอกชน ให้บริการแก่ ประชาชนในด้านการตรวจรักษา และให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน ผู้ใช้บริการจะ ตอ้ งเสยี คา่ บรกิ ารสงู กวา่ การใชบ้ รกิ ารจากโรงพยาบาลของรฐั แตก่ น็ บั วา่ สะดวก และประหยดั เวลากวา่ 3. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล เปน็ สถานพยาบาลประจำ� ตำ� บล สงั กดั กระทรวง สาธารณสขุ เดมิ เรยี กวา่ สถานอี นามยั ตอ่ มาเปลยี่ นเปน็ ศนู ยส์ ขุ ภาพชมุ ชน ปจั จบุ นั เรยี กวา่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ซง่ึ จะใหบ้ รกิ ารในเรอ่ื งการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การรกั ษาพยาบาลขน้ั พน้ื ฐาน โดยจะไมร่ บั ผปู้ ว่ ยใน และไมม่ ี แพทยป์ ระจำ� อยู่ แตจ่ ะอาศยั ความรว่ มมอื กบั แพทยใ์ นโรงพยาบาลชมุ ชน 4. ศูนย์บริการสาธารณสุข จัดตั้งขึ้นโดยสำ� นักอนามัย กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ บรกิ ารสขุ ภาพแกป่ ระชาชนทอ่ี ยใู่ นชมุ ชนแออดั หรอื อยหู่ า่ งไกลโรงพยาบาลในเขต กรงุ เทพมหานคร ใหบ้ รกิ ารดา้ นการตรวจรกั ษาโรค การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และการ ปอ้ งกนั โรค 19
บคุ คลทใี่ หบ้ ริการทางสุขภาพ บุคคลที่ใหบ้ ริการทางด้านสุขภาพสามารถแบ่งได้เปน็ 2 พวกใหญ ่ ๆ คอื 1. แพทย์ แพทย์ คือ บคุ คลทีม่ หี นา้ ทต่ี รวจ รักษา หรอื พยาบาลผู้เจบ็ ปว่ ย รวมทงั้ ให้ค�ำแนะน�ำในการป้องกันโรค บุคคลที่จะเป็นแพทย์จะต้องผ่านการเรียนและ ฝึกฝนจนมีความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพแพทย์ เนื่องจากมีโรค ภยั ไข้เจ็บอยมู่ ากมาย ดงั นัน้ จึงมีแพทย์เฉพาะทางอยูห่ ลายสาขา เชน่ 1.1 อายรุ แพทย์ คอื แพทย์ท่มี ีความรคู้ วามช�ำนาญในการรักษาโรคทางยา หรือโรคท่ัวๆไป 1.2 จกั ษแุ พทย์ คอื แพทย์ทีม่ ีความรคู้ วามชำ� นาญในการรักษาโรคตา 1.3 ทันตแพทย์ คอื แพทยท์ ม่ี ีความรู้ความช�ำนาญในการรกั ษาโรคฟนั และโรคในช่องปาก 1.4 กมุ ารแพทย์ คอื แพทย์ทีม่ ีความรู้ความช�ำนาญในการรกั ษาโรคทีเ่ กิดขึ้นกับเดก็ 1.5 จิตแพทย์ คือ แพทย์ท่ีมคี วามรู้ความชำ� นาญในการรกั ษาผู้ป่วยโรคจติ รวมท้งั ให้ค�ำแนะน�ำ กบั ผทู้ ี่อยู่ในภาวะเครียด 1.6 ศลั ยแพทย์ คือ แพทย์ทีม่ ีความรคู้ วามชำ� นาญในการผ่าตดั 1.7 รังสแี พทย์ คอื แพทย์ที่มีความรูค้ วามชำ� นาญในการตรวจวินจิ ฉยั และรกั ษาโรคโดยใช้รงั สี 1.8 วิสญั ญแี พทย์ คือ แพทย์ท่มี คี วามรู้ความชำ� นาญในการใช้ยาสลบ 1.9 สูตนิ รแี พทย์ คือ แพทยท์ ่ีมีความรู้ความช�ำนาญในการทำ� คลอดและโรคเฉพาะสตรี 1.10 สัตวแพทย์ คือ แพทยท์ มี่ หี นา้ ทตี่ รวจรักษาโรคท่ีเกดิ ขน้ึ กบั สัตวร์ วมทั้งป้องกัน ไม่ให้โรคจากสัตวแ์ พร่ระบาดมาสคู่ น 1.11 แพทย์ออรโ์ ธปดิ คิ ส์ คอื แพทย์ท่ีมคี วามร้คู วามชำ� นาญในการรกั ษาโรคเกยี่ วกับกระดูก20 สขุ ศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 2
2. บคุ ลากรข้างเคยี งแพทย์ 2.1 พยาบาล คือ บุคคลที่ส�ำเร็จวิชาพยาบาล มีความรู้ความ สามารถในการรักษาพยาบาลโรคต่างๆ ในขอบเขตความ สามารถของพยาบาล หรอื อาจทำ� หนา้ ทรี่ กั ษารว่ มกบั แพทย์ รวมทั้งให้คำ� แนะนำ� ดา้ นสุขภาพอนามยั แกป่ ระชาชน 2.2 ผู้ชว่ ยพยาบาล คอื บุคคลทีผ่ ่านการศกึ ษาอบรมด้านการ พยาบาลอยา่ งงา่ ยๆ มหี นา้ ทชี่ ว่ ยทงั้ แพทยแ์ ละพยาบาล โดย ท�ำหน้าที่เก่ียวกับการพยาบาลคนไข้ จัดเตียงคนไข้ รักษา ความสะอาดทั่วไป เปน็ ตน้ 2.3 เภสัชกร คือ ผู้ท่ีท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการผสมยา ผลิตยา ควบคุมคุณภาพของยา จ�ำหน่ายยาประเภทต่างๆ ให้ค�ำ แนะน�ำเกีย่ วกับการใช้ยา 2.4 นกั กายภาพบำ� บดั คอื ผทู้ ที่ ำ� หนา้ ทใ่ี หก้ ารรกั ษาความพกิ าร ต่างๆ ที่เกิดข้ึนแก่ร่างกาย เพ่ือฟื้นฟูร่างกายให้ท�ำงานได้ ตามปกติ 2.5 เทคนิคการแพทย์ คือ ผู้ท่ีท�ำหน้าที่ตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการ เช่น ตรวจหาเชื้อโรคหรือสารต่างๆ ที่อยู่ ในร่างกาย เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ใหแ้ พทยว์ ินิจฉยั โรคไดถ้ กู ต้องขอ้ ควรปฏิบัตเิ ม่อื ไปรบั บรกิ ารทางสุขภาพ1. ควรศกึ ษาหาความรเู้ กย่ี วกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพ เพอื่ จะ ได้ไปรับบรกิ ารตรวจรักษาไดถ้ กู ตอ้ ง2. ควรจดจำ� ประวตั กิ ารเจบ็ ป่วยของตนเอง3. ควรแตง่ กายให้พร้อมท่ีจะรับการตรวจรักษาไดส้ ะดวก4. ควรนำ� บตั รของสถานบรกิ ารสขุ ภาพและบตั รประจำ� ตวั ประชาชนไปด้วยทกุ คร้ัง 21
กจิ กรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 4 ให้นักเรียนเขียนเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโรงพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนที่นักเรียนเคยมีประสบการณก์ ารไปใชบ้ ริการ ตามหัวข้อทร่ี ะบุให้หวั ข้อ ชื่อโรงพยาบาลของรัฐบาล ช่ือโรงพยาบาลของเอกชนการบริการ แพทย์ พยาบาลสถานท่ ีเครือ่ งมอื เครื่องใช้ความสะอาดเรียบร้อยคา่ ใช้จ่ายนกั เรียนเลอื กที่จะใช้บริการทางสขุ ภาพท่ีเพราะ22 สุขศึกษา ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เล่ม 2
แบบฝกึ หดั ทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้1. ใหอ้ ธิบายวา่ ข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพมคี วามสำ� คัญต่อการดำ� รงชวี ติ อยา่ งไร2. แหล่งขอ้ มลู ข่าวสารทางสขุ ภาพมอี ะไรบ้าง3. นกั เรียนมีแนวทางในการพจิ ารณาขอ้ มูลข่าวสารดา้ นสุขภาพอยา่ งไรบา้ ง4. ในการเลอื กซื้ออาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพนักเรยี นควรสงั เกตส่งิ ใดในฉลากบา้ ง5. หลกั ในการใช้เครือ่ งสำ� อางให้ปลอดภยั มอี ะไรบา้ ง6. นักเรียนคิดว่าการโฆษณามีอิทธิพลต่อการเลือกซ้ืออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ต่างๆหรือไม่ อธบิ าย7. นักเรียนมีแนวทางในการวิเคราะห์สื่อโฆษณาเพื่อตัดสินใจเลือกซ้ืออาหารและ ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพอย่างไรบ้าง 23
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5ใชย้ าปลอดภัย หา่ งไกลสารเสพตดิ ตวั ชว้ี ัดชั้นปี 1. วิเคราะห์ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการใช้สาร เสพติดได้ (พ 5.1 ป.5/1) 2. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการใชย้ าและสาร เสพติดที่มีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาได้ (พ 5.1 ป5/2) 3. ปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ความปลอดภยั จากการใชย้ า และหลกี เลย่ี งสารเสพติดได้ (พ 5.1 ป.5/3) ใช้ยาปลอดภยั หา่ งไกลสารเสพตดิความปลอดภัย สารเสพตดิ ใหโ้ ทษจากการใชย้ า หนว่ ยย่อยท่ี 5.1 ความปลอดภยั จากการใช้ยา ยา หมายถงึ สงิ่ ทใ่ี ชใ้ นการบำ� บดั บรรเทา รกั ษา หรอื ปอ้ งกนั โรค ถึงแม้ว่ายาจะเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยให้เราหายจากโรคหรือ อาการเจ็บป่วยต่างๆ แต่ถ้าน�ำยามาใช้ในทางที่ผิดก็อาจก่อให้เกิด อันตรายถงึ ชวี ติ ได้24 สุขศึกษา ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เลม่ 2
อันตรายจากการใช้ยา การปฏบิ ตั ติ นเพอื่ ความปลอดภยั จากการใชย้ า วิธีปฏิบัติตนเพ่ือความปลอดภัยจาก การใชย้ าไมถ่ กู วธิ อี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายดงั นี้ การใช้ยา นอกจากการใช้ยาให้ถูกโรค ถูก ขนาด ถูกวิธี และถูกคนแล้ว ควรปฏิบัติดัง 1. การดอื้ ยา ต่อไปน้ี เกิดจากการใช้ยาไม่ครบตามระยะเวลาที่ก�ำหนด ท�ำให้เช้ือโรคท่ีเหลืออยู่พัฒนาตัวเองจนยาชนิดนั้นไม่สามารถรักษาได้ในการใช้ยาครั้งต่อไปได้แก่ ยาปฏิชวี นะ 2. การแพ้ยา เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าทเ่ี กดิ ขนึ้ เฉพาะคนเมอื่ ใชย้ าบางชนิด อาจท�ำให้มีอาการผื่นคันตามผิวหนัง หอบหืดหายใจไม่ออก เนื่องจากการบวมของหลอดลมหรือมีอาการรุนแรงถึงขนั้ เสยี ชีวติ 3. การติดยา เปน็ ผลมาจากการนำ� ยามาใชใ้ นทางทผี่ ดิ โดยใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานท�ำให้เกิดการติดยาได้ เช่นน�ำแอมเฟตามินมาใช้เป็นยาลดความอ้วนหรือทำ� ให้หายง่วง 4. ผลขา้ งเคยี งจากยา อาจทำ� ใหเ้ กดิ อาการงว่ งซมึ เปน็ อนั ตรายกบัผขู้ บั ขย่ี านพาหนะ หรอื ทำ� งานเกย่ี วกบั เครอื่ งจกั รกลยาทีม่ ักทำ� ใหเ้ กิดอาการงว่ งซมึ เชน่ ยาแก้แพ้ ยาลดน�้ำมูก 5. พษิ ของยา ยาบางชนดิ ถา้ ใชม้ ากเกนิ ขนาด หรอื ใชไ้ มถ่ กูตอ้ งอาจเกดิ อาการเปน็ พษิ ได้ เชน่ ทำ� ใหอ้ วยั วะพกิ ารหรือเสอื่ มสภาพ สง่ ผลต่อระบบตา่ งๆเป็นตน้ 25
1. อา่ นฉลากยาใหเ้ ขา้ ใจ ถา้ สงสยั ควรถามผปู้ กครอง 5. ไมค่ วรผสมยาในนมหรอื ดม่ื นมตาม เพราะอาจ2. ไมเ่ ปลย่ี นภาชนะบรรจุยาเอง เพราะอาจทำ� ให้ ทำ� ใหย้ าเสอ่ื มคณุ ภาพได้ อกี ทงั้ การผสมยาในนม ถ้าดื่มนมไม่หมด จะได้ยาไมค่ รบตามก�ำหนด สับสน และยาบางชนิดต้องใส่ภาชนะที่เหมาะ สมเท่าน้นั เพื่อกันแสงแดด กนั ความชน้ื 6. ถ้ายาต้องผสมน้�ำดื่ม ควรผสมน้�ำเปล่า ไม่ควร3. กินยาครบตามจ�ำนวนทแี่ พทย์ก�ำหนด ผสมยาในนำ้� สม้ หรอื นำ้� อดั ลม เพราะอาจทำ� ให้4. ถา้ ลมื กนิ ยา เมอื่ นกึ ไดใ้ หร้ บี กนิ ทนั ที แตถ่ า้ ใกล้ ยาเสือ่ มสภาพ มอื้ ตอ่ ไปใหก้ นิ มอ้ื ตอ่ ไปแทน หา้ มกนิ ยาเพมิ่ เปน็ 2 เท่า 7. เม่ือมีอาการข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน มี ผนื่ ตอ้ งหยดุ ยานน้ั ทนั ที และแจง้ ผปู้ กครองโดย เร็ว เพื่อปรกึ ษาแพทย์ขอ้ แนะนำ� ในการปฏิบตั ติ นจากฉลากยา การใช้ยาทุกชนิดควรสังเกตและอ่านฉลากให้เข้าใจถึงวิธีการใช้ยา ถา้ ปฏบิ ตั ติ ามคำ� อธบิ ายอยา่ งเครง่ ครดั จะทำ� ใหส้ ามารถใหย้ าไดอ้ ยา่ งปลอดภัย1. การกนิ ยากอ่ นรบั ประทานอาหาร ปกตแิ นะนำ� ใหก้ นิ กอ่ นรบั ประทานอาหาร 30 นาที - 1 ชวั่ โมง เพราะเปน็ ระยะเวลาทที่ อ้ งวา่ ง ยาประเภทนถี้ า้ กนิ ขณะมี อาหารอยใู่ นกระเพาะ จะลดการดดู ซมึ ของยา ทำ� ใหย้ าออกฤทธไิ์ มด่ เี ทา่ ทค่ี วร2. การกนิ ยาหลงั อาหาร ยาประเภทนม้ี ฤี ทธกิ์ ดั กระเพาะอาหาร ถา้ กนิ ตอนทอ้ ง วา่ งจะทำ� ใหก้ ระเพาะเปน็ แผล และทำ� ใหเ้ กดิ การคลนื่ ไส้ อาเจยี น จงึ ตอ้ งกนิ หลังอาหารทันที หรอื ไมเ่ กนิ 15 นาที3. ยาเคย้ี วใหล้ ะเอยี ดกอ่ นกลนื ยาประเภทนมี้ กั เปน็ ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ซงึ่ ต้องการใหม้ ีการกระจายตวั ในสว่ นของทางเดินอาหารอยา่ งท่วั ถงึ4. สงั เกตการเสื่อมสภาพของยา โดยดกู ารเปล่ียนแปลงของยา เช่น ลักษณะสี กลน่ิ รส และดทู ฉี่ ลากยาจะมกี ำ� หนดวนั หมดอายโุ ดยพมิ พค์ ำ� วา่ Exp. Date ตามดว้ ย วนั เดอื น ปี ทห่ี มดอายุ หรอื บางทอี าจพมิ พบ์ อกวนั ผลติ โดยใชค้ ำ� วา่ Mfd. Date ตามด้วย วัน เดอื น ปี ท่ีผลิตซึ่งยาเมด็ จะมีอายุไมเ่ กิน 5 ปี ยาน�้ำและยาทาเฉพาะที่มอี ายุไมเ่ กิน 3 ปี หรือพวกยาหยอดตา เมอื่ เปิดใช้ แล้วไม่ควรเก็บยาไวน้ านเกนิ 1 เดอื น26 สขุ ศึกษา ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2
กจิ กรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 1 1. ใหน้ กั เรียนส�ำรวจยาทใ่ี ช้ในบา้ นคนละ 10 ชนดิ แล้วสงั เกตที่ฉลากยา เขียนชือ่ ยา สรรพคณุวธิ ีการใช้ ค�ำเตือน โดยบนั ทกึ ลงในตารางท่ีกำ� หนดไว้ ชื่อยา สรรพคุณ วธิ ีการใช้/คำ� เตือน12345 27
ช่อื ยา สรรพคุณ วิธีการใช้/ค�ำเตือน67891028 สุขศกึ ษา ประถมศึกษาปที ่ี 5 เลม่ 2
หน่วยยอ่ ยท่ี 5.2 สารเสพตดิ ให้โทษ สารเสพติดให้โทษ สารเสพติด หมายถึง ยา หรือสารเคมี หรือวัตถุใดก็ตามเม่ือเสพเข้าสู่ รา่ งกายแลว้ ไมว่ า่ จะโดยวธิ ใี ดกต็ าม เชน่ กนิ ดม สบู ฉดี จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบ ตอ่ ร่างกายและจติ ใจในลักษณะดงั น้ี 1. ต้องเพิม่ ปรมิ าณการเสพมากขน้ึ เรอื่ ยๆ 2. มีความต้องการเสพอย่างรนุ แรง ทงั้ ทางร่างกายและจติ ใจ 3. เกดิ อาการขาดยาเมอ่ื ไมไ่ ด้เสพ 4. สุขภาพโดยท่วั ไปทรุดโทรมเม่ือเสพเปน็ เวลานาน ชนิดและประเภทของสารเสพตดิ แบ่งตามการออกฤทธ์ติ ่อระบบประสาท แบง่ ได้ 4 ประเภท ดังน้ี 1. ชนดิ กระตนุ้ ประสาท สารเสพติดประเภทนี้เมือ่ เสพเข้าร่างกายจะไปกระตุ้น การทำ� งานของสมองสว่ นกลาง ทำ� ใหป้ ระสาทตนื่ ตวั ชพี จรเตน้ เรว็ จะพบวา่ ผู้ เสพจะมอี าการหงดุ หงดิ กระวนกระวาย จติ สบั สน บางครง้ั มอี าการคลมุ้ คลง่ั หรอื ทำ� ในสง่ิ ทค่ี นปกตไิ มก่ ลา้ ทำ� เชน่ ทำ� รา้ ยตนเองหรอื ฆา่ ผอู้ นื่ ได้ สารเสพตดิ ประเภทน้ไี ด้แกแ่ อมเฟตามนี ยาบ้า โคเคน กระทอ่ ม 2. ประเภทกดประสาท ผู้เสพจะมีร่างกายซูบผอม อ่อนเพลีย ไม่ทุกข์ร้อน ไม่ สนใจคนรอบขา้ ง จะนอนหลบั ตลอด ยาประเภทนไี้ ดแ้ ก่ ฝน่ิ มอรฟ์ นี เฮโรอนี ยานอนหลบั และเคร่ืองดืม่ ที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ สารระเหย 3. ประเภทหลอนประสาท ยาประเภทนเ้ี มอื่ เขา้ สรู่ างกายจะทำ� ใหก้ ารรบั รตู้ า่ งๆ ผิดไปจากความเป็นจริง สับสน ใช้ไปนานๆจะไม่รับรู้กาลเวลา สถานท่ี ยา ประเภทนีไ้ ดแ้ ก่ ยาอี LSD ยาเค 4. ประเภทออกฤทธิ์หลายอย่าง ท้ังกดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอน ประสาท ผู้เสพมักมีอาการหวาดระแวง ความคิดสับสน เห็นภาพลวงตา หู แว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้ และอาจป่วยเป็นโรคจิตได้ สารเสพติดประเภทนี้ ไดแ้ ก่ กญั ชา 29
แบ่งตามแหล่งทมี่ า แบ่งได้ 2 ประเภท ดงั นี้ 1. สารเสพติดธรรมชาติ คอื สารเสพตดิ ทไ่ี ดม้ าจากพชื เชน่ ฝน่ิ กญั ชา กระทอ่ ม รวมทงั้ สงิ่ ทไ่ี ดม้ าจากการแปรสภาพทางเคมี ของพืชเหล่านี้ เชน่ มอรฟ์ นี เฮโรอนี ซึ่งแปรสภาพ มาจากฝ่ิน 2. สารเสพติดสงั เคราะห์ คือ สารเสพติดที่ผลิตข้ึนหรือสังเคราะห์ข้ึน ด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น ยาบ้า ยาเค สารระเหย แอล เอส ดี (LSD)30 สขุ ศกึ ษา ประถมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 2
ลักษณะอาการของผตู้ ิดสารเสพติด โดยทั่วไปสงั เกตได้ดงั น้ี1. ผอมซบู ซดี ไมม่ แี รง สขุ ภาพรา่ งกายเสอื่ มโทรม งว่ งเหงาหาวนอน ตลอดเวลา2. น�้ำมูก น้�ำตาไหล ตาโรย สวมแว่นกันแดดตลอดเวลา เพราะ มา่ นตาขยาย สกู้ บั แสงสวา่ งไมไ่ ดแ้ ละเพอ่ื ปกปดิ นยั นต์ าสแี ดงกำ่�3. รมิ ฝปี ากเขยี วคลำ้� แห้งแตก4. เหง่อื ออกมาก กล่นิ เหมน็5. มักใส่เส้ือแขนยาวเพ่ือปกปิดรอยเข็มฉีดยา รอยแผลจากการ กรดี ด้วยของมีคมตามขวางเฉียง ๆ เพราะทำ� ร้ายตนเอง6. มคี ราบเหลืองสกปรกตามน้ิวมือ (ถา้ เสพโดยการสูบ)7. ขาดความเช่ือม่ันในตนเอง ขาดความรับผิดชอบในหน้าท่ี พฤติกรรมเปลย่ี นไป เช่น พดู จากา้ วรา้ ว เจา้ อารมณ์ หงดุ หงิด ความคดิ สับสน มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน เปน็ ต้น8. เม่ือต้องการเสพแล้วไม่ได้เสพจะเกิดอาการขาดยา คือ ขนลุก เหง่ือออก น�้ำมูกน้�ำตาไหล กระสับกระส่าย หายใจถี่ คล่ืนไส้ อาเจียน ปวดท้อง ทอ้ งเสีย ปวดศรี ษะ ปวดกระดกู ฯลฯ สาเหตุของการตดิ สารเสพติด 1. สภาพแวดล้อมไม่ดี อยู่ใกล้แหล่งผลิต แหล่งขายหรือมีผู้ติดยามากใน ครอบครวั และมเี พือ่ นตดิ ยาเสพตดิ 2. ปัญหาครอบครัว พ่อแมห่ ย่าร้าง ไมม่ คี นดูแล อบรมสั่งสอนหรอื เอาใจใส่ ถกู เขม้ งวดหรอื ตามใจมากเกนิ ไป 3. ปญั หาความยากจน ความยากจนทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาตา่ งๆ ตามมามาก ตอ้ ง พบกับความกลุ้มใจในเรือ่ งตา่ งๆ จงึ หาทางออกดว้ ยการเสพส่ิงเสพตดิ 4. ปัญหาจากตัวเอง มีความผิดปกติทางกายและใจ เกิดปมด้อยท�ำให้ถูก ชักจูงได้ง่าย อยากรู้ อยากลอง เชื่อค�ำโฆษณา มีค่านิยมที่ผิดๆ ถูกหลอก โดยร้เู ทา่ ไมถ่ ึงการณ์ 31
ผลกระทบของการติดสารเสพตดิ การใชส้ ารเสพติดทกุ ชนดิ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบทงั้ ต่อตนเองและผู้อนื่ ดงั น้ี 1. ผลกระทบตอ่ ตนเอง สง่ ผลตอ่ รา่ งกายทำ� ใหส้ ขุ ภาพทรดุ โทรม ทำ� ลาย การทำ� งานของสมองและระบบประสาท สง่ ผลใหค้ วบคมุ ตนเองไมไ่ ด้ อาจเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดง้ า่ ย นอกจากนร้ี ะบบตา่ งๆจะถกู ทำ� ลาย ทำ� ใหภ้ มู ิ ต้านทานลดลง จึงเกิดโรคร้ายแรงต่างๆ และเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ สว่ นผลดา้ นจติ ใจและสตปิ ญั ญาจะขาดความสนใจตนเอง เบอื่ หนา่ ย การเรียน ความคิดสับสน มีอารมณ์หงุดหงิด ก้าวร้าว อาจท�ำร้าย ตนเองและผ้อู ่ืนได้ 2. ผลกระทบตอ่ ครอบครวั ผตู้ ดิ สารเสพตดิ จะขาดความรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั เพราะจะนำ� เงนิ ไปซอื้ สารเสพตดิ ทำ� ใหเ้ กดิ หนส้ี นิ เกดิ การ ทะเลาะววิ าทกบั คนในครอบครวั ทำ� ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั ขาดความ อบอนุ่ เกดิ ความทกุ ขใ์ จ สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพจติ และเกดิ ปญั หาครอบครวั แตกแยกตามมา 3. ผลกระทบต่อสังคมและประเทศชาติ ท�ำให้ประเทศต้องสูญเสียงบ ประมาณในการปราบปรามและรักษาผตู้ ดิ สารเสพติด และยงั ทำ� ให้ สูญเสียแรงงานของประเทศ นอกจากน้ีการติดสารเสพติดยังเป็น สาเหตสุ ำ� คญั ในการกอ่ ปญั หาอาชญากรรมตา่ งๆ ทำ� ใหภ้ าพพจนข์ อง ประเทศเสียหายด้วย การป้องกนั การติดสารเสพติด 1. หลีกเลี่ยงการทดลองสารเสพติดทุกชนดิ 2. หลกี เลย่ี งการคบเพอ่ื นทชี่ อบลองเสพสารเสพติด 3. ควรใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เมื่อมีปัญหาควรปรึกษาพ่อแม่ ผู้ปกครอง อาจารย์ ไม่ควรใชส้ ารเสพตดิ เป็นเคร่อื งระบายความทกุ ข์หรือแก้ไขปัญหา 4. สรา้ งความรัก ความอบอุ่นในครอบครวั พอ่ แม่ควรท�ำตัวเปน็ แบบอย่างทดี่ ีให้กับลูก 5. แสวงหาความรู้เก่ียวกับโทษของสารเสพติด และวธิ ปี ้องกนั 6. ให้ความรว่ มมอื กบั ชุมชนหรือเจ้าหน้าท่ีในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาสารเสพตดิ32 สุขศึกษา ประถมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 2
กจิ กรรมเสรมิ ความเขา้ ใจ 2 1. ใหน้ ักเรียนดวู ดิ ีโอเกยี่ วกับผลกระทบของการใชส้ ารเสพติด 2. ให้นักเรียนวเิ คราะหป์ ัจจัยทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการใช้สารเสพตดิ โดยเขยี นเปน็ แผนผงั ความคดิ ปจั จยั ทีม่ อี ทิ ธิพล ตอ่ การใชส้ ารเสพตดิ3. ให้นักเรยี นแบ่งกลุม่ ท�ำโปสเตอรต์ อ่ ตา้ นสารเสพตดิ 33
แบบฝกึ หัดท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ 1. การใช้ยาในทางทผ่ี ดิ ก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายอย่างไรบา้ ง 2. คนที่แพย้ าจะมอี าการอยา่ งไร 3. ให้บอกวิธีปฏบิ ตั ิตนในการใชย้ าใหป้ ลอดภัยมา 3 ข้อ 4. ยากินกอ่ นรบั ประทานอาหารควรกนิ กอ่ นอาหารกี่นาที เพราะเหตใุ ด 5. การดูวันหมดอายขุ องยาให้สังเกตท่ฉี ลากจะพิมพค์ �ำว่าอะไร 6. สารเสพติดหมายถงึ อะไร 7. ผทู้ ต่ี ิดสารเสพติดจะมีลกั ษณะอาการอยา่ งไร 8. นักเรียนคดิ ว่าคนท่ีตดิ สารเสพตดิ มสี าเหตุมาจากอะไรบา้ ง 9. การใชส้ ารเสพตดิ ก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ตนเองอยา่ งไรบา้ ง 10. นกั เรียนจะมวี ิธีป้องกนั ตนเอง จากสารเสพตดิ ได้อย่างไรบอกมา 3 ขอ้34 สขุ ศกึ ษา ประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 2
ชหนวีว่ ยติ กาแรเลรียะนรคทู้ ี่ร6อบครัวตวั ช้วี ัดชัน้ ปี 1. อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ และปฏบิ ตั ิตนไดเ้ หมาะสม (พ 2.1 ป.5/1) 2. อธบิ ายความสำ� คญั ของการมคี รอบครวั ทอ่ี บอนุ่ ตามวฒั นธรรม ไทย (พ 2.1 ป.5/2) 3. ระบุพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ในการแก้ไข ปญั หาความขดั แยง้ ในครอบครวั และกลมุ่ เพอื่ น (พ 2.1 ป.5/3) ชวี ติ และครอบครัวการเปล่ยี นแปลงทางเพศ ครอบครัวกับคุณภาพชีวิต 35
หน่วยย่อยท่ี 6.1 การเปลี่ยนแปลงทางเพศ การเปลี่ยนแปลงทางเพศ วยั ของนกั เรยี นอยใู่ นชว่ งวยั เดก็ ตอนปลาย คอื มีอายุระหวา่ ง 10-12 ปี ซ่ึงถือวา่ อยูใ่ นชว่ งกอ่ นวยั รุน่ หรอื วยั แรกรนุ่ ซงึ่ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงทต่ี า่ งไปจากวยั เดก็ การเปลยี่ นแปลงดา้ นอารมณจ์ ะเขา้ ใจชวี ติ และสงิ่ แวดล้อมรอบตัวมากขึ้น รู้จักใช้เหตุผล เข้าใจอารมณ์ และความรสู้ กึ ของตวั เองและคนรอบขา้ ง สนใจสง่ิ รอบ ตัว อยากรู้อยากเห็น มีใจรักสนุก เป็นวัยท่ีอารมณ์ เปลยี่ นแปลงไดเ้ รว็ โดยจะแสดงอารมณร์ กั โกรธ เกลยี ด และเศร้าอย่างรุนแรง การเปล่ียนแปลงด้านสังคมจะ ชอบทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั คนในสงั คม ชอบเลน่ เปน็ กลมุ่ ตามเพศของตน บางครงั้ มกี ารเลน่ หรอื ทำ� กจิ กรรมรว่ ม กนั ระหวา่ งเพศชายและเพศหญงิ ทำ� ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ บทบาททางเพศท่ีเหมาะสม การเปลีย่ นแปลงทางเพศ การเปลี่ยนแปลงทางเพศในระดับชั้นประถม ศึกษาปีท่ี 5 อาจยังเห็นไม่ชัดเจนนัก แต่บางคนอาจ จะมีการเปลี่ยนแปลงทางเพศเกิดขึ้นแล้ว โดยเฉพาะ ในเพศหญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นได้เร็วกว่าเพศชายประมาณ 1-2 ปี ซ่ึงสิ่งที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ต่อม ไรท้ อ่ ตอ่ มประเภทนจ้ี ะผลติ สารเคมที เ่ี รยี กวา่ ฮอรโ์ มน ซ่ึงสามารถซึมเข้าสู่กระแสเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของ ร่างกาย ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในชายและหญิง เกดิ ลักษณะเพศชดั เจนขึน้ คอื36 สขุ ศกึ ษา ประถมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 2
เพศชาย สขุ ปฏิบัตทิ างเพศจะมเี สยี งแตกหา้ ว เรมิ่ มหี นวดเครา มขี นขนึ้ ทง้ั เพศชายและเพศหญงิ ควรมสี ขุ ปฏบิ ตั ทิ างตามรักแร้และอวัยวะเพศ เห็นลูกกระเดือก เพศท่ีถกู ตอ้ ง ดังน้ีชดั เจนขน้ึ กลา้ มเน้ือแขง็ แรงข้นึ มีสิว 1. ควรอาบน�้ำท�ำความสะอาดร่างกายให้ท่ัวอย่างเพศหญงิ น้อยวนั ละ 2 ครั้ง 2. ควรสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ไม่มีกล่ินหรือความรูปรา่ งมีส่วนเวา้ โคง้ สะโพกผาย เร่ิมมีหนา้อก นำ้� เสยี งและทา่ ทางออ่ นหวานมากขนึ้ มี อับช้ืน และอย่าให้รัดแน่นเกินไปไม่ใช้เส้ือผ้าสิว มีขนขนึ้ ตามรักแร้และอวัยวะเพศ และ ผา้ เช็ดตัว หรอื เครื่องนงุ่ หม่ ปะปนกบั ผ้อู น่ืเริ่มมีประจ�ำเดอื น 3. ไม่ควรกล้ันปัสสาวะ เพราะจะท�ำให้กระเพาะ ปัสสาวะอักเสบ และควรใช้ห้องส้วมท่ีถูก สุขลกั ษณะ 4. ควรสวมกางเกงในที่สะอาดและมีขนาดเหมาะ สม ไม่หลวมหรือคับจนเกินไปเพราะจะท�ำให้ อดึ อดั และไมส่ บายตวั และควรตรวจดวู า่ กางเกง ในทสี่ วมใสไ่ มม่ เี ชอ้ื รา เพราะถา้ นำ� มาใสอ่ าจเปน็ สาเหตุใหเ้ กิดโรคได้ 5. พยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้อวัยวะเพศถูกกระทบ กระเทอื นอยา่ งรนุ แรง เพราะอาจเปน็ อนั ตรายได้ 6. เพศชายควรล้างอวัยวะเพศให้สะอาดขณะอาบ นำ�้ ถา้ ลา้ งไมส่ ะอาดจะมสี ง่ิ สกปรกจบั ใตผ้ วิ หนงั ทหี่ ุ้มอวยั วะเพศ ทำ� ให้เกิดอาการคนั 7. เพศหญงิ ควรทำ� ความสะอาดอวยั วะเพศทกุ ครง้ั ในขณะอาบน้�ำหรือหลังปัสสาวะ โดยท�ำความ สะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลังเท่าน้ัน เพ่ือ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ชอื้ โรคจากอจุ จาระผา่ นเขา้ อวยั วะ เพศ เพราะอาจท�ำใหเ้ กดิ การติดเชือ้ ได้ 8. หากมีความผิดปกติเก่ียวกับอวัยวะเพศควรรีบ ไปพบแพทย์ 37
กจิ กรรมเสริมความเข้าใจ 1 1. ให้นักเรียนวาดภาพของตนเอง พรอ้ มทง้ั เขียนอธบิ ายใต้ภาพในหวั ข้อ “การเปลยี่ นแปลงของฉนั ในวนั นท้ี ต่ี า่ งไปจากวยั เดก็ ”38 สุขศึกษา ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 2
การปฏิบตั ติ นใหเ้ หมาะสมกบั เพศตามวฒั นธรรมไทย ธรรมชาตขิ องวยั เดก็ ตอนปลายเปน็ วยั ทเ่ี รมิ่ เหมาะสมตามระเบียบวัฒนธรรมไทยอันดีงาม ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงทางเพศ ฮอรโ์ มนเพศเริม่ ทำ� งาน จะท�ำให้สามารถวางตัวได้กับบุคคลในทุกๆสังคมท�ำให้เร่ิมมีความสนใจในเพศตรงข้าม ดังนั้น การ ซง่ึ การวางตวั ใหเ้ หมาะสมกบั เพศตามวฒั นธรรมไทยวางตัวกับเพื่อนต่างเพศควรแสดงออกในขอบเขตท่ี เพศชายและเพศหญิงสามารถปฏิบัติได้ดงั นี้การปฏิบตั ิตนของเพศชาย1. ควรพดู ดว้ ยถอ้ ยคำ� ทสี่ ภุ าพ ใชค้ ำ� ลงทา้ ยวา่ “ครบั ” ไมพ่ ดู จาหยาบคาย2. มีความเป็นสุภาพบุรุษ ควรให้เกียรติเพื่อนผู้หญิงด้วยการไม่ถูกเน้ือ ต้องตวั และไมร่ ังแกเพศหญิงหรอื ผ้ทู อ่ี อ่ นแอกวา่3. ไม่ชวนเพอื่ นหญงิ ไปเทย่ี วในทีล่ ับตาสองตอ่ สอง4. ไมช่ วนเพ่ือนหญิงไปเท่ยี วในกล่มุ เพ่อื นชายของตนหลายๆคน5. มีนำ้� ใจช่วยเหลอื ผูอ้ ่นื เม่อื มีโอกาส และมีสมั มาคารวะกบั ผู้ใหญ่ 39
การปฏบิ ัตติ นของเพศหญิง 1. ควรพูดด้วยถ้อยค�ำที่สุภาพ ใช้ค�ำลงท้ายว่า “ค่ะ” ไมพ่ ดู จาหยาบคาย 2. มีความเป็นกลุ สตรี มีกริ ิยามารยาทเรียบรอ้ ย 3. รักนวลสงวนตัว ไม่ควรให้เพ่ือนชายเล่นหรือ แกล้งหยอกล้อด้วยการจับตัว ตบหัว ลูบผม โอบกอด หรือสัมผสั ร่างกายโดยไมจ่ ำ� เป็น 4. ไม่ควรอยู่ในท่ีลับตากับเพ่ือนชายสองต่อสอง และไม่ควรเท่ียวกับเพ่ือนชายหรือกลุ่มเพื่อน ชายตามล�ำพงั 5. มนี ำ�้ ใจชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ เมอื่ มโี อกาส และมสี มั มา คารวะกับผูใ้ หญ่ กจิ กรรมเสริมความเข้าใจ 2 1. แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 3 คน แยกตามเพศ ร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น ในหัวขอ้ “ความประทับใจทม่ี ีต่อเพอ่ื นต่างเพศ” และออกมานำ� เสนอหน้าชั้น 2. ให้นักเรยี นโต้วาทีในญตั ติ “เกิดเป็นชายดีกว่าหญิงจรงิ หรอื ไม”่40 สุขศึกษา ประถมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 2
หนว่ ยยอ่ ยท่ี 6.2 ครอบครัวกับคณุ ภาพชีวติ ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมต้นของชีวิต เป็นสถานท่ีให้การอบรมเล้ียงดู ปลกู ฝงั สง่ิ ตา่ งๆใหก้ บั ชวี ติ ครอบครวั ทมี่ คี วามสขุ มคี วามรกั ความผกู พนั และ ความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กนั และทกุ คนปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องตนเอง เดก็ ทเี่ ตบิ โตจาก ครอบครวั ทอ่ี บอนุ่ จะเปน็ คนทมี่ คี วามสมบรู ณท์ งั้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ และ มีโอกาสท่ีจะมชี วี ติ ครอบครวั ท่ีมคี วามสุขต่อไปในภายหนา้ความหมายของครอบครัว หมายถงึ กลมุ่ คนตง้ั แต่ 2 คนขน้ึ ไปมาเกยี่ วพนัโดยแตง่ งานและสบื สายโลหติ ซง่ึ ไดแ้ ก่ พอ่ แม่ ลกู อาจมบี คุ คลอน่ื ๆ ทเี่ ปน็ ญาตหิ รอื มใิ ชญ่ าตอิ าศยั รวมอยดู่ ว้ ยโดยมคี วามรกั ใครผ่ กู พนั ปฏบิ ตั ติ อ่ กนั ดว้ ยความมนี ำ�้ ใจ องค์ประกอบของครอบครวั ครอบครัวเดยี่ ว จำ� นวนสมาชกิ ในครอบครวั จะประกอบดว้ ย พ่อ แม่ ลูก ซึ่งมักเป็นครอบครัวที่อาศัยอยู่ในเมือง และมักเป็นครอบครัวของคนรนุ่ ใหม่ ครอบครัวขยาย จ�ำนวนสมาชิกจะประกอบด้วย พ่อ แม่ลูก และญาติพีน่ อ้ ง ไดแ้ ก่ ปู่ ยา่ ตา ยาย ลงุ ป้า นา้ อา ฯลฯ มกั เปน็ ครอบครวั ในชนบททมี่ อี าชพี เกษตรกรรม และเป็นครอบครัวคนไทย 41
วัฒธรรมความเป็นอยูข่ องครอครวั ไทย 1. มคี วามผกู พันในสายโลหิต2. ชายเป็นใหญ่ และเป็นหัวหน้าครอบครัว ภรรยาและบุตร ควรใหค้ วามเคารพ3. อย่กู ันเปน็ ครอบครัว4. เคารพเชอื่ ฟังผู้อาวุโสกวา่5. เดก็ ๆจะได้รบั ความรกั ความอบอ่นุ จากครอบครัวมาก 65. .4 ค3เ.2ค อใ.ว1ป. ลหคร า้ือส.ไ รอชมว้กกั มม่เงะหบฟาสส่าวเคีษ่ทสสว่มรคมายื้อวบองยรณมสรากาเใดิคมอวัผาายมชันทวะใรมมื่อิรกทหแาเถขงิ้รบัาแอใมำ� ก้กสับรนผอผาผสนั ม้ถปแใดิ่คแดิ งำ� จาขลัญชลเแรคใชระออสอละ็จหิกรใงบ่ซะชบหอมอแาึ่งชใ่วค้ยอทีตคนกบว่ ยา่ภรุี่่ณลันกหยงเคัวัยหิะแกดนเภรทเรคลนัลข้ามักาวั่าะนทืแึ้อนื่อพใเกทกท่ีขคสมใทเนั ไ้อนัียงรีสีอ่ พ่ีขดคงม่มคบื่ปอีทตสมการใัญี่สนอาชตนั อหุดเมหิกนุ่าบอ้ชตัมใคางีวคนาคิตรมีกัวัน42 สขุ ศกึ ษา ประถมศึกษาปที ี่ 5 เลม่ 2
หน้าที่ของลูกซ่งึ เปน็ สมาชิกในครอบครวั1. เคารพเชอ่ื ฟงั พอ่ แม่ และผู้อาวุโสกวา่2. ช่วยแบ่งเบาภาระจากพ่อ แม่ ตามความสามารถและท�ำ ด้วยความเต็มใจ3. มีความรกั ใคร่กบั สมาชิกในครอบครวั คนอน่ื ๆ4. ตง้ั ใจศึกษาเล่าเรยี นและนำ� ชื่อเสยี งมาสวู่ งศ์ตระกลู5. รจู้ ักใช้จ่ายอยา่ งประหยดั อดออม6. ไมท่ �ำตนให้เสอ่ื มเสียช่ือเสียงของวงศต์ ระกูล7. มีความกตญั ญกู ตเวทีต่อพ่อ แม่ และผ้ทู ี่มีพระคณุ ความขัดแยง้ ในครอบครวั และกลมุ่ เพอื่ น เน่ืองจากครอบครวั เปน็ สถาบันทส่ี �ำคญั ในการด�ำเนินชวี ิต ของมนุษย์ เพราะครอบครวั มีผลตอ่ พัฒนาการทุกด้านของบคุ คล นอกจากนย้ี งั ใหบ้ ทเรยี นในการตอ่ สชู้ วี ติ แสดงบทบาททางเพศชาย และเพศหญงิ สรา้ งคา่ นยิ มและทศั นคตใิ นเรอ่ื งตา่ งๆ และยงั สรา้ ง สุนทรียภาพแห่งชีวิตด้วย ดังน้ัน การสร้างและพัฒนาครอบครัว จึงเป็นส่ิงส�ำคัญ แต่ปัจจุบันหลายครอบครัวเกิดปัญหาความขัด แย้งในครอบครวั ขน้ึ ส่วนมากเกิดจากสมาชิกในครอบครวั ไม่รจู้ กั บทบาทหน้าที่ของตนเอง ท�ำให้ปฏิบัติตนไม่เหมาะสมและเกิด ปญั หาครอบครวั ตามมา การจะแกป้ ญั หาครอบครวั ไดน้ น้ั สมาชก ในครอบครวั ตอ้ งแสดงพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ เพอื่ ใหด้ ำ� เนนิ ชวี ติ อย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสุข 43
การแกไ้ ขปัญหาความขัดแยง้ การด�ำเนินชีวิตในแต่ละวันของเราจ�ำเป็นต้องติดต่อสื่อสารกับคนรอบข้างมากมาย ท้ังสมาชิกในครอบครัว เพื่อน รวมถึงคนทุกสาขาอาชีพในสังคม บางครั้งก็เกิดความขัดแย้งข้ึน ซึ่งปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขดั แยง้ มีดังน้ี1. คา่ นิยมหรอื ความเชือ่ ของแต่ละบคุ คล การท่ี 3. มคี วามเชอ่ื มน่ั ในตนเองสงู ไมย่ อมรบั ฟงั ความ คนมคี ่านยิ ม ความเช่อื ทีไ่ มเ่ หมือนกันทำ� ให้มี คิดเห็นของผู้อื่น ท�ำให้เกิดความขัดแย้ง ความคิดแตกต่างกัน ส่งผลให้แสดงออกทาง ระหว่างบคุ คลได้ พฤติกรรมท่ีก่อให้เกดิ ความขัดแย้งได้ 4. เปน็ ผทู้ ไี่ มม่ คี ณุ ธรรมหรอื ขาดศลี ธรรม ทำ� ให้2. ความไมเ่ ขา้ ใจกนั อาจเกดิ จากการสอื่ สารโดย ไม่รู้จักยับยั้งช่ังใจ ไม่รู้จักอดทนอดกลั้น การใช้ค�ำพูดท่ีไม่เหมาะสม หรือการฟังเร่ือง จึงมักเกิดความขัดแย้งกับผู้อื่นเสมอ ราวจากบคุ คลท่ี 3 โดยไมพ่ จิ ารณาใหร้ อบคอบ อาจนำ� มาซ่งึ การทะเลาะเบาะแว้งได้ พฤติกรรมท่พี งึ ประสงค์ในการแกไ้ ขปัญหาความขัดแย้งในครอบครวั และกลุ่มเพ่ือน 1. ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื ใหเ้ กียรตกิ นั ไม่ละเมดิ สทิ ธิสว่ นตวั ของแต่ละบคุ คล 2. พูดจากันด้วยวาจาที่สุภาพ ไม่ใช้ค�ำพูดหยาบคาย ด่าทอ พูดลบหลู่หรือพูดยุแหย่ พูดจา กระทบกระเทยี บให้เกิดความขัดแย้งระหว่างบคุ คล 3. ไมแ่ สดงกิริยาดหู มนิ่ เหยยี ดหยาม เพราะทกุ คนย่อมรกั ในเกยี รตแิ ละศกั ดศิ์ รีของตนเอง 4. เมื่อเกิดความขัดแย้งควรต้ังสติระงับอารมณ์โกรธ หันหน้าเข้าหากันและร่วมกันแก้ปัญหา ดว้ ยความจริงใจ 5. ไม่ใช้ความรนุ แรงในครอบครัว เช่น สามีทบุ ตีภรรยา พ่อแมท่ บุ ตีทำ� รา้ ยลกู เปน็ ตน้ 6. เพศชายและเพศหญิงควรแสดงบทบาททางเพศที่เหมาะสม เช่น สามคี วรเห็นความส�ำคญั ของภรรยา ชว่ ยภรรยาเล้ียงดูบุตร รกั เดยี วใจเดยี ว ไมเ่ หน็ แก่ตวั ไม่เล่นการพนนั หรอื เสพ สง่ิ เสพตดิ เปน็ ตน้ สว่ นภรรยากค็ วรใหเ้ กยี รตแิ ละใหค้ วามสำ� คญั กบั สามี ไมใ่ ชจ้ า่ ยฟมุ่ เฟอื ย ไมเ่ กยี จครา้ น ไม่จจู้ ี้ขี้บน่ เปน็ ตน้ 7. ยดึ หลกั ศลี ธรรมและคณุ ธรรมประจำ� ใจ และกระทำ� สง่ิ ทเ่ี หมาะสม สรา้ งสรรค์ ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลเสียตอ่ ตนเองและผ้อู นื่44 สุขศึกษา ประถมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 2
กิจกรรมเสริมความเข้าใจ 31. แบง่ กลุม่ นกั เรยี นออกมาแสดงบทบาทสมมตใิ นหัวขอ้ “การสรา้ งความอบอุ่นในครอบครัว”2. ให้นักเรียนหาข่าวเก่ียวกับพฤติกรรมความรุนแรงหรือความขัดแย้งในครอบครัวพร้อมท้ังวิเคราะห์ สาเหตขุ องปญั หา และเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าวสาเหตุของปญั หาแนวทางแก้ไขปัญหา 45
3. ให้นกั เรียนวาดภาพและระบายสใี นหวั ขอ้ “บทบาทของสมาชิกในครอบครวั ของฉัน” พรอ้ มทง้ั เขียนบรรยายใตภ้ าพ บทบาทของสมาชิกในครอบครวั ของฉัน46 สุขศกึ ษา ประถมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 2
4. ให้นักเรยี นเขยี นเครื่องหมาย ในช่องว่างของภาพ ท่ีนักเรียนคดิ วา่ เปน็ สาเหตทุ �ำให้เกดิ ความขดั แย้งการจับกลุ่มนินทาผอู้ นื่ การชื่นชมเพ่อื นที่สอบได้ท่ี 1 การนำ�ความลับของ การถกเถียงกันในห้องประชมุเพือ่ นมาเลา่ ให้ผู้อ่นื ฟังการปลอบใจเพ่อื นที่กำ�ลงั เสียใจ การพดู ลอ้ เลยี นในปมด้อยของผอู้ ่ืน 47
แบบฝึกหัดทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ ใหต้ อบค�ำถามต่อไปนี้ 1. นักเรยี นคดิ วา่ วยั เดก็ ตอนปลายมกี ารเปลย่ี นแปลงด้านต่างๆ อย่างไรบ้าง 1.1 ดา้ นอารมณ์ 1.2 ดา้ นสังคม 1.3 ด้านรา่ งกาย / ด้านการเปลีย่ นแปลงทางเพศ 2. นกั เรยี นควรมีสขุ ปฏบิ ตั ทิ างเพศทีถ่ ูกตอ้ งอย่างไรบา้ ง 3. วิธปี ฏิบัติตนให้เหมาะสมกับเพศตามวฒั นธรรมไทยมอี ะไรบ้าง 3.1 เพศชาย 3.2 เพศหญิง 4. ครอบครวั มีความส�ำคญั กับชวี ิตของเราอย่างไร 5. ครอบครวั ที่อบอุ่นมีลักษณะอย่างไรบ้าง 6. ในฐานะท่นี กั เรียนเปน็ ลกู นักเรียนจะปฏบิ ตั หิ น้าท่ีของตนเองที่มตี อ่ ครอบครวั ได้อย่างไร 7. เมื่อนกั เรียนมปี ัญหากบั ผู้ปกครอง นกั เรียนมวี ธิ ีแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร ท�ำไมจงึ ใชว้ ธิ ีดังกลา่ ว 8. เม่อื นักเรียนมปี ัญหากับเพื่อน นักเรยี นมีวธิ ีแกไ้ ขปญั หาอย่างไร ท�ำไมจงึ ใชว้ ิธีดังกลา่ ว บรรณานกุ รม เชาวลิต ภมู ิภาค และคณะ. สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.5. กรงุ เทพฯ : สำ� นักพมิ พ์วฒั นาพานชิ ,2551 สุจติ รา สคุ นธทรพั ย์ และ จนิ ตนา บรรลือศกั ด์ิ. สุขศึกษา ป.5. กรงุ เทพฯ : ส�ำนักพิมพ์แมค็ ,2552. สำ� นักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร. การป้องกันและรกั ษาโรคไขห้ วัดใหญ่ สายพนั ธุใ์ หม่ ชนิด เอ (เอช 1 เอ็น 1). เอกสารแผ่นพับ ม.ป.ป. (www.msd.bangkok.go.th) ส�ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสมุทรปราการ. คมู่ อื เพ่อื ผู้บริโภคปลอดภัย. ม.ป.ท., 255048 สขุ ศึกษา ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เล่ม 2
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: