RULES OF INDOOR HOCKEYกติกาฮอกกี้ในร่ม 2561 เรียบเรียงและถอดความโดย สรุ เชษฐ์ วิศวธีรานนท์
สารบัญ หน้า 4เรือ่ ง 1นิยามคำศพั ท์ 7การเลน่ เกมฮอกกี้ สนามแข่งขัน ส่วนประกอบของทีม หัวหน้าทีม ชดุ แข่งขันและอปุ กรณ์แข่งขนั การแข่งขนั และผลการแข่งขัน การเริ่มการแข่งขนั และการเริม่ เล่นใหม่ ลูกบอลออกนอกสนาม วิธีการได้ประตู ข้อปฏิบตั ิในการเล่นของผู้เล่น ข้อปฏิบตั ิในการเล่นของผู้รกั ษาประตูและผู้รักษาประตู สิทธิพิเศษ ข้อปฏิบัติของผู้ตดั สิน การลงโทษ วิธีการเล่นสำหรับการลงโทษแบบต่างๆ การลงโทษส่วนบคุ คลการทำหน้าทีผ่ ูต้ ดั สิน วัตถปุ ระสงค์ การใช้กติกา ทักษะของผู้ตัดสิน ท่าสัญญาณของผู้ตัดสินกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 2
เรื่อง หนา้ขนาดสนามและอปุ กรณ์ สนามและอุปกรณ์สนาม ไม้ฮอกกี้ ลกู ฮอกกี้ อุปกรณ์ของผู้รักษาประตูกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 3
นิยามคำศพั ท์ TERMINOLOGYคำศพั ท์ ความหมายผู้เล่น (PLAYER) หนึง่ ในผู้เข้าแข่งขันที่อยู่ในทีมทีม (TEAM) ประกอบด้วยผู้เล่นสูงสดุ 12 คน เป็นผู้เล่นในสนาม 6 คน และผู้เล่นสำรอง 5 คนผู้เล่นในสนาม. หนึ่งในผู้เข้าแข่งขนั ที่อยู่ในสนามซึ่งไม่ใช่ผู้รักษาประตู(FIELD PLAYER)ผู้รักษาประตู หนึ่งในผู้เข้าแข่งขนั ของแต่ละทีมทีอ่ ยู่ในสนาม ผู้ซึ่ง(GOALKEEPER) สวมหรือใส่เครื่องป้องกันเต็มชดุ ประกอบด้วยอย่าง น้อย เครือ่ งป้องกนั ศีรษะ, เครื่องป้องกันขา, รองเท้า สำหรบั เตะ และผู้ซึง่ ได้รบั อนุญาตให้ใส่ ชดุ ถงุ มือ ป้องกนั ประตู และเครื่องป้องกันอื่นๆผู้เล่นในสนามทีเ่ ป็นผู้ หนึง่ ในผู้เล่นในสนามที่ไม่ได้สวมชดุ ผู้รักษาประตูเต็มรกั ษาประตูสิทธิพิเศษ ชุด แต่เป็นผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษ ; ผู้เล่นนี้จะต้องใส่(FIELD PLAYER WITH เสื้อสีทีแ่ ตกต่างชัดเจนจากคู่แข่งขนั ท้ังสองทีมGOALKEEPINGPRIVILEGES)ฝ่ายรุก ทีมหรือผู้เล่นที่พยายามทีจ่ ะทำประตู(ATTACK / ATTACKER)ฝ่ายรับ ทีมหรือผู้เล่นที่พยามยามจะป้องกันประตู(DEFENCE / DEFENDER)เส้นด้านหลังสนาม เส้นขอบด้านนอกที่ส้ันทีส่ ุด(22เมตร)(BACK - LINE)เส้นประตู (GOAL - LINE) เส้นออกด้านหลังสนามที่อยู่ระหว่างเสาประตูกระดานด้านข้างสนาม กระดานประกอบด้วยความยาว (44เมตร) ตามขอบ(SIDE-BOARDS) นอกของสนามกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 4
เขตทำประตู (CIRCLE) พื้นที่วงกลมที่ล้อมรอบ ประกอบด้วยสองครึง่ ของ วงกลม และเส้นผ่านจดุ ศนู ย์กลางวางทาบเส้นออกการเล่นบอล – ผู้เล่นใน หลงั ทีป่ ลายสนามตรงกลางของเส้นออกหลังท้ังสองสนาม (PLAYING THE ข้างBALL : FIELD PLAYER)การผลกั (PUSH) หยุดบอล เปลี่ยนทิศทางบอล หรือ พาบอลเคลื่อนที่ ด้วยไม้การตวดั (FLICK)การตัก (SCOOP) การทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่ไปกับพื้นโดยอาศัยการ ผลัก โดยไม้จะต้องอยู่ใกล้กบั ลกู ในจงั หวะเริ่มต้นการตี (HIT) ไม่อนญุ าต และหลงั จากทีท่ ำการผลักลูกออกไปแล้วทั้งลกู บอลให้ใช้ในอินดอรฮ์ อกกี้ และหัวไม้จะต้องอยู่กบั พื้นการยิงประตู(SHOT AT GOAL) การผลกั ลูกบอลโดยให้ลูกลอยเหนือพื้นสนามระยะของการเล่น การทำให้ลูกลอยขึ้นจากพื้นโดยใช้ด้านหวั ไม้วางไว้ใต้(PLAYING DISTANCE) ลกู บอลและใช้การเคลือ่ นไหวโดยการยกหรืองดั บอลการเข้าแย่งบอล ขึ้น(TACKLE)การทำผิดกติกา การตีลกู โดยอาศัยการเคลื่อนทีโ่ ดยการเหวี่ยงไม้ไป(OFFENCE) กระทบกับลกู บอล การกระทำของผู้เล่นฝ่ายรกุ ทีพ่ ยายามทีจ่ ะทำประตู โดยการเล่นบอลตรงไปหาประตจู ากภายในเขตยิง ประตู ลกู บอลอาจจะไม่ตรงเข้าหาประตแู ต่การกระทำยงั ถือว่าเปน็ การยิงประตูถ้าผู้เล่นเจตนาที่จะทำประตู และลูกตรงเข้าหากรอบของประตู ระยะห่างทีอ่ ยู่ในระยะที่ผู้เล่นจะสามารถเข้าถึงลูกที่ จะเล่นได้ การกระทำเพื่อหยดุ คู่ต่อสู้ทีค่ รอบครองบอล การกระทำที่ขัดกับกติกา และอาจได้รบั บทลงโทษ จากผู้ตดั สินกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 5
การขอเวลานอก การขอเวลานอกคือการขดั จงั หวะของเกม และในการ(TIME – OUT) แข่งขันผู้ทีส่ ามารถขอเวลานอกได้คือหัวหน้าทีม และ เจ้าหน้าที่ของทีมกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 6
การเล่นฮอกกี้ในรม่กติกาข้อที่ 1สนามแข่งขนั (Field of play) 1.1 สนามเป็นรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้ายาว 44.00 เมตร กว้าง 22.00 เมตร แนะนำให้ใช้สนามที่เตม็ ขนาด สำหรบั การแข่งขันในระดับประเทศหรือท้อง ถิน่ สามารถใช้สนามขนาดเลก็ ได้คือความยาว 36.00 เมตร และกว้าง 18.00 เมตร 1.2 กระดานข้างสนามคือเส้นกรอบด้านยาวของสนาม เส้นหลังสนามคือเส้นกรอบด้านส้ันของ สนาม 1.3 เส้นประตูเป็นส่วนหนึ่งของเส้นหลงั สนามซึง่ อยู่ระหว่างเสาทั้งสองข้าง 1.4 เส้นกลางสนามคือเส้นที่ตดั ผ่านกึง่ กลางสนาม 1.5 พื้นทีท่ ี่เรียกว่าเขตยิงประตู จะต้ังอยู่ภายในสนาม รอบประตู และอยู่ตรงกลางของเส้นออก หลังของท้ังสองฝ่ัง 1.6 จดุ โทษเส้นผ่านจุดศูนย์กลาง 100 มม. (10 ซม.) อยู่ด้านหน้าจดุ กึง่ กลางของประตทู ั้งสองฝ่ัง มีระยะห่างจากขอบในของเส้นประตู 7.00 เมตร 1.7 เส้นทั้งหมดในสนามมีความกว้าง 50 มม. (5 ซม.) และเปน็ ส่วนหนึ่งของสนาม 1.8 ประตู ตำแหน่งของประตอู ยู่ตรงกลางด้านนอกสนาม และสัมผสั กบั เส้นหลงั ที่นง่ั ของนักกีฬาสำรองของแต่ละทีมจะอยู่ด้านนอกด้านใดด้านหนึง่ ของ สนาม ในแต่ละครึ่งของการแข่งขนั ทีน่ ง่ั ของนกั กีฬาจะอยู่ฝั่งเดียวกบั ประตู ทีท่ ีมตนเองป้องกันกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 7
กติกาข้อที่ 2สว่ นประกอบของทีม (Composition of teams) 2.1 จำนวนผู้เล่นสูงสดุ 6 คนของแต่ละทีมที่มีส่วนร่วมตลอดการแข่งขนั ถ้าจำนวนผู้เล่นมีมากกว่าที่กำหนดในสนาม จะต้องหยุดเวลาเพือ่ แก้ไขให้ ถกู ต้อง ผู้เล่นที่ควรได้รบั การลงโทษคือ หัวหน้าทีมที่ทำผิดระเบียบ การ ตัดสินใจดำเนินการก่อนทีจ่ ะหยดุ เวลาเพือ่ แก้ไขสถานการณ์ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ การเริ่มเล่นโดยให้ฝ่ายตรงข้ามได้เล่นลกู โทษจากมุม 2.2 แต่ละทีมจะต้องมีผู้รกั ษาประตู ผู้เล่นที่ทำหน้าทีเ่ ป็นผู้รักษาประตสู ิทธิพิเศษ หรือเล่นโดยใช้ผู้ เล่นปกติอย่างใดอย่างหนึง่ ในสนาม แต่ละทีมอาจจะเริม่ เล่นโดย • ผู้รักษาประตู ซึ่งใส่สีเสื้อที่แตกต่าง และใส่ชดุ ป้องกนั เตม็ ชดุ ประกอบด้วยอย่างน้อย เครือ่ งป้องกนั ศีรษะ เครือ่ งป้องกนั ขา และรองเท้าสำหรับเตะ ผู้เล่นนี้จะถูกอ้างถึงใน กติกานี้ว่าคือผู้รกั ษาประตู หรือ • ผู้เล่นในสนามทีท่ ำหน้าที่ผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษสวมเสื้อสีที่แตกต่าง สำหรับผู้ที่ สวมเฉพาะเครื่องป้องกันศีรษะ (ไม่ได้ใส่เครื่องป้องกนั ขา รองเท้าสำหรับเตะ หรือ เครื่องป้องกนั อื่นๆ) เมือ่ บอลอยู่ในครึง่ สนามของตนเอง จะต้องสวมเครื่องป้องกนั ศีรษะเมือ่ จะต้องป้องกนั ลูกโทษจากมุม และลูกที่จุดโทษ ผู้เล่นนี้จะถูกอ้างถึงใน กติกานี้ว่าคือผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ หรือ • ผู้เล่นปกติ ผู้เล่นที่ไม่ใช่ผู้รักษาประตูสิทธิพิเศษ หรือใส่เสื้อสีแตกต่าง ผู้เล่นที่ไม่ได้ สวมเครื่องป้องกันศีรษะ ยกเว้นหน้ากากป้องกันลกู ในการป้องกนั ลูกโทษจากมมุ และลูกทีจ่ ดุ โทษ ผู้เล่นทุกคนสวมสีเสื้อเหมือนกนั การเปลี่ยนตวั ผู้เล่นตัวเลือกเหล่านี้กระทำเช่นเดียวกบั การเปลี่ยนตวั ผู้เล่น ทว่ั ไปกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 8
2.3 แต่ละทีมจะได้รับอนญุ าตให้เปลี่ยนตัวจากจำนวนผู้เล่นสงู สดุ 12 คนดังนี้ 2.3.1. การเปลี่ยนตัวอนญุ าตให้กระทำได้ทกุ ช่วงเวลาตลอดการแข่งขัน ยกเว้นช่วง เวลาทีท่ ีมใดทีมหนึ่งกำลังเล่นลกู โทษจากมุมจนกระทง่ั การเล่นนั้นสิ้นสดุ ลง ในช่วงเวลา ดงั กล่าวจะอนุญาตให้มีการเปลีย่ นตวั ได้เฉพาะอาการบาดเจบ็ หรือถกู สั่งให้พกั การ เล่น (ใบเขียว ใบเหลือง) ของผู้รกั ษาประตูฝ่ายรบั ผู้รักษาประตสู ิทธิพิเศษของฝ่ายรบั หรือผู้เล่นฝ่ายรับ ถ้าการเล่นลูกโทษจากมุมเกิดขึ้นอีกคร้ังหนึ่งก่อนการเล่นครั้งแรกจะสิ้น สดุ การเปลี่ยนตวั จะอนญุ าตให้เฉพาะจากอาการบาดเจบ็ หรือถกู สั่งให้ พกั การเล่นของผู้รกั ษาประตูของฝ่ายรับ หรือผู้เล่นฝ่ายรับที่เล่นเป็นผู้ รักษาประตสู ิทธิพิเศษ ในการเล่นลูกโทษจากมมุ ผู้รกั ษาประตขู องฝ่ายรับ(สวมชุดป้องกนั เตม็ ชดุ )ที่ได้รบั อาการบาดเจ็บหรือถูกส่งั ให้พกั การเล่น อาจจะเปลี่ยนตัวได้กบั ผู้รกั ษาประตูเต็มชดุ หรือผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษ ในการเล่นลูกโทษจากมุม ผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษของฝ่ายรับได้รบั บาด เจ็บ หรือถูกส่ังให้พักการเล่น สามารถเปลี่ยนตวั ได้กบั ผู้รกั ษาประตูสิทธิ พิเศษอีกคนหนึ่ง และต้องไม่ใช่กบั ผู้รกั ษาประต(ู สวมชุดป้องกนั เต็มชดุ ) ถ้าทีมที่มีเฉพาะผู้เล่นปกติ จะไม่สามารถเปลี่ยนตัวได้จนกว่าการเล่นลูก โทษจากมุมจะสิ้นสดุ ลง ถ้าผู้รกั ษาประตู หรือผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษ ถูกสงั่ ให้พกั การเล่น ทีมที่ ถูกลงโทษจะต้องเล่นโดยมีจำนวนผู้เล่นในสนามน้อยกว่า 2.3.2. ไม่จำกดั จำนวนคนในการเปลีย่ นตวั แต่ละคร้ัง และจำนวนคร้ังในการเปลีย่ นตัว ของผู้เล่นแต่ละคน ยกเว้นการเปลีย่ นตัวเข้า-ออก ระหว่างผู้รักษาประตูเตม็ ชดุ กับผู้ รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษและผู้เล่นในสนาม กำหนดให้เปลีย่ นตวั ได้ 2 ครั้งต่อเกม การเปลี่ยนตัวระหว่างผู้รกั ษาประตเู ต็มชดุ ด้วยกันสามารถเปลี่ยนตัวได้ไม่ จำกัดจำนวนครั้ง ถ้าทีมใช้สิทธิในการเปลี่ยนตัวครบจำนวน 2 คร้ังแล้ว และผู้รกั ษาประตูได้ รับบาดเจ็บไม่สามารถเล่นต่อได้ ให้สามารถเปลีย่ นตัวได้กบั ผู้รักษาประตู เต็มชุดเท่าน้ัน ถ้าจำเปน็ ให้การเล่นต่อเนือ่ งควรเล่นโดยมีผู้รักษาประตู สิทธิพิเศษ หรือผู้เล่นที่สวมเสื้อสีต่าง หรือเล่นโดยใช้ผู้เล่นปกติ ระหว่าง การเปลีย่ นตวั ผู้รกั ษาประตทู ี่อยู่ระหว่างใส่เครื่องป้องกันกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 9
ในกรณีทีผ่ ู้รกั ษาประตไู ด้รับการลงโทษให้พกั การเล่นชว่ั คราว เมื่อผู้รักษาประตกู ลบั ลงมาในสนาม จะไม่นบั จำนวนคร้ังของการเปลี่ยน ตวั ถ้าทีมใช้สิทธิในการเปลี่ยนตัวครบจำนวน 2 ครั้งแล้ว และผู้รักษาประตูได้ รับใบลงโทษซึ่งมีผลให้พกั การเล่น ให้สามารถเปลี่ยนตวั ได้กบั ผู้รกั ษา ประตเู ต็มชุดเท่าน้ัน ถ้าจำเปน็ ให้การเล่นต่อเนือ่ งควรเล่นโดยมีผู้รักษา ประตูสิทธิพิเศษ หรือผู้เล่นทีส่ วมเสื้อสีต่าง หรือเล่นโดยใช้ผู้เล่นปกติ ระหว่างการเปลี่ยนตัวผู้รักษาประตทู ีอ่ ยู่ระหว่างใส่เครือ่ งป้องกนั 2.3.3 การเปลีย่ นตัวอนุญาตให้กระทำได้ต่อเมือ่ ผู้เล่นทีอ่ ยู่ในสนามออกจากสนามแล้ว เท่าน้ัน 2.3.4. การเปลี่ยนตัวไม่อนุญาตให้กระทำกับผู้เล่นที่อยู่ระหว่างให้พักการเล่นชั่วคราว ระหว่างการพกั ชวั่ คราว ทีมทีทำผิดกติกาจะต้องเล่นโดยมีผู้เล่นในสนาม น้อยกว่า 1 คน สำหรบั แต่ละการพกั ถาวร ทีมทีทำผิดกติกาต้องเล่นเวลา ทีเ่ หลือโดยมีผู้เล่นน้อยกว่า 1 คน 2.3.5. หลงั จากสิ้นสดุ การลงโทษให้พกั การเล่น ผู้เล่นสามารถเปลี่ยนตัวได้ทนั ทีโดยไม่ ต้องลงไปในสนาม 2.3.6 ผู้เล่นจะต้องออกและเข้าสนามในการเปลี่ยนตวั ในเขต 3 เมตรกลางสนาม 2.3.7 เวลาจะไม่หยุดให้ในการเปลี่ยนตวั เวลาจะไม่หยุดในการเปลีย่ นตวั ผู้รกั ษาประตูเต็มชดุ รวมท้ังการบาดเจ็บ ของผู้รกั ษาประตูหรือถูกสง่ั ลงโทษให้พกั การเล่น ถ้าจำเป็นให้การเล่นต่อ เนือ่ งควรเล่นโดยมีผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ หรือผู้เล่นทีส่ วมเสื้อสีต่าง หรือ เล่นโดยใช้ผู้เล่นปกติ ระหว่างการเปลีย่ นตวั ผู้รักษาประตูทีอ่ ยู่ระหว่างใส่ เครือ่ งป้องกนั2.4 ผู้เล่นปกติทีซ่ ึ่งออกจากสนามสำหรบั อาการบาดเจบ็ การเปลีย่ นอปุ กรณ์แข่งขนั หรือเหตผุ ลอืน่ ๆอนุญาตให้กลบั เข้าไปในสนามในบริเวณเขต 3 เมตรกลางสนามด้านที่ใช้ในการเปลีย่ นตวั2.5 ไม่มีผู้ใดนอกเหนือจากผู้เล่น ผู้รกั ษาประตู ผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษ และผู้ตดั สิน ที่อนญุ าตให้อยู่ ในสนามระหว่างการแข่งขนั นอกเสียจากได้รับอนญุ าตจากผู้ตดั สิน2.6 ผู้เล่นเข้าหรือออกจากสนามอยู่ภายใต้อำนาจในการตดั สินใจของผู้ตดั สินตลอดการแข่งขนัรวมทั้งระหว่างพักครึ่งเวลากติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 10
2.7 ผู้เล่นทีไ่ ด้รับบาดเจ็บ หรือมีเลือดออก จะต้องออกจากสนามนอกจากเว้นแต่ด้วยเหตุผลทางการแพทย์ และจะต้องไม่กลบั เข้ามาในสนามจนกว่าบาดแผลจะถกู ปิดให้เรียบร้อย ผู้เล่นจะต้องไม่สวมชดุ ที่เปือ้ นเลือดกลับลงสนามกติกาข้อที่ 3หัวหนา้ ทีม (Captains) 3.1 หนึ่งในผู้เล่นของแต่ละทีมจะต้องได้รับแต่งตั้งให้เปน็ หัวหน้าทีม 3.2 หัวหน้าทีมคนที่สองจะต้องได้รับการทดแทนทันที ทีห่ ัวหน้าทีมคนแรกถกู ลงโทษให้พกั ถูก การเล่น 3.3 หวั หน้าทีมจะต้องสวมปลอกแขนที่เหน็ ชดั เจน หรือข้อความทีค่ ล้ายกนั บนแขนหรือไหล่ 3.4 หัวหน้าทีมจะต้องมีความรับผิดชอบต่อพฤติกรรมของผู้เล่นทุกคนภายในทีม และจะต้อง ทำให้ มั่นใจว่าการเปลี่ยนตวั ผู้เล่นในทีมตนเองนั้นดำเนินไปอย่างถูกกติกา การลงโทษบุคคล จะมีผลต่อหวั หน้าทีมทันที หากหวั หน้าทีมไม่มี ความรับผิดชอบต่อเรือ่ งเหล่านี้กติกาข้อที่ 4ชุดแข่งขนั และอปุ กรณแ์ ข่งขัน(Players’ clothing and equipment)4.1 ผู้เล่นทีมเดียวกนั จะต้องใส่ชุดแข่งขันที่เหมือนกัน4.2 ผู้เล่นจะต้องไม่สวมใส่สิ่งใด ๆ ทีอ่ าจจะเป็นอันตรายต่อผู้เล่นคนอืน่ ๆ ผู้เล่นปกติ • อนุญาตให้สวมถุงมือป้องกัน ทีซ่ ึง่ ไม่ได้มีขนาดใหญ่ หรือเกินขนาดปกติ ถงุ มือที่ใช้ป้องกันทั้งสองข้างจะต้องมีขนาดไม่เกิน ยาว 290 mm X กว้าง 180 mm X สงู 110 mm • ควรสวมสนบั แข้ง อุปกรณ์ป้องกนั ข้อเท้า และฟันยางกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 11
• อนุญาตให้สวมใส่อปุ กรณ์ที่ใช้ป้องกันร่างกาย อาจจะประกอบด้วย เครือ่ ง ป้องกันขา สนบั เข่า เมื่อป้องกนั ลูกโทษจากมมุ หรืออาจจะใช้สนบั เข่าในการ เล่นปกติ ซึ่งจำเปน็ จะต้องสวมใส่ด้านนอกถุงเท้า และมีสีเดียวกับถุงเท้า • อุปกรณ์เหล่านี้อนญุ าตให้สวมใส่ตลอดการแข่งขนั ด้วยเหตผุ ลทางการแพทย์ เท่าน้ัน เช่น หน้ากากจะต้องเปน็ สีเดียว โปร่งใสหรือสีขาว พื้นผิวเรียบ แนบ ชิดกับใบหน้า หมวกปอ้ งกนั ศีรษะ แบบนุ่ม แวน่ ตา เลนซ์ พลาสติค กรอบ พลาสติค ซึง่ เหตุผลทางการแพทย์จะต้องได้รับการประเมินโดยผู้มีอำนาจ เหมาะสม และผู้เล่นทีเ่ กี่ยวข้องจะต้องเข้าใจในผล กระทบทีอ่ าจจะเกิดขึ้นใน การเล่นด้วย • อนญุ าตให้สวมใส่หน้ากากป้องกนั ทีม่ ีพื้นผิวเรียบ โปร่งใสสีขาว หรือมีสีเดียว ท้ังอัน จะต้องแนบชิดกบั ใบหน้าเมือ่ ป้องกันลกู โทษจากมุม และลกู ทีจ่ ุดโทษ เมื่ออยู่ในเขตยิงประตทู ี่ฝ่ายตนเองป้องกนั จดุ ประสงค์ทีส่ ำคัญในการสวมใส่ หน้ากาก เมื่อป้องกันลูกโทษจากมมุ หรือลกู ทีจ่ ุดโทษคือ เพื่อความปลอดภยั • ไม่อนุญาตให้ใส่หน้ากาก เพือ่ นำไปสู่อนั ตรายกบั ผู้เล่นคนอื่น โดยใช้ความได้ เปรียบในการเล่นจากเครือ่ งป้องกันที่สวมใส่ • ผู้เล่นคนอืน่ ๆทีไ่ ม่ใช่ผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ ไม่อนุญาตให้สวมใส่เครื่อง ป้องกันศีรษะ (หน้ากาก หรือหมวกป้องกันศีรษะ) ในสถานการณ์อื่น ๆ4.3 ผู้รักษาประตู และผู้รักษาประตสู ิทธิพิเศษ จะต้องสวมเสื้อสีล้วน (สีเดียว) หรือสิง่ สวมใส่อื่นๆทีส่ ีต้องแตกต่างกบั ผู้เล่นทั้งสองทีม ผู้รกั ษาประต(ู สวมชดุ ป้องกันเต็มชดุ )จะต้องสวมเสื้อ หรือสิง่ สวมใส่อื่น ๆ ช่วงบนของร่างกายที่ใช้ในการป้องกนั4.4 ผู้รักษาประตู จะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั ซึง่ ประกอบด้วยอย่างน้อย เครือ่ งป้องกันศีรษะเครือ่ งป้องกนั ขา และรองเท้าสำหรบั เตะ เว้นแต่ว่าเครือ่ งป้องกนั ศีรษะ และอุปกรณ์ป้องกนั แขนสามารถถอดออกได้เมื่อผู้รกั ษาประตทู ำการยิงลกู ที่จุดโทษ ข้อความด้านบนนี้ จะอนุญาตให้ใช้ต่อเมื่อผู้รกั ษาประตสู วมชุดป้องกนั เตม็ ชุดเท่านั้น (อุปกรณ์ป้องกนั ร่างกายช่วงบน แขนด้านบน ข้อศอก แขนด้าน ขวา ตนั ขา อุปกรณ์ป้องกันหวั เข่า อปุ กรณ์ป้องกันขา และรองเท้าทีใ่ ช้เตะ)กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 12
4.5 ผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษอาจสวมใส่เครื่องป้องกนั ศีรษะ เมื่ออยู่ในเขตครึ่งสนามตนเอง และสวมใส่เครื่องป้องกันศีรษะเมือ่ ป้องกนั ลูกโทษจากมมุ หรือลกู ทีจ่ ุดโทษ เครือ่ งป้องกนั ศีรษะรวมถึงหมวกทีป่ ้องกนั แบบเต็มหน้า และมีทีค่ ลมุ ต้ังแต่ ใบหน้าถึงลำคอ คืออุปกรณ์ที่แนะนำสำหรบั ผู้รักษาประตู และผู้รักษา ประตูสิทธิพิเศษ4.6 เสื้อผ้าหรืออุปกรณ์ป้องกนั ทีท่ ำให้เพิม่ ขนาดร่างกายของผู้รกั ษาประตู หรือพื้นทีใ่ นการป้องกนั ไม่อนญุ าตให้ใช้4.7 ไม้ทีใ่ ช้แข่งขนั ต้องมีรปู ร่างแบบด้ังเดิมทั้งด้ามจบั และความโค้ง มีด้านแบนอยู่ทางด้านซ้าย 4.7.1 ไม้จะต้องราบเรียบ ไม่มีส่วนทีข่ รุขระ หรือความคม 4.7.2 รวมสิ่งทีเ่ พิม่ เติมเข้ามาในไม้ ไม้จะต้องสามารถผ่านวงแหวนทดสอบทีม่ ีเส้นผ่าน จดุ ศูนย์กลาง 51 มิลลิเมตร 4.7.3 ความโค้งตามแนวยาวของไม้จะต้องราบเรียบตามแนวยาวทั้งหมด และจะต้อง ผ่านความลึกของไม้ที่ 25 มิลลิเมตร 4.7.4 ไม้จะต้องเป็นไปตามข้อกำหนดที่เห็นชอบโดยคณะกรรมการกฎกติกาของ สหพนั ธ์ฮอกกี้นานาชาติ4.8 ลกู ฮอกกี้เปน็ ทรงกลม แขง็ และมีสีขาว (หรือสีที่มีการตกลงกันเพือ่ ให้แตกต่างกับพื้นสนามทีใ่ ช้แข่งขัน) ข้อกำหนดและรายละเอียดของไม้ ลูก และอุปกรณ์ของผู้รักษาประตถู กู แยกไว้ตอนท้ายของกติกาเล่มนี้กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 13
กติกาข้อที่ 5การแขง่ ขนั และผลการแข่งขัน (Match and result) 5.1 การแข่งขนั ประกอบด้วย 2 ครึ่ง ๆ ละ 20 นาที และพักระหว่างครึง่ 5 นาที ระยะเวลาแข่งขันอื่น ๆ และช่วงเวลาพกั อาจตกลงกันระหว่างสองทีม ยกเว้นได้ถกู ระบุในกฎระเบียบการแข่งขนั โดยเฉพาะ ถ้าเกิดเหตุการณ์บางสิง่ เกิดขึ้นก่อนทีจ่ ะจบครึง่ เวลาแรก หรือจบการ แข่งขนั และต้องการคำปรึกษาระหว่างผู้ตัดสิน ความคิดเห็นบางคร้ังอาจ จะสิ้นสุดไปแล้วก็ตาม การปรึกษาของผู้ตัดสินควรเกิดขึ้นทนั ที และกลับ ไปแก้ไขสถานการณ์ได้ตามความเหมาะสม 5.2 การขอเวลานอก 5.2.1 ขอได้เมื่อบอลตาย (บอลออกนอกสนาม ก่อนเล่นลูกกินเปล่า เริ่มเล่นที่ กลางสนาม ก่อนเล่นบูลลี)่ ก่อนทีบ่ อลจะถกู ส่งเข้าเล่นอีกครั้ง 5.2.2 ไม่สามารถจะขอได้เมื่อมีการเล่นลกู โทษจากมมุ และการเล่นลูกที่จดุ โทษ หรือ จนกระท้ังการเล่นทั้งสองสิ้นสุดลง 5.2.3 ขอเวลานอกได้ครึง่ เวลาละ 1 คร้ัง เวลานอกที่ไม่ได้ใช้ในครึง่ เวลาแรก ไม่สามารถนำมาใช้ได้ในครึง่ เวลาหลงั 5.2.4 เวลานอกคร้ังละ 1 นาที ระยะเวลาในการพักจะถกู ควบคุมโดยผู้ตัดสิน และการเล่นจะเริม่ ขึ้นอีก ครั้งหลังเวลา 1 นาทีสิ้นสดุ ลง 5.2.5 กลับมาเริม่ เกมใหม่โดยการส่งบอลเข้าเล่น ด้วยเล่นลูกกินเปล่า ส่งกลางสนาม หรือบูลลี่ ทีเ่ หมาะสมก่อนทีเ่ วลานอกจะเกิดขึ้น 5.3 ทีมที่ทำประตไู ด้มากกว่าคือผู้ชนะ ถ้าไม่มีทีมใดทำประตูได้ หรือทั้งสองทีมทำประตูได้เท่ากัน ผลการแข่งขนั คือเสมอ ข้อกำหนดเกีย่ วกบั การเล่น Shoot-out ที่เป็นการตัดสินเมือ่ มีผลเสมอ ถกู รวบรวมอยู่ในระเบียบการแข่งขันของสหพนั ธ์ฮอกกี้นานาชาติกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 14
กติกาขอ้ ที่ 6การเริ่มการแข่งขันและการเริม่ เลน่ ใหม่(Start and re-start the match) 6.1 การเสี่ยงเหรียญ 6.1.1 ทีมทีช่ นะในการเสีย่ งมีสิทธิเลือกฝ่ังประตูทีจ่ ะบกุ ในครึง่ เวลาแรก หรือเริ่มเกม กลางสนาม 6.1.2 ถ้าทีมที่ชนะในการเสี่ยงเลือกฝั่งประตูที่จะบกุ ก่อนในครึ่งเวลาแรก คู่ต่อสู้จะได้ เริม่ เกมกลางสนาม 6.1.3 ถ้าทีมทีช่ นะในการเสีย่ งเลือกเริ่มเกมกลางสนามก่อนในครึ่งเวลาแรก คู่ต่อสู้จะ ได้เลือกว่าจะบุกไปยังด้านใดในครึ่งเวลาแรก 6.2 ทิศทางในการเล่นจะเปลีย่ นในครึง่ เวลาหลัง 6.3 เริม่ ต้นส่งจากกลางสนาม 6.3.1 เพื่อเริ่มเกมโดยผู้เล่นจากทีมที่ชนะในการเสีย่ ง และเลือกทีจ่ ะเริ่มเกม หรือเริม่ เล่นโดยผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม 6.3.2 เพื่อเริ่มเกมอีกครั้งในครึ่งเวลาหลงั โดยผู้เล่นทีมที่ไม่ได้เริ่มเล่นในครึ่งเวลาแรก 6.3.3 หลังจากที่มีการทำประตูได้โดยผู้เล่นฝ่ังตรงข้าม 6.4 วิธีการส่งลกู จากกลางสนาม 6.4.1 เริ่มส่งจากตรงกลางของสนาม 6.4.2 อนุญาตให้ส่งไปทิศทางใดกไ็ ด้ 6.4.3 ผู้เล่นคนอื่น ๆ ยกเว้นผู้เริม่ เล่นจะต้องอยู่ในแดนของตนเองที่ประกอบด้วย ประตู และผู้เล่นฝ่ายรบั ของตนเองกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 15
6.5 การเล่นบลู ลี่เพื่อเริม่ การแข่งขนั ใหม่ เมื่อเวลาหรือการเล่นต้องหยดุ ลงเนือ่ งจากการบาดเจบ็ หรือเหตผุ ลอื่น ๆ และไม่มีการทำผิดกติกาของทีมใดทีมหนึ่ง 6.5.1 จดุ ที่เล่นบลู ลี่ต้องใกล้เคียงกบั จุดทีก่ ารเล่นได้หยดุ ลง แต่ต้องไม่ใช่ในระยะ 9 เมตร จากเส้นด้านหลังสนามและต้องไม่อยู่ในเขต 3 เมตรจากเขตทำประตู 6.5.2 ลกู บอลอยู่ระหว่างผู้เล่นท้ังสองคนทีซ่ ึง่ หนั หน้าเข้าหากนั โดยให้ประตูฝั่งทีต่ นเอง ป้องกันอยู่ด้านด้านขวามือ 6.5.3 ทั้งสองคนเริ่มเล่นโดยให้ไม้สัมผัสพื้นด้านขวาของลกู บอล ให้ยกไม้มาสัมผัสไม้ ด้านแบนเหนือลกู บอลอีก 1 คร้ัง หลังจากน้ันถึงอนญุ าตให้ผู้เล่นเล่นลกู ต่อไปได้ 6.5.4 ผู้เล่นคนอื่น ๆ ต้องอยู่ห่างจากลูกบอลอย่างน้อย 3 เมตร 6.6 เมือ่ การยิงลูกทีจ่ ุดโทษสิ้นสดุ และไม่ได้ประตู ให้ฝ่ายรับได้เริ่มเล่นโดยเล่นลูกกินเปล่าใน ระยะ 9.10 เมตร ด้านหน้าตรงกลางเขตทำประตูกติกาข้อที่ 7ลกู บอลออกนอกสนาม (Ball outside the field) 7.1 ลกู บอลจะออกจากการเล่นในสนามต่อเมือ่ ข้ามผ่านกระดานด้านข้าง หรือเส้นด้านหลังสนาม โดยสมบูรณ์ 7.2 การเล่นจะเริม่ ใหม่โดยผู้เล่นของทีมที่ไม่ได้สมั ผัสบอลหรือเล่นเปน็ คนสุดท้ายก่อนทีบ่ อลจะ ออกจากสนาม 7.3 เมือ่ บอลออกจากสนามจากกระดานด้านข้าง 7.3.1 เริ่มเล่นภายในระยะ 1 เมตรตรงจุดที่ลูกบอลข้ามกระดานด้านข้างออกไป ถ้าเกิดขึ้นในเขตทำประตโู ดยผู้เล่นฝ่ายรับเปน็ ผู้เริ่มเล่นให้เริ่มเล่นใหม่ นอกเขตทำประตูในระยะ 1 เมตร และห่างจากกระดานด้านข้าง 1 เมตร แต่ถ้าฝ่ายรกุ เปน็ ผู้เริ่มเล่นให้เริม่ เล่นใหม่นอกเขตทำประตู 3 เมตร และ ห่างจากกระดานข้าง 1 เมตร 7.3.2 ใช้ขั้นตอนของการเล่นลูกกินเปล่ากติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 16
7.4 เมือ่ บอลออกจากสนามจากเส้นด้านหลงั สนาม และไม่มีการได้ประตเู กิดขึ้น 7.4.1 ถ้าบอลออกเส้นด้านหลังสนามโดยผู้เล่นฝ่ายรกุ ให้ฝ่ายรบั เริ่มเล่นโดยเล่นลูกกิน เปล่าในระยะ 9.10 เมตรจากเส้นออกด้านหลงั สนาม และตรงกบั จดุ ที่ลูกออก 7.4.2 ถ้าเกิดจากการไม่เจตนาของผู้เล่นฝ่ายรับ หรือกระทบผู้รกั ษาประตู หรือผู้รักษา ประตูสิทธิพิเศษออกนอกสนาม จะเริ่มเล่นใหม่อีกคร้ังโดยผู้เล่นฝ่ายรุกได้เล่นลกู บริเวณเส้นกลางสนาม จดุ ทีเ่ ริ่มเล่นคือจดุ ทีต่ รงกบั จุดทีล่ กู ออกจากเส้นหลัง 7.4.3 ใช้ขั้นตอนของการเล่นลูกกินเปล่า 7.4.4 ถ้าเกิดจากการเจตนาของผู้เล่นฝ่ายรบั หรือกระทบผู้รักษาประตู หรือผู้รักษา ประตสู ิทธิพิเศษออกนอกสนาม ให้ฝ่ายรกุ เริม่ เล่นโดยลกู โทษจากมมุกติกาข้อที่ 8วิธีการได้ประตู (Method of scoring) 8.1 จะได้ประตูต่อเมื่อลกู บอลได้ถกู เล่นในเขตทำประตโู ดยผู้เล่นฝ่ายรุก และไม่ได้ออกจาก เขตทำประตูก่อนที่จะผ่านข้ามเส้นประตโู ดยสมบรู ณ์ และอยู่ภายใต้คานประตู ลกู บอลอาจจะถกู เล่นโดยผู้เล่นฝ่ายรบั หรือสัมผัสร่างกายก่อน หรือ หลังถูกเล่นในเขตทำประตโู ดยผู้เล่นฝ่ายรุกกติกาขอ้ ที่ 9ข้อปฏิบัติในการเล่นของผู้เล่น(Conduct of play: players) ผู้เล่นทุกคนถูกคาดหวงั ให้ทำหน้าที่ด้วยความรบั ผิดชอบตลอดเวลา 9.1 เปน็ การแข่งขนั ระหว่างสองทีมที่มีผู้เล่นข้างละไม่เกิน 6 คนในสนามตลอดเวลา 9.2 ผู้เล่นในสนามจะต้องถือไม้อยู่ในมือ และไม่เล่นในลกั ษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดอนั ตราย ผู้เล่นจะต้องไม่ยกไม้ข้ามศีรษะคู่ต่อสู้กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 17
9.3 ผู้เล่นจะต้องไม่ สัมผสั จบั ถือ หรือรบกวน ผู้เล่นคนอื่นตลอดจนไม้ และเสื้อผ้า9.4 ผู้เล่นจะต้องไม่แสดงอาการขู่ หรือขัดขวางผู้เล่นคนอืน่9.5 ผู้เล่นจะต้องไม่ตีลูก“การตบลกู ” (Slap) การเคลื่อนทีข่ องไม้คล้ายการผลักบอลในระยะทางยาว ๆ และการกวาดไม้ไปกบั พื้นก่อนที่ไม้จะสัมผัสลูกบอล ซึ่งถือว่าเป็นการตี ไม่อนุญาตให้ใช้ในอินดอร์ฮอกกี้9.6 ผู้เล่นจะต้องไม่เล่นลูกด้วยหลงั ไม้9.7 ผู้เล่นจะต้องไม่เล่นลกู บอลด้วยส่วนใดส่วนหนึง่ ของไม้เมือ่ บอลอยู่สูงกว่าระดับไหล่ ยกเว้นการป้องกนั ประตขู องฝ่ายรับโดยการหยดุ หรือเพือ่ เปลีย่ นทางของลกูเมือ่ ป้องกันลูกบอลบนเส้นประตูผู้เล่นฝ่ายรบั จะไม่ถูกลงโทษ ถ้าไม้ของเขาไม่เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนทีไ่ ปยงั ลูกบอลขณะทีพ่ ยายามที่จะหยดุ หรือเปลีย่ นทางลกู ยิงประตู ถ้าลูกบอลถูกตีหรือเล่นเหนือกว่าหวั ไหล่อย่างชดั เจน และลกู น้ันไม่เป็นประตู ฝ่ายรุกจะได้ลกู ทีจ่ ดุ โทษทนั ทีถ้าผู้เล่นฝ่ายรับพยายามเจตนาหยดุ หรือเปลี่ยนทิศทางของลกู เหนือ กว่าระดบั ไหล่ โดยที่ทิศทางของลูกไม่ได้ตรงเข้าหากรอบประตูคู่ต่อสู่ จะได้เล่นลูกโทษจากมุม และไม่ใช่ลูกทีจ่ ุดโทษถ้าการเล่นที่อันตรายมีผลหลังจากการหยุดบอลหรือเปลีย่ นทิศทาง บอลตามกติกา ฝ่ายรุกจะได้เล่นลกู โทษจากมมุ9.8 ผู้เล่นจะต้องไม่เล่นลูกที่อันตราย หรืออาจก่อให้เกิดอันตรายการลงโทษจะเกิดขึ้นในจดุ ที่การเล่นอนั ตรายเกิดขึ้นการเจตนาส่งบอลด้วยความรุนแรงเข้าไปในช่วงลำตัวของฝ่ายป้องกันทีอ่ ยู่ในท่าเตรียมพร้อมอาจนำมาซึง่ การบาดเจ็บของนิ้วมือ และขา รวมทั้งการหมนุ ตัวเข้าหาผู้เล่นที่อยู่ในท่าเตรียมพร้อมกเ็ ช่นเดียวกนั การเล่นในลกั ษณะอนั ตรายทั้งสองแบบ ควรได้รับการลงโทษจากผู้ตดั สิน9.9 ผู้เล่นจะต้องไม่ทำลูกให้ลอยพ้นจากพื้นยกเว้นการทำประตูจะไม่ใช่การทำผิดกติกาหากผู้เล่นไม่ได้เจตนาทำบอลให้สงู ขึ้นจากพื้น ความสงู ไม่เกิน 100 มม.และไม่มีคู่ต่อสู้ในระยะทีส่ ามารถจะเล่นบอลได้9.10 ผู้เล่นจะต้องไม่พยายามเล่นลกู บอลขณะที่บอลลอยอยู่กลางอากาศ นอกจากผู้เล่นคนนั้นที่ไม่ใช่ทีมทีท่ ำลกู ให้ลอยสงู ขึ้นnอาจจะทำให้ลกู หยดุ กับพื้นได้ถ้าลกู บอลอยู่ในอากาศจากผลการยิงประตู โดยบอลสมั ผัสผู้รกั ษาประตู ผู้เล่นฝ่ายรับ เสาประตูและคานประตู ลูกบอลอาจจะทำให้หยดุ กบั พื้นได้โดยผู้เล่นทั้งสองทีมกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 18
9.11 ผู้เล่นจะต้องไม่เจตนาหยดุ เตะ หยิบ ขว้าง หรือพาบอลด้วยส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกายไม่ใช่ความผิดเสมอถ้าลกู บอลสมั ผสั กับเท้า มือ หรือร่างกายของผู้เล่นในสนาม ผู้เล่นจะกระทำผิดกติกา ถ้าเจตนาที่จะใช้เท้า มือ หรือร่างกายเล่นลกู บอล หรือถ้าเขาขยับร่างกายของตนเองด้วยความต้ังใจที่จะหยุดลูกไม่ถือว่าผิดกติกาถ้าลกู บอลสมั ผัสกบั มือที่ถือไม้9.12 ผู้เล่นในสนามจะต้องไม่เล่นลกู บอลขณะนอนอยู่กบั พื้น หรือใช้เข่า แขน และมือทีไ่ ม่ใช่มือที่ถือไม้สมั ผัสบนพื้นสนาม9.13 ผู้เล่นจะต้องไม่กีดขวางการเล่นของคู่ต่อสู้ที่ซึ่งพยายามจะเล่นบอลผู้เล่นจะกีดขวางการเล่นถ้าเขา- เข้าด้านหลังของคู่ต่อสู้- รบกวนไม้ หรือร่างกายของคู่ต่อสู้- ปกป้องลกู จากการเข้าแย่งบอลอย่างถกู กติกาด้วยไม้ หรือส่วนอืน่ ๆ ในร่างกายผู้เล่นทีร่ บั ลูกอนญุ าตให้หันได้ทุกทิศทางผู้เล่นที่ครอบครองลูกบอลอนุญาตให้เคลือ่ นที่ไปทิศทางใดกไ็ ด้ ยกเว้นเข้าหาร่างกายของคู่ต่อสู้หรือเข้าหาตำแหน่งระหว่างลกู บอล และคู่ต่อสู้ที่ซึ่งอยู่ในระยะการเล่น และพยายามทีจ่ ะเล่นบอลผู้เล่นทีว่ ิง่ อยู่ด้านหน้า หรือกำบังคู่ต่อสู้เพือ่ หยดุ เขาไม่ให้เล่นบอลหรือ พยายามที่จะเล่นบอลมันคือการกีดขวางการเล่น (การกำบังโดยบคุ คลที่ 3) ยงั สามารถใช้ได้กบั ผู้เล่นฝ่ายรกุ ทีว่ ิง่ ตัด หรือกำบงั ผ่ายรบั (รวมท้ังผู้รักษาประตู หรือผู้รักษาประตูสิทธิพิเศษ) เมื่อมีการเล่นลกู โทษจากมุม9.14 ผู้เล่นจะต้องไม่เข้าปะทะ ยกเว้นตำแหน่งทีพ่ ยายามจะเล่นบอลโดยปราศจากการสมั ผสั ถูกตัวผู้เล่น วิธีการเล่นทีเ่ สี่ยงอนั ตราย เช่น การสไลด์เข้าแย่งบอล หรือการใช้ร่างกาย เข้าชน ดนั กระแทก ที่ทำให้ฝ่ายตรงข้ามล้มลงอย่างรุนแรง และเสี่ยงต่อ การบาดเจ็บ ควรได้รบั การลงโทษ9.15 ผู้เล่นจะต้องไม่เจตนาเข้าไปในประตูคู่ต่อสู้ หรือวิ่งไปมาบริเวณหลงั ประตูทั้งสองฝั่ง9.16 ผู้เล่นจะต้องไม่แลกเปลีย่ นไม้กันระหว่างการเล่นลูกโทษจากมุม และลูกทีจ่ ดุ โทษกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 19
9.17 ผู้เล่นจะต้องไม่โยนชิ้นส่วน หรืออปุ กรณ์ใด ๆ บนพื้นสนาม กับบอล ผู้เล่นคนอื่น และกบั ผู้ ตัดสิน หลงั จากการเล่นลกู โทษจากมุม ถ้าบอลสัมผสั กบั อปุ กรณ์ใด ๆ ของฝ่ายรบั (หน้ากาก ถงุ มือ กระจับ) นอกเขตทำประตู ฝ่ายรุกจะได้ลกู กินเปล่า แต่ถ้าสัมผัสในเขตทำประตู ฝ่ายรุกจะได้ลูก โทษจากมุมทนั ที 9.18 ผู้เล่นจะต้องไม่เจตนาถ่วงเวลา 9.19 ผู้เล่นจะต้องไม่เจตนาเอาบอลกดไว้ที่ชิง่ ด้านข้าง หรือปิดเส้นทางออกของลกู ที่มุมสนาม หรือทีช่ ิง่ ด้านข้าง ถ้าลกู ถกู ยึดติดระหว่างไม้ผู้เล่นท้ังสองทีม ผู้ตัดสินจะให้เล่นลกู บูลลี่ ผู้เล่นที่เล่นโดยเอาบอลกดทีช่ ิง่ หรือปิดเส้นทางออกของลูกหลาย ๆ ครั้ง ถือว่าเป็นการกระทำโดยเจตนา ผู้ตัดสินควรลงโทษกติกาข้อที่ 10ข้อปฏิบตั ิในการเล่นของผู้รักษาประตู และผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ(Conduct of play: goalkeepers and player with goalkeeping privileges) 10.1 ผู้รกั ษาประตูที่สวมชดุ ป้องกนั เต็มชดุ หรืออย่างน้อยสวมเฉพาะเครื่องป้องกันศีรษะ เครื่อง ป้องกันขา และรองเท้าสำหรับเตะ จะต้องไม่ออกไปเล่นนอกเขตครึง่ สนามในแดนของตัวเอง ยกเว้นการยิงลกู ทีจ่ ดุ โทษ เครื่องป้องกันศีรษะผู้รกั ษาประตูจะต้องสวมใส่ตลอดเวลา ยกเว้นถ้าผู้ รกั ษาประตูเป็นผู้ยิงลูกทีจ่ ุดโทษ 10.2 ผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษ จะต้องไม่ออกไปเล่นนอกเขตครึ่งสนามในแดนของตวั เองขณะที่ สวมเครื่องป้องกนั ศีรษะ แต่ถ้าถอดหน้าเครื่องป้องกนั ศีรษะออกสามารถออกไปเล่นได้ท้ังสนาม เครือ่ งป้องกันศีรษะผู้รักษาประตูสิทธิพิเศษจะต้องสวมใส่ตลอดเวลา เมือ่ ป้องกันลูกโทษจากมุม หรือลูกทีจ่ ดุ โทษกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 20
10.3 เมือ่ บอลอยู่ในเขตทำประตูของฝ่ายรับ และมีไม้อยู่ในมือ 10.3.1 ผู้รักษาประตูที่สวมชุดป้องกันเต็มชดุ อนุญาตให้ใช้ไม้ เครือ่ งป้องกันขา รองเท้า สำหรับเตะ ในการทำให้บอลเคลื่อนที่ และใช้ไม้ เครือ่ งป้องกนั ขา รองเท้าสำหรับเตะ หรือส่วนอืน่ ๆ ในร่างกายหยุด หรือเปลีย่ นทิศทางบอลได้ทุกทิศทาง รวมถึงทำให้ลูก ข้ามเส้นออกด้านหลัง ผู้รักษาประตูไม่อนุญาตให้เล่นในลกั ษณะที่อันตรายโดยการใช้ประโยชน์ จากอุปกรณ์ที่ตนเองสวมใส่อยู่ 10.3.2 ผู้รักษาประตูสิทธิพิเศษ อนุญาตให้ใช้ไม้ เท้า ขา ในการทำให้บอลเคลื่อนที่ และใช้ไม้ เท้า ขา หรือส่วนอืน่ ๆ ในร่างกายหยุด หรือเปลี่ยนทิศทางบอลได้ทกุ ทิศทาง รวมถึงทำให้ลูกข้ามเส้นออกด้านหลัง 10.3.3 ผู้รักษาประตทู ี่สวมชดุ ป้องกันเต็มชดุ และผู้รักษาประตสู ิทธิพิเศษ อนุญาตให้ใช้ แขน มือ และส่วนอื่น ๆ ในร่างกายผลกั บอลออกไป การกระทำในกฎข้างต้นน้ันอนุญาตเพียงแค่ในจงั หวะของการป้องกนั ประตู หรือทำให้บอลเคลือ่ นที่ออกจากจงั หวะการทำประตขู องฝ่ายตรง ข้าม ไม่อนญุ าตให้ผู้รักษาประตู หรือผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษทำให้บอล เคลือ่ นทีโ่ ดยใช้กำลังจากแขน มือ หรือร่างกายที่ใช้ระยะทางยาวเกินไป10.4 ผู้รกั ษาประตเู ตม็ ชดุ และผู้เล่นรักษาประตสู ิทธิพิเศษ ห้ามนอนทบั ลูก10.5 เมื่อลูกบอลอยู่นอกเขตทำประตูทีผ่ ู้รักษาประตูป้องกนั อยู่ ผู้รักษาประตู หรือผู้รักษาประตูสิทธิพิเศษ อนญุ าตให้เล่นบอลได้เฉพาะไม้เหมือนกับผู้เล่นปกติในสนาม ผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษถือว่าเปน็ ผู้เล่นในสนามเมือ่ อยู่นอกเขตทำประตทู ี่ ตนเองป้องกันอยู่10.6 ผู้รกั ษาประตู และผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษอนุญาตให้เล่นบอลในเขตทำประตโู ดยนอนเล่นกบั พื้นในเขตทำประตูได้กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 21
กติกาขอ้ ที่ 11ข้อปฏิบัติของผูต้ ดั สิน (Conduct of play: umpires) 11.1 ผู้ตัดสิน 2 คนควบคุมการแข่งขัน ควบคุมการเล่นให้เปน็ ไปตามกติกา และให้ความยตุ ิธรรม 11.2 ผู้ตดั สินแต่ละคนมีความรับผิดชอบในการตดั สินใจครึ่งหนึง่ ของสนามตลอดการแข่งขัน 11.3 ผู้ตดั สินแต่ละคนรับผิดชอบในการตัดสินใจในลกู กินเปล่าในเขตทำประตู ลกู โทษจากมมุ ลกู ทีจ่ ุดโทษ และการได้ประตูในครึ่งสนามที่ตนเองรับผิดชอบ 11.4 ผู้ตัดสินมีความรับผิดชอบต่อการบนั ทึกผลการได้ประตู การให้ใบลงโทษ และการพกั การ เล่น 11.5 ผู้ตดั สินมีความรับผิดชอบในเรื่องเวลาของการแข่งขนั ให้ใช้เวลาเต็มในการเล่น แจ้งถึงการ หมดเวลาท้ังในครึ่งเวลาแรก ครึ่งเวลาหลงั และการสิ้นสดุ เวลาของการเล่นลูกโทษจากมมุ ถ้า เวลาน้ันได้ได้ถกู ขยายออกไปเพราะการเล่นลกู โทษจากมมุ 11.6 ผู้ตดั สินจะให้สญั ญาณนกหวีดเพื่อ 11.6.1 เริ่มต้นและสิ้นสุดการแข่งขันในแต่ละครึ่งเวลา 11.6.2 เริ่มเล่นบูลลี่ 11.6.3 ลงโทษผู้เล่น 11.6.4 เริ่มต้นและสิ้นสดุ การยิงลกู ที่จดุ โทษ 11.6.5 ให้สัญญาณการได้ประตู 11.6.6 เริม่ เกมหลังจากมีการทำประตู 11.6.7 เริ่มเกมหลังจากการยิงลูกทีจ่ ดุ โทษ เมื่อไม่มีประตเู กิดขึ้น 11.6.8 หยดุ การแข่งขนั สำหรับการเปลี่ยนผู้รกั ษาประตเู ตม็ ชุด และเริ่มเกมเมือ่ การ เปลีย่ นตัวเสรจ็ สิ้น 11.6.9 หยดุ เกมสำหรับเวลานอก และเริม่ ต้นใหม่หลังจากเวลานอกสิ้นสุด 11.6.10 หยุดการแข่งขันไม่ว่าเหตุผลใด ๆ และเริม่ ต้นใหม่ 11.6.11 ให้สญั ญาณเมือ่ จำเปน็ เมื่อลกู บอลผ่านเส้นทั้งลกู ออกจากสนามกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 22
11.7 ผู้ตดั สินจะต้องไม่สอนหรือโค้ชตลอดทั้งเกม11.8 ถ้าลกู บอลสัมผัสกับผู้ตดั สิน บคุ คลอืน่ หรือวตั ถใุ ด ๆ ในสนาม ให้เกมดำเนินต่อไปกติกาขอ้ ที่ 12การลงโทษ (Penalties) 12.1 การได้เปรียบ: การลงโทษจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เล่น หรือทีม ไม่ได้เปรียบจากคู่ต่อสู้ทีท่ ำการ ละเมิดกติกา 12.2 การได้ลกู กินเปล่า 12.2.1 การทำผิดกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรุกภายในเขตครึ่งสนามของฝ่ายรบั 12.2.2 การไม่เจตนาทำผิดกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรับนอกเขตทำประตู แต่อยู่ในเขตครึง่ สนามของฝ่ายรบั 12.3 การได้ลูกโทษจากมมุ 12.3.1 การทำผิดกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรับในเขตทำประตู ซึง่ ไม่ได้ขดั ขวางโอกาสที่จะทำ ประตขู องฝ่ายรกุ 12.3.2 การเจตนาทำผิดกติกาในเขตทำประตโู ดยผู้เล่นฝ่ายรบั ต่อคู่ต่อสู้ทีซ่ ึง่ ไม่ได้ ครอบครองลกู บอล หรือมีโอกาสที่จะเล่นลกู บอล 12.3.3 การเจตนาทำผิดกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรับนอกเขตทำประตแู ต่อยู่ภายในเขตครึ่ง สนามของฝ่ายรบั 12.3.4 การเจตนาทำให้ลกู บอลข้ามเส้นออกด้านหลังโดยผู้เล่นฝ่ายรับ ผู้รกั ษาประตู หรือผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษ อนุญาตให้เปลีย่ นทิศทาง ลกู บอลด้วยไม้ เครื่องป้องกนั ต่าง ๆ หรือส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกาย ในทิศทางใดก็ได้รวมท้ังเส้นออกด้านหลัง 12.3.5 เมือ่ ทีมใดทีมหนึ่งทำการเปลี่ยนตัวผู้เล่นไม่ถกู ต้อง 12.3.6 เมื่อลูกบอลติดอยู่ในชุด หรืออปุ กรณ์ของผู้เล่นฝ่ายรบั ขณะอยู่ในเขตทำประตู 12.4 การได้ลูกที่จดุ โทษกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 23
12.4.1 การทำผิดกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรบั ในเขตทำประตู ทีซ่ ึง่ ขดั ขวางโอกาสในการทำ ประตู 12.4.2 การเจตนาทำผิดกติกาในเขตทำประตูโดยผู้เล่นฝ่ายรบั ต่อคู่ต่อสู้ที่ครอบครอง บอล หรือมีโอกาสทีจ่ ะเล่นบอล12.5 ถ้ามีการทำผิดกติกา หรือผิดข้อปฏิบัติก่อนที่จะมีการลงโทษเกิดขึ้น 12.5.1 การลงโทษที่สงู ยิง่ ขึ้น 12.5.2 ให้การลงโทษส่วนบุคคล 12.5.3 การลงโทษอาจจะย้อนกลับมาให้อีกฝ่ายได้ ถ้าการทำผิดกติกาต่อมาถูก กระทำโดยฝ่ายทีไ่ ด้เปรียบในคร้ังแรกกติกาข้อที่ 13วิธีการเล่นสำหรบั การลงโทษต่างๆ(Procedures for taking penalties)13.1 จุดที่เล่นลูกกินเปล่า 13.1.1 ลูกกินเปล่าให้เล่นใกล้กับจุดที่เกิดเหตุ ใกล้ หมายถึง การเล่นในระยะจุดที่เกิดการทำผิดกติกาเกิดขึ้น และต้องไม่ ได้เปรียบจนมากเกินไป จดุ ที่เล่นลูกกินเปล่าจะต้องตรงจุดที่เกิดเหตมุ ากทีส่ ดุ บริเวณใกล้กับเขต ทำประตู 13.1.2 ฝ่ายรบั ได้เล่นลกู กินเปล่านอกเขตทำประตู แต่อยู่ในระยะ 9 เมตรจากเส้นหลงั ให้นำลูกขึ้นมาเริ่มเล่นในระยะ 9.10 เมตร และขนานกบั เส้นข้างสนาม 13.1.3 ฝ่ายรบั ได้เล่นลูกกินเปล่าในเขตทำประตู สามารถเริ่มเล่นได้ในเขตทำประตใู กล้ เคียงจดุ เกิดเหตุ หรือนำลกู ขึ้นมาเล่นในระยะ 9.10 เมตร และขนานกับเส้นข้างสนาม13.2 ข้ันตอนการเล่นลกู กินเปล่า การเริ่มเล่นจากลางสนาม และการส่งลูกเข้าเล่นจากข้างสนาม ในส่วนต่างๆของข้อนี้ (13.2) ใช้บงั คับกบั การเล่นลูกกินเปล่า การเริ่มเล่น จากลางสนาม และการส่งลูกเข้าเล่นจากข้างสนามกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 24
13.2.1 ลูกบอลจะต้องอยู่นิง่ กับพื้น13.2.2 คู่ต่อสู่จะต้องอยู่ห่างจากบอลอย่างน้อย 3 เมตร ถ้าคู่ต่อสู้อยู่ในระยะ 3 เมตรจากลกู บอลจะต้องไม่รบกวน หรือพยายามที่ จะเล่นลูกน้ัน ถ้าคู่ต่อสู้ไม่ได้รบกวน หรือพยายามทีจ่ ะเล่นลูกนั้น ผู้ตัดสิน จะให้การเล่นลูกกินเปล่านั้นดำเนินต่อไป13.2.3 ถ้าเป็นการเล่นลกู กินเปล่าภายในเขตครึ่งสนามของฝ่ายรุก ผู้เล่นท้ังสองฝ่ายจะต้องอยู่ห่างจากบอลอย่างน้อย 3 เมตร13.2.4 ลกู บอลจะต้องเคลือ่ นที่โดยการผลักเท่าน้ัน13.2.5 การเล่นลูกกินเปล่าของฝ่ายรุกในเขตครึง่ สนามของฝ่ายรับ ลกู บอลจะต้องไม่ถกู ส่งเข้าเล่นภายในเขตทำประตูโดยตรง บอลอาจจะเข้าไปในเขตทำประตทู นั ทีหลังจากสมั ผสั กระดานด้านข้างแล้ว หรือบอลจะต้องถกู ส่งไปอย่างน้อย 3 เมตร และสมั ผสั กับผู้เล่นทีมหนึง่ ทีมใดก่อน นอกเหนือจากผู้ที่เล่นลกู กินเปล่า หรือสัมผสักระดานด้านข้างก่อน ถ้าผู้เล่นที่เล่นลูกกินเปล่ายงั คงเล่นลูกต่อไป (ไม่มีผู้เล่นคนอืน่ ได้เล่นบอล)• ผู้เล่นคนน้ันอาจจะเล่นลกู บอลได้หลายๆครั้ง,• แต่ลกู บอลจะต้องเคลื่อนทีอ่ ย่างน้อย 3 เมตร ไม่จำเปน็ ต้องเป็นการเคลื่อนที่ใน ทิศทางเดียว• ผู้เล่นคนน้ันเล่นบอลเข้าไปในเขตทำประตูโดยการผลกั บอลอีกคร้ังหนึง่อีกทางเลือกหนึง่• หลังจากผู้เล่นฝ่ายรบั สมั ผัสลกู บอล ลูกบอลจะสามารถถูกส่งเข้าไปในเขตทำประตู โดยผู้เล่นคนอื่น ๆ รวมท้ังผู้เล่นทีเ่ ล่นลูกกินเปล่านี้• ในการเล่นลูกกินเปล่าที่อยู่ภายในเขต 3 เมตรจากเขตทำประตู ลกู บอลไม่สามารถ ถูกเล่นเข้าไปในเขตทำประตไู ด้ จนกระท่ังลกู บอลถูกทำให้เคลือ่ นทีอ่ ย่างน้อย 3 เมตร หรือลูกบอลสมั ผัสกบั ผู้เล่นฝ่ายรับ หรือลูกบอลถกู ทำให้เคลื่อนที่อย่างน้อย 3 เมตรก่อนทีม่ ันจะสมั ผัสกบั กระดานด้านข้างกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 25
• ผู้เล่นฝ่ายรับที่อยู่ในเขตทำประตู และอยู่ห่างจากบอลไม่ถึง 3 เมตร จะต้องไม่ รบกวนการเล่น และสามารถเคลื่อนที่ภายในเขตทำประตตู ามผู้เล่นฝ่ายรกุ ทีเ่ ล่น ลูกบอลได้ ห้ามรบกวนการเล่นจนกว่าลกู บอลจะถูกทำให้เคลื่อนทีอ่ ย่างน้อย 3 เมตร หรือลูกบอลสมั ผัสกับผู้เล่นฝ่ายรับ หรือลกู บอลถูกทำให้เคลือ่ นที่อย่างน้อย 3 เมตรก่อนทีล่ ูกบอลจะสัมผัสกบั กระดานด้านข้าง • ผู้เล่นทีอ่ ยู่ด้านใน หรือด้านนอกของเขตทำประตู ซึง่ อาจจะอยู่ในระยะ 3 เมตร หรือ มากกว่า ไม่อนุญาตให้เคลื่อนที่เข้ามาในขณะผู้เล่นฝ่ายรุกเล่นลกู และจะต้องยืนนิ่ง กบั ที่ภายในระยะ 3 เมตรจากจดุ ที่เล่นลกู กินเปล่า • ไม่ว่าการเล่นบอลใด ๆ ถ้าผู้เล่นพยายามที่จะเล่นบอล หรือรบกวนการเล่นบอล โดย ผู้เล่นที่อยู่ในระยะ 3 เมตรจากจดุ เริม่ เล่นลกู กินเปล่า จะต้องถกู ลงโทษตามกติกา ทนั ที • ถ้าจดุ เล่นลกู กินเปล่าอยู่ในเขตครึ่งสนามของฝ่ายรบั ผู้เล่นทั้งสองฝ่ายจะต้องอยู่ห่าง จากบอลอย่างน้อย 3 เมตร ยกเว้นผู้เล่นที่เล่นลกู กินเปล่า13.3 การเล่นลกู โทษจากมมุ 13.3.1 ลกู บอลจะวางบนเส้นด้านหลังสนามอย่างน้อย 6 เมตร จากเสาประตดู ้านที่ฝ่าย รุกเลือก 13.3.2 ฝ่ายรุกที่ส่งบอลเข้าเล่นจะต้องมีเท้าใดเท้าหนึง่ อยู่นอกสนาม 13.3.3 ฝ่ายรุกที่เหลือต้องอยู่ในสนาม นอกเขตทำประตูท้ังไม้ มือ และเท้า ห้ามสมั ผสั พื้นในเขตทำประตู 13.3.4 ไม่มีผู้เล่นฝ่ายรบั และฝ่ายรุก นอกเหนือจากฝ่ายรุกที่ส่งบอลเข้าเล่นทีอ่ นุญาต ให้อยู่ในระยะ 3 เมตรจากลูกบอลเมือ่ มีการเล่นลกู 13.3.5 ผู้รักษาประตู หรือผู้รักษาประตสู ิทธิพิเศษ ต้องยืนอยู่ด้านในประตู ผู้เล่นฝ่ายรบั มากกว่า 5 คนที่เหลือยืนอยู่หลังเส้นออกด้านหลงั ฝ่ังตรงข้ามกับผู้เปิดของฝ่ายรกุ ห้าม ส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกาย และไม้สัมผสั ในเขตทำประตู ถ้าทีมฝ่ายรบั เลือกป้องกันลกู โทษจากมมุ โดยใช้ผู้เล่นในสนามทั้งหมด ไม่มี ผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ ผู้เล่นท้ังหมดยืนหลังเส้นออกด้านหลังฝ่ังตรงข้าม กับผู้เปิดของฝ่ายรุก และจะต้องใช้ไม้เพียงอย่างเดียวในการป้องกนั ประตู 13.3.6 ผู้เล่นฝ่ายรบั ทีไ่ ม่ได้อยู่หลังเส้นออกด้าน ต้องยืนอยู่หลังเส้นกลางสนามกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 26
13.3.7 ก่อนที่บอลจะถูกส่งเข้าเล่น ห้ามฝ่ายรุกนอกจากผู้เล่นทีส่ ่งบอลเข้าเล่นเข้ามาใน เขตทำประตู และไม่มีฝ่ายรบั วิ่งออกจากเส้นจากเส้นออกด้านหลัง และเส้นกลาง สนามโดยเด็ดขาด 13.3.8 หลงั จากการส่งบอลเข้าเล่นแล้วผู้เล่นทีส่ ่งบอลห้ามสัมผัสลูกอีกคร้ัง จนกระทั้ง ลกู นั้นสมั ผัสกบั ผู้เล่นคนอื่นแล้ว 13.3.9 จะทำประตูไม่ได้จนกว่าลกู บอลจะถกู ส่งออกไปเล่นนอกเขตทำประตู ฝ่ายรับทีว่ ิง่ เข้าหาวิถีลกู หรือเข้าหาผู้ยิง โดยไม่พยายามที่จะเล่นลูกบอล ด้วยไม้ จะต้องถกู ลงโทษเพราะเป็นการเล่นที่อนั ตราย ถ้าผู้เล่นฝ่ายรับที่วิ่งออกมาเพือ่ ป้องกัน ถ้าลกู โดนต่ำกว่าเข่าในระยะ 3 เมตร ฝ่ายรุกจะได้เล่นลูกโทษจากมมุ อีกคร้ังหนึ่ง และถ้าลกู สัมผัสเหนือ เข่าของผู้เล่นฝ่ายรับในท่าทางปกติ ฝ่ายรบั จะได้ลกู กินเปล่า 13.3.10 กฎการเล่นลกู โทษจากมุมจะไม่ได้ใช้ ถ้าลูกบอลเคลื่อนที่ออกจากเขตทำประตู มากกว่า 3 เมตร13.4 การแข่งขนั จะเพิ่มเวลาขึ้นในช่วงครึง่ เวลาแรกและช่วงจบเกม เพือ่ ให้สิ้นสดุ ในการเล่นลกูโทษจากมุม หรืออาจจะตามมาด้วยลูกโทษจากมุมอีกคร้ัง หรือลกู ที่จดุ โทษ13.5 ลูกโทษจากมมุ จะสิ้นสดุ ต่อเมื่อ 13.5.1 มีการได้ประตู 13.5.2 ฝ่ายรบั ได้ลูกกินเปล่า 13.5.3 บอลถกู ส่งออกไปนอกเขตยิงประตเู กิน 3 เมตร 13.5.4 บอลถกู ส่งข้ามออกไปเส้นด้านหลังสนาม และไม่ใช่การเล่นลูกโทษจากมุม 13.5.5 บอลถูกส่งข้ามชิ่งด้านข้าง และไม่ใช่การเล่นลกู โทษจากมุม 13.5.6 กองหลงั กระทำผิดกติกาซึง่ ไม่มีผลต่อการได้ลกู โทษจากมมุ อีกครั้ง 13.5.7 ฝ่ายรุกได้ลูกที่จุดโทษ 13.5.8 ได้ลูกบลู ลี่ ถ้าการเล่นหยดุ ลงเนื่องจากสาเหตกุ ารบาดเจบ็ หรือเหตุผลอืน่ ๆ ระหว่างเล่นลกู โทษจากมมุ ในช่วงทีห่ มดเวลาไปแล้วในครึง่ แรก หรือครึง่ หลงั และเป็นการบลู ลี่ ลูกโทษจากมมุ จะต้องเล่นใหม่อีกคร้ังกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 27
13.6 ลูกโทษจากมมุ ในช่วงหมดเวลาในครึ่งเวลาแรก และครึง่ เวลาหลงั จะสิ้นสุดด้วยเช่นกันถ้าลูกบอลออกนอกเขตทำประตูเปน็ คร้ังที่สอง13.7 การทำผิดกติการะหว่างการเล่นลกู โทษจากมมุ 13.7.1 ผู้เล่นที่ส่งบอลเข้าเล่นจากเส้นออกด้านหลังไม่ได้มีเท้าอย่างน้อย 1 ข้างอยู่นอก สนาม และใหเ้ ลน่ ลกู โทษจากมุมอีกครงั้ 13.7.2 ผู้เล่นทีส่ ่งบอลเข้าเล่นเจตนาหลอกล่อขณะส่งบอลเข้าเล่น ให้ผู้ส่งบอลขึ้นไปยืน ทีเ่ ส้นกลางสนาม และทดแทนด้วยผู้เล่นทีย่ ืนอยู่รอบ ๆ เขตยิงประตูเท่านั้น และใหเ้ ลน่ ลูกโทษจากมุมอีกครั้ง 13.7.3 ผู้เล่นฝ่ายรับข้ามเส้นประตู หรือเส้นออกด้านหลังก่อนทีฝ่ ่ายรุกจะเปิดบอลเข้า เล่น ให้ผู้เล่นคนน้ันขึ้นไปยืนที่เส้นกลางสนาม และไม่สามารถทดแทนด้วยผู้เล่นฝ่ายรบั คนอืน่ ๆ ได้ และให้เล่นลูกโทษจากมมุ อีกครง้ั ถ้าผู้เล่นฝ่ายรับคนอื่น ๆ ข้ามเส้นประตู หรือเส้นออกด้านหลังก่อนที่ ฝ่ายรกุ จะเปิดบอลเข้าเล่นในการเล่นลูกโทษใหม่ ก็ให้ขึ้นไปยืนที่เส้น กลางสนาม และไม่สามารถทดแทนด้วยผู้เล่นฝ่ายรับคนอืน่ ๆ ได้เช่น เดียวกัน 13.7.4 ผู้รักษาประตู หรือผู้รักษาประตสู ิทธิพิเศษข้ามเส้นประตู หรือเส้นออกด้านหลงั ก่อนทีฝ่ ่ายรุกจะเปิดบอลเข้าเล่น ให้ฝ่ายรับป้องกนั ด้วยผู้เล่นที่น้อยกว่าเดิมหนึง่ คน ใหเ้ ลน่ ลูกโทษจากมุมอีกครง้ั ผู้เล่นฝ่ายรบั เปน็ ผู้เลือกผู้เล่นคนใดคนหนึง่ ทีจ่ ะต้องขึ้นไปยืนที่เส้น กลางสนาม และไม่สามารถทดแทนด้วยผู้เล่นฝ่ายรบั คนอื่น ๆ ผู้รักษาประตู หรือผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษข้ามเส้นประตู หรือเส้นออก ด้านหลงั ก่อนทีฝ่ ่ายรุกจะเปิดบอลเข้าเล่นในการเล่นลกู โทษใหม่ ให้ผู้ เล่นฝ่ายรับเปน็ ผู้เลือกผู้เล่นคนใดคนหนึ่งทีจ่ ะต้องขึ้นไปยืนที่เส้น กลางสนาม และไม่สามารถทดแทนด้วยผู้เล่นฝ่ายรบั คนอื่น ๆ ได้เช่น เดียวกัน 13.7.4 ผู้เล่นฝ่ายรกุ เข้าไปในเขตทำประตูก่อนที่คนเปิดบอลจะเปิดบอลเข้าเล่น ให้เล่น ลูกโทษจากมุมอีกครั้ง 13.7.5 การทำผิดกติกาอืน่ ๆ ของผู้เล่นฝ่ายรุก ฝา่ ยรับจะไดเ้ ลน่ ลกู กินเปลา่กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 28
13.8 การเล่นลูกทีจ่ ดุ โทษ 13.8.1 เมื่อมีการให้ลูกที่จดุ โทษ เวลาและการเล่นจะต้องหยุด 13.8.2 ผู้เล่นทุกคนในสนามยกเว้นผู้ยิงและผู้เล่นที่ป้องกนั ให้ยืนอยู่หลงั เส้นกลางสนาม และต้องไม่รบกวนการเล่นลูกที่จุดโทษ 13.8.3 ลกู บอลจะต้องวางอยู่บนจดุ โทษ 13.8.4 ผู้เล่นที่ยิงจะต้องยืนด้านหลัง และอยู่ในระยะทีส่ ามารถเล่นลูกบอลได้ 13.8.5 ผู้เล่นที่ป้องกนั คือผู้รักษาประตู หรือผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ จะต้องยืนเท้าท้ัง สองบนเส้นประตู และจะต้องไม่เคลือ่ นเท้าออกนอกเส้นประตู จนกว่าลกู บอลได้ถกู เล่นแล้ว 13.8..6 ผู้เล่นทีป่ ้องกนั คือผู้รักษาประตู หรือผู้รกั ษาประตสู ิทธิพิเศษจะต้องสวม เครือ่ งป้องกนั ศีรษะ ถ้าเปน็ ผู้เล่นคนอื่น ๆ ทีเ่ ปน็ ผู้เล่นในสนามจะต้องสวมหน้ากากใน การป้องกัน ถ้าทีมที่ป้องกันลกู ที่จุดโทษเลือกที่จะเล่นเพียงแค่ผู้เล่นในสนาม และไม่มีผู้ รักษาประตูสำรอง หรือผู้รักษาประตูสิทธิพิเศษในการป้องกัน ผู้เล่นที่ ป้องกันใช้ได้เพียงแค่ไม้ในการป้องกันประตเู ท่าน้ัน 13.8.7 ผู้ตดั สินจะให้สญั ญาณนกหวีดต่อเมื่อผู้เล่นทั้งสองฝ่ายอยู่ในตำแหน่งที่พร้อม 13.8.8 ผู้เล่นทีย่ ิงลกู ที่จุดโทษจะต้องไม่ยิงจนกว่าจะได้ยินสญั ญาณนกหวีดจากผู้ตัดสิน ผู้เล่นที่ยิง และผู้เล่นที่ป้องกันจะต้องไม่เจตนาทำให้การยิงน้ันช้า 13.8.9 ผู้ยิงจะต้องไม่หลอกล่อขณะยิงประตู 13.8.10 ผู้เล่นทีย่ ิงลกู ที่จุดโทษต้องผลัก ตวดั หรือตักลูก และอนญุ าตให้บอลลอยได้ ทกุ ความสงู การใช้ “ลูกดึงหรือลากบอล” ไปกบั พื้นก่อนยิงประตู ในลกู ที่จดุ โทษไม่ อนุญาตให้ใช้ 13.8.11 ผู้เล่นทีย่ ิงลกู ทีจ่ ุดโทษจะต้องเล่นบอลเพียงแค่ครั้งเดียว และต้องไม่เข้าไปใกล้ ทั้งบอล หรือผู้เล่นทีป่ ้องกันประตูกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 29
13.9 ลกู ที่จดุ โทษจะสิ้นสดุ เมือ่ 13.9.1 ลูกนั้นได้ประตู 13.9.2 ลกู บอลยงั อยู่ในเขตทำประตู อยู่ในเครือ่ งป้องกนั ของผู้รักษาประตู ลกู บอลถูก ป้องกนั โดยผู้รักษาประตู หรือผู้รกั ษาประตูสิทธิพิเศษ หรือออกนอกเขตทำประตู13.10 การทำผิดกติการะหว่างการยิงลูกที่จดุ โทษ 13.10.1 การยิงถกู กระทำก่อนสัญญาณนกหวีด และลกู นั้นเป็นประตู ใหย้ ิงลกู ที่จุด โทษอีกคร้ัง 13.10.2 การยิงถูกกระทำก่อนสัญญาณนกหวีด และลกู น้ันไม่เป็นประตู ใหฝ้ า่ ย ป้องกันไดเ้ ล่นลกู กินเปลา่ 13.10.3 การทำผิดกติกาใด ๆ ของผู้เล่นทีย่ ิง ให้ฝา่ ยป้องกันได้เล่นลกู กินเปลา่ 13.10.4 การทำผิดกติกาใด ๆ ของผู้เล่นที่ป้องกัน รวมถึงการขยับขาข้างใดข้างหนึง่ ก่อนทีล่ กู บอลจะถกู ยิง ใหย้ ิงลกู ที่จุดโทษอีกคร้ัง ถ้าผู้เล่นที่ป้องกนั ประตปู ้องกันลกู ที่จะเป็นประตไู ด้แต่เคลือ่ นเท้าข้างใด ข้างหนึ่งก่อนที่บอลจะถกู เล่น ผู้เล่นคนนั้นจะต้องได้รับการเตือน(ใบเขียว) และถ้าทำผิดกติกาอีกครั้งจะต้องโดนพกั การเล่น(ใบเหลือง) ถ้าลกู น้ันเป็นประตูถึงแม้จะเป็นการทำผิดกติกาโดยฝ่ายป้องกัน ให้ลกู น้ัน เปน็ ประตู 13.10.5 การทำผิดกติกาโดยผู้เล่นที่ป้องกนั และลูกน้ันไม่เป็นประตู ให้ยิงลูกทีจ่ ดุ โทษ อีกครัง้ 13.10.6 การทำผิดกติกาโดยผู้เล่นฝ่ายรุกคนอื่นๆที่ไม่ใช่ผู้ยิง และลูกนั้นเปน็ ประตู ใหย้ ิงลูกทีจ่ ดุ โทษอีกครงั้กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 30
กติกาขอ้ ที่ 14การลงโทษส่วนบุคคล (Personal penalties) 14.1 สำหรับการทำผิดกติกาใด ๆ ของผู้เล่นอาจจะ 14.1.1 ตักเตือนด้วยวาจา 14.1.2 พักการเล่นชว่ั คราว 1 นาที (ใบเขียว) 14.1.3 พักการเล่นชว่ั คราวอย่างน้อย 2 นาที (ใบเหลือง) ระยะเวลาของการพักการเล่นของผู้เล่นในหรือนอกสนาม ทีมที่ทำผิด กติกาต้องเล่นโดยมีผู้เล่นน้อยกว่า 1 คน 14.1.4 พกั การเล่นถาวร (ใบแดง) การพักการเล่นตลอดเกม ทีมทีท่ ำผิดกติกาเล่นในเวลาทีเ่ หลือโดยมีผู้เล่น น้อยกว่า 1 คน การลงโทษส่วนบคุ คลภายหลงั เกมจบลง อาจได้รับมากไปกว่าการลงโทษ ที่ได้รบั จากในสนาม 14.2 ผู้เล่นทีถ่ กู สง่ั พกั ชวั่ คราว ต้องออกไปน่ังพกั ในที่ทีก่ รรมการกำหนด จนกว่าจะได้รับอนญุ าต จากผู้ตัดสินที่ให้ใบลงโทษให้กลับเข้าไปเล่น 14.3 ผู้เล่นทีถ่ กู ส่งั พักชว่ั คราว อาจจะกลบั ไปฝั่งของตัวเองได้ในระหว่างพักครึง่ เวลา และกลบั มา นงั่ ต่อจนครบกำหนดเวลา 14.4 ระยะเวลาพกั ทีก่ ำหนดไว้ สามารถเพิ่มขึ้นได้สำหรับผู้เล่นทีป่ ระพฤติผิดซ้ำขณะถูกพกั การ เล่น 14.5 ผู้เล่นที่ถูกส่งั พักถาวรจะต้องออกจากสนาม และพื้นที่โดยรอบสนามกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 31
การทำหน้าทีผ่ ู้ตัดสิน (Umpiring)กติกาข้อที่ 1วตั ถุประสงค์ (Objective) 1.1 การเป็นผู้ตดั สินฮอกกี้เป็นงานที่ท้าทายความสามารถ และเป็นวิธีทีด่ ีที่ทำให้มีส่วนร่วมกับเกม การแข่งขัน 1.2 ผู้ตัดสินสามารถให้การสนับสนุนเกมการแข่งขนั ได้โดย 1.2.1 ช่วยยกระดบั มาตรฐานของเกมในทกุ ระดบั โดยจะต้องมัน่ ใจว่าผู้เล่นปฏิบตั ิตาม กฎกติกาอย่างถูกต้อง 1.2.2 จะต้องมน่ั ใจว่าทกุ เกมเล่นด้วยน้ำใจนักกีฬาทีด่ ีงาม 1.2.3 ช่วยเพิ่มความสนกุ สนานของเกมสำหรับผู้เล่น, คนดู และคนอืน่ ๆ 1.3 วัตถุประสงค์ในการทำหน้าทีเ่ ป็นผู้ตัดสิน 1.3.1 ความสม่ำเสมอ : ผู้ตัดสินต้องรกั ษาความเอาใจใส่ผู้เล่นอย่างสมำ่ เสมอ 1.3.2 ความยตุ ิธรรม : การตัดสินใจใด ๆ ต้องทำโดยความรู้สึกถึงความยตุ ิธรรม และ ความซื่อสตั ย์ 1.3.3 การเตรียมพรอ้ ม : ไม่ว่าจะมีประสบการณ์ทำหน้าทีผ่ ู้ตัดสินมานานขนาดไหน สำคัญทีส่ ุดจะต้องมีการเตรียมพร้อมอย่างดีทุกเกม 1.3.4 การมีสมาธิ : การมีสมาธิในเกมจะต้องรักษาไว้ตลอดทั้งเกม อย่าให้สิง่ ใดมา กวนใจผู้ตดั สินได้ 1.3.5 การเขา้ ถึง : การเข้าใจทีด่ ีต่อกติกาต้องนำมาประสานกบั สัมพันธ์ทีด่ ีกบั ผู้เล่น 1.3.6 การทำให้ดีกวา่ : ผู้ตดั สินต้องมีเป้าหมายที่จะทำให้ดีขึ้นในทกุ เกม 1.3.7 การเปน็ ธรรมชาติ : ผู้ตดั สินจะต้องเปน็ ตัวของตวั เอง และต้องไม่ลอกเลียนผู้อืน่กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 32
1.4 ผู้ตดั สินจะต้อง 1.4.1 มีความรู้ในกติกาฮอกกี้อย่างละเอียด และต้องระลึกไว้เสมอว่าความแม่นยำ ในกติกา และการตอบสนองทีฉ่ บั ไวเป็นสิ่งสำคัญ 1.4.2 สนับสนุน และส่งเสริมการเล่นที่ใช้ทักษะทีส่ ูง จดั การอย่างทันท่วงที หนกั แน่นต่อ ความผิด และใช้บทลงโทษทีเ่ หมาะสม 1.4.3 แสดงให้เห็นถึงการควบคมุ การแข่งขัน และรกั ษาไว้ให้ได้ตลอดทั้งเกม 1.4.4 ใช้เครื่องมือที่มีในการควบคุมนกั กีฬา 1.4.5 ใช้กติกาในการให้เล่นต่อเนือ่ งมากสุดเท่าทีจ่ ะทำได้ เพื่อช่วยให้เกมไม่สะดุด แต่ ต้องควบคมุ เกมได้ด้วยกติกาข้อที่ 2การใช้กติกา (Applying the rules) 2.1 ปกป้องผู้เล่นที่มีทักษะสงู และความผิดทีใ่ ช้ลงโทษ 2.1.1 ความผิดทีร่ ้ายแรงจะต้องถูกตดั สินโดยทนั ที เช่น การที่เล่นอนั ตราย หรือการเล่น ที่หยาบคายใด ๆ จะต้องตดั สินได้รวดเร็ว และหนกั แน่นในการแข่งขนั 2.1.2 การเจตนาทำผิดกติกาจะต้องถูกลงโทษอย่างหนกั 2.1.3 ผู้ตัดสินจะต้องแสดงให้ผู้เล่นเห็นว่า ถ้าผู้เล่นให้ความร่วมมือ มีทกั ษะดี จะได้รบั การปกป้อง และการแข่งขนั จะถูกขัดจังหวะการเล่นเฉพาะเมื่อจำเป็นเท่านั้น 2.2 การได้เปรียบ 2.2.1 การทำผิดกติกาทุกครั้งไม่จำเปน็ จะต้องลงโทษ เมือ่ ไม่ได้ผลประโยชน์จากการ กระทำผิดน้ัน และการขดั จังหวะที่ไม่จำเป็นของเกมการแข่งขนั เปน็ ผลให้เกมไม่ต่อเนือ่ ง 2.2.2 เมื่อกติกาถกู ละเมิดผู้ตดั สินจะต้องใช้การให้ได้เปรียบ ถ้าเป็นการลงโทษทีร่ นุ แรง ทีส่ ุด 2.2.3 การครอบครองบอลไม่ได้หมายความว่าได้เปรียบ สำหรบั การให้ได้เปรียบน้ันผู้ เล่น หรือทีมทีค่ รอบครองบอลจะต้องสามารถทำให้การเล่นในจงั หวะต่อไปของเขานั้น ดีขึ้นกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 33
2.2.4 เมือ่ มีการตดั สินใจทีจ่ ะเล่นได้เปรียบแล้ว โอกาสทีส่ องจะต้องไม่ถกู ให้โดยย้อน กลบั ไปยงั ลงโทษอนั เดิม 2.2.5 การคาดการณ์ล่วงหน้าเปน็ สิ่งสำคัญของความต่อเนือ่ งของเกม การมองข้าม ออกไปจากการกระทำในขณะนั้น และตระหนักถึงการพฒั นาศกั ยภาพในการแข่งขนั ของนกั กีฬา2.3 การควบคมุ 2.3.1 การตดั สินใจจะต้องทำอย่างทันท่วงทีในทางบวก ชัดเจน และต่อเนือ่ ง 2.3.2 การตัดสินอย่างเข้มงวดในช่วงต้นเกมจะช่วยลดการกระทำผิดทีจ่ ะเกิดซ้ำ ๆ ในเกม 2.3.3 มันไม่เป็นทีย่ อมรบั ในกีฬาฮอกกี้สำหรบั ผู้เล่นที่ทำผิดกติกาโดยใช้วาจา ท่าทาง และทัศนะคติที่ไม่ดีต่อคู่ต่อสู้ ผู้ตดั สิน หรือเจ้าหน้าทีเ่ ทคนิคอื่น ๆ ผู้ตัดสินจำเปน็ จะ ต้องจัดการกบั การกระทำดังกล่าวอย่างเข้มแข็ง ตามลำดับการเตือนคือ ด้วยวาจา ตัก เตือน (ใบเขียว) หรือพกั ชัว่ คราว (ใบเหลือง) หรือพกั ถาวร (ใบแดง) ข้อควรระวงั การ เตือน และการสั่งพกั ผู้เล่นสามารถให้โดยแยกหรือรวมกับการลงโทษอืน่ 2.3.4 การตกั เตือนสามารถให้กบั ผู้เล่นได้โดยไม่ต้องจำเปน็ จะต้องหยุดเวลา 2.3.5 อาจเปน็ ไปได้แต่ไม่แนะนำให้ทำสำหรับผู้เล่นที่จะได้รบั ใบลงโทษใบเขียว 2 ใบ หรือใบเหลือง 2 ใบ ในการทำผิดกติกาทีส่ าเหตตุ ่างกัน อย่างไรกต็ ามเมือ่ การทำผิด กติกาทีไ่ ด้ใบลงโทษแล้ว และถกู ทำซ้ำ ใบลงโทษใบเดิมจะต้องไม่ถกู ใช้อีกครั้ง และควร ให้การลงโทษที่หนักขึ้น 2.2.6 เมื่อให้ใบเหลืองใบที่สอง ระยะเวลาในการพักควรเพิม่ ขึ้นมากกว่าใบแรก 2.2.7 จะต้องชัดเจนในความแตกต่างระหว่างระยะเวลาในการพกั ของใบเหลืองสำหรับ การทำผิดกติกาเล็กน้อยกับระยะเวลาสำหรับการทำผิดกติกาทีร่ นุ แรง หรือการทำ ผิดกติกาโดยใช้ร่างกาย 2.2.8เมื่อผู้เล่นเจตนามีพฤติกรรมที่รุนแรงต่อผู้เล่น ผู้ตดั สิน และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ใบแดงจะต้องให้โดยทันที2.4 การลงโทษ 2.4.1 มีการลงโทษทีห่ ลากหลาย 2.4.2 การลงโทษสองอย่างสามารถนำมาใช้ร่วมกันได้เพือ่ จดั การกบั ความผิดที่เกิดขึ้น ซ้ำ ๆกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 34
กติกาข้อที่ 3ทักษะของผตู้ ดั สิน (Umpiring skills) 3.1 หลกั สำคัญของทักษะผู้ตดั สินคือ 3.1.1 การเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขัน 3.1.2 การประสานร่วมมือกนั ระหว่างผู้ตดั สิน 3.1.3 การเคลื่อนที่ และตำแหน่งการยืน 3.1.4 สญั ญาณนกหวีด 3.1.5 สัญญาณมือ 3.2 การเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขัน 3.2.1 ผู้ตัดสินจะต้องมีการเตรียมตวั อย่างดีในแต่ละเกม โดยมาถึงสนามในช่วงเวลาที่ เหมาะสม 3.2.2 ก่อนการแข่งขันผู้ตัดสินทั้งสองคนจะต้องตรวจสอบความพร้อมของสนาม เส้น สนาม ประตู และตาข่าย ตรวจสิ่งทีอ่ าจจะเปน็ อันตรายต่อการเล่นของอุปกรณ์ และ อุปกรณ์สนาม 3.2.3 ผู้ตดั สินท้ังสองคนจะต้องสวมเสื้อทีม่ ีสีคล้ายกนั และต้องแตกต่างกบั ทีมที่แข่งขนั ท้ังสองทีม 3.2.4 สวมเสื้อผ้าที่เหมาะสมกบั สภาพอากาศ 3.2.5 สวมรองเท้าที่เหมาะกับสภาพสนาม และช่วยในการเคลื่อนไหว 3.2.6 อปุ กรณ์ของผู้ตัดสินประกอบด้วย หนังสือกติกา (ปัจจุบนั ) นกหวีดที่มีคณุ ภาพ มีเสียงที่ดี นาฬิกาจับเวลา ใบลงโทษบุคคล และอุปกรณ์ทีใ่ ช้บนั ทึกรายละเอียดของเกม 3.3 การประสานร่วมมือกนั ระหว่างผู้ตดั สิน 3.3.1 การร่วมมือกนั และการช่วยเหลือกันระหว่างผู้ตดั สินเปน็ สิง่ จำเป็น 3.3.2 ก่อนทีจ่ ะลงตดั สิน ผู้ตดั สินจะต้องปรึกษาหารือ และตกลงวิธีทีจ่ ะลงไปตดั สิน และช่วยเหลือกนั การสื่อสารกนั ด้วยสายตาระหว่างผู้ตดั สินจะต้องได้รบั การฝึกฝนและ ทำอย่างสม่ำเสมอกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 35
3.3.3 ผู้ตัดสินจะต้องรับผิดชอบ และพร้อมทีจ่ ะช่วยเหลือ เมือ่ คู่ผู้ตัดสินไม่สามารถจะ มองได้เห็นเหตกุ ารณ์หรืออยู่ในตำแหน่งที่มองได้ยาก ผู้ตัดสินจะต้องเตรียมพร้อมที่จะ ข้ามเส้นกลางสนาม และไปไกลเท่าที่จะทำได้ในฝ่ังของคู่ผู้ตัดสิน เพือ่ ช่วยเหลือและ สร้างความม่ันใจให้กบั คู่ 3.3.4 ผู้ตัดสินทั้งสองคนจะต้องทำการบันทึกผู้ทำประตู และผู้ที่ได้รบั ใบลงโทษ และ ยืนยันหลงั จบเกม3.4 การเคลื่อนที่ และตำแหน่งการยืน 3.4.1 ผู้ตดั สินจะต้องมีการเคลือ่ นทีท่ ี่สามารถปรับเปลีย่ นได้ง่าย เพื่อทีจ่ ะเคลือ่ นที่ไปยัง ตำแหน่งที่เหมาะสมได้ตลอดทั้งเกม 3.4.2 ผู้ตดั สินทีย่ ืนนิ่งกบั ที่จะไม่สามารถเหน็ การเล่นของผู้เล่นได้อย่างชดั เจนพอ สำหรับการตัดสินใจทีถ่ ูกต้องตลอดเวลา 3.4.3 การมีสมรรถภาพทางกายทีด่ ี การเคลื่อนที่ทีด่ ี และการยืนตำแหน่งที่เหมาะสม จะทำให้ผู้ตดั สินมีสมาธิที่ดีในเกมการแข่งขัน และในการตัดสินใจ 3.4.4 ผู้ตดั สินแต่ละคนจะทำหน้าทีเ่ ปน็ ส่วนใหญ่ในครึง่ สนามทีเ่ ส้นกลางสนามอยู่ด้าน ซ้ายของตวั เอง 3.4.5 โดยท่ัวไปตำแหน่งที่เหมาะสมทีส่ ุดของผู้ตัดสินคือด้านบน และด้านขวาของผู้เล่น ฝ่ายรกุ 3.4.6 สำหรับการเล่นบริเวณกลางสนาม และเขตทำประตู ผู้ตัดสินควรยืนใกล้เส้นออก ข้าง 3.4.7 เมือ่ เกมเล่นในเขตทำประตู ผู้ตัดสินจะต้องเคลือ่ นที่มากขึ้นโดยเข้ามาด้านใน สนาม และออกจากกระดานด้านข้างสนาม เมือ่ จำเปน็ จะต้องเข้ามาในเขตทำประตูของ ตัวเองเพื่อจะช่วยในการมองเห็นการทำผิดกติกาที่สำคญั ๆ และเหน็ การทำประตูที่ ชดั เจน 3.4.8 การเล่นลูกโทษจากมมุ หลงั จากทีล่ กู บอลออกนอกสนามไปแล้วผู้ตัดสินจะต้อง เดินขึ้นมายงั ตำแหน่งทีจ่ ะช่วยให้มองเห็นได้ชดั เจนกับการเล่นทีก่ ำลังจะเกิดขึ้น 3.4.9 การเล่นลูกที่จดุ โทษ ผู้ตดั สินจะต้องยืนด้านหลังฝั่งขวามือของผู้เล่น 3.4.10 ผู้ตัดสินจะต้องระวงั อย่าให้ตำแหน่งการยืนหรือวิง่ ของตนเองรบกวนความต่อ เนือ่ งของเกม 3.4.11 ผู้ตดั สินจะต้องหนั หน้าเข้าหาผู้เล่นตลอดเวลากติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 36
3.5 สญั ญาณนกหวีด 3.5.1 สญั ญาณนกหวีดเป็นหัวใจหลักในการสื่อสารกับผู้เล่น และคนอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง กบั เกม 3.5.2 สญั ญาณนกหวีดจะต้องมีเสียงดงั ชดั เจนสำหรบั คนอื่น ๆ ในสนามที่จะได้ยิน และไม่ได้หมายถึงว่าต้องให้สัญญาณยาวดังตลอดเวลา 3.5.3 ระดบั ของเสียงนกหวีด และความยาวของสัญญาณนกหวีดจะต้องแตกต่างกนั เพื่อบอกถึงการทำผิดกติกาที่ร้ายแรงกบั ผู้เล่น3.6 สัญญาณมือ 3.6.1 สญั ญาณมือจะต้องชัดเจน และแสดงยาวนานพอเพื่อให้ผู้เล่นและผู้ตัดสินอีกคน ได้เห็นการตดั สิน 3.6.2 จะต้องใช้ท่าสญั ญาณที่เป็นมาตรฐานเท่าน้ัน 3.6.3 การให้สญั ญาณควรยืนนิ่งกับที่จะดีทีส่ ดุ 3.6.4 การชี้ทิศทางการเล่นไม่ควรชี้ข้ามร่างกายตวั ของตวั เอง 3.6.5 การแสดงสญั ญาณการทำผิดกติกา หรือการตัดสินใด ๆ ผู้ตัดสินควรมองผู้เล่นที่ ตกั เตือน หรือให้ใบลงโทษ เพือ่ แสดงให้เห็นว่าผู้ตัดสินจริงจงั กับสิง่ ทีเ่ กิดขึ้น ถ้าละเลย อาจเกิดการทำผิดกติกาทีม่ ากขึ้น และแสดงให้เหน็ ถึงการขาดความมั่นใจในตนเองกติกาขอ้ ที่ 4ท่าสญั ญาณของผตู้ ัดสิน (Umpiring signals) 4.1 เวลา 4.1.1 เริม่ เกม : ให้หนั หน้าไปหาผู้ตัดสินอีกคนแล้วยกแขนข้างหนึ่งขึ้นให้สดุ 4.1.2 หยุดเวลา : ให้หันหน้าไปหาผู้ตัดสินอีกคน และเหยียดแขนที่ไขว้ตดั กนั (รปู กากบาท) เหนือศีรษะ 4.1.3 เหลือเวลาแข่งขนั อีก 2 นาที : นิ้วชี้ ชี้ขึ้นพร้อมยกแขนท้ังสองข้างขึ้นจนสดุ แขน 4.1.4 เหลือเวลาแข่งขนั มากกว่า 1 นาที : นิ้วชี้ ชี้ขึ้นพร้อมยกแขนข้างเดียวขึ้นจนสดุ แขนกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 37
4.2 บลู ลี่ หันฝ่ามือเข้าหากัน ขยบั แขนขึ้นลงด้านหน้าตวั เอง4.5 ข้อปฏิบตั ิในการเล่น ท่าสัญญาณสำหรบั ข้อปฏิบตั ิในการเล่นจะต้องแสดงทันทีถ้ามีการสงสยั ของผู้เล่น 4.5.1 การเล่นที่อันตราย : วางมือเฉียงทแยงมมุ ตดั ผ่านหน้าอก 4.5.2 การประพฤติผิดวินยั หรือมีอารมณ์รนุ แรง : หยุดเวลา ควำ่ มือท้ังสองลงด้านหน้า ลำตัว ขยบั แขนขึ้นลงช้า ๆ 4.5.3 ลกู บอลสมั ผสั เท้า : ยกเข่าขึ้นเล็กน้อย แล้วชี้ทีบ่ ริเวณต้นขา 4.5.4 บอลลอยสูง : หันฝ่ามือเข้าหากันห่างประมาณ 15 ซม. ขนานกบั พื้นด้านหน้าตวั เอง 4.5.5 กีดขวางการเล่น : ยกแขนตัดกนั เปน็ รูปกากบาทด้านหน้าลำตัว 4.5.6 ใช้ไม้กีดขวางการเล่น : เหยียดแขนข้างหนึ่งเฉียงลงไปที่พื้นด้านหน้าตวั เอง แล้ว วางมืออีกด้านข้างบน 4.5.7 ระยะห่าง 3 เมตร : ยกแขนขึ้นข้างหนึ่ง หันด้านหน้ามือออก นิ้วท้ังสามเหยียด ตรง4.6 การลงโทษ 4.6.1 การได้เปรียบ : ยกแขนขึ้นข้างหนึง่ สงู มากกว่าระดับไหล่ในทิศทางที่ทีมทีไ่ ด้ เปรียบพาลกู ไป 4.6.2 ลูกกินเปล่า : ชี้ทิศทางด้วยแขนข้างหนึ่งทีย่ กขนาดกับพื้น 4.6.3 ลูกโทษจากมมุ : ชี้แขนท้ังสองข้างขนานกบั พื้นไปที่ประตู 4.6.4 ลูกทีจ่ ุดโทษ : ชี้มือข้างหนึง่ ไปทีจ่ ดุ โทษ มืออีกข้างชี้ขึ้นข้างบน เหยียดแขนให้สุด สัญญาณนี้หมายถึงหยดุ เวลาเช่นเดียวกนักติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 38
ขนาดสนามและอุปกรณ์ (Field and Equipment specifications)กติกาขอ้ ที่ 1สนามและอปุ กรณส์ นาม (Field and field equipment) 1.1 สนามเปน็ รูปสี่เหลีย่ มผืนผ้า ยาว 44.00 เมตร และกว้าง 22.00 เมตร แนะนำให้ใช้สนามทีเ่ ต็มขนาด สำหรับการแข่งขันในระดบั ประเทศหรือท้อง ถิ่นสามารถใช้สนามขนาดเล็กได้คือความยาว 36.00 เมตร และกว้าง 18.00 เมตร พื้นที่ทีแ่ นะนำนอกเส้นหลงั 3 เมตร และเส้นข้าง 1 เมตร 1.2 เครือ่ งหมายบนสนาม 1.2.1 ไม่มีเครื่องหมายหรือเส้นใด ๆ ที่นอกเหนือกติกานี้บนสนาม 1.2.2 เส้นกว้าง 50 มม. และจะต้องเหน็ ได้ชดั เจนตามแนวยาวของมนั 1.2.3 เส้นออกหลัง และเส้นต่าง ๆ บนสนามเป็นส่วนหนึ่งของสนาม 1.2.4 เส้นต่าง ๆ บนสนามจะต้องเป็นสีทีแ่ ตกต่างจากพื้นสนาม 1.3 กระดานด้านข้างของสนาม 1.3.1 ขนาดตามแนวยาวของสนาม ตั้งแต่ 36.00 – 44.00 เมตร 1.3.2 อยู่บนฐานสี่เหลี่ยมหน้าตัด 100 มม. 1.3.3 พื้นผิวทีห่ นั เข้าหาสนามมีความเอียง 10 มม. กระดานด้านข้างจะต้องทำมาจากไม้ หรือวสั ดุที่มีคณุ สมบตั ิใกล้เคียงกนั และจะต้องไม่มีข้อต่อหรือสิ่งรองรับทีอ่ าจจะก่อให้เกิดอนั ตรายต่อผู้เล่น และผู้ตดั สินกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 39
1.4 เส้นและเครื่องหมายอื่น ๆ บนสนาม 1.4.1 เส้นออกด้านหลงั สนาม : มีความยาว 18.00 – 22.00 เมตร 1.4.2 เส้นประตู : เปน็ ส่วนหนึง่ ของเส้นออกด้านหลงั อยู่ระหว่างเสาประตทู ั้งสอง 1.4.3 เส้นกลางสนาม : เส้นทีต่ ัดผ่านกลางสนาม 1.4.4 เส้น 300 มม. (30 ซม.) ด้านในของสนามบนเส้นออกด้านหลังทั้งสองด้าน อยู่ ออกจากขอบนอกประตทู ั้งสองด้าน 6 เมตร วัดขอบด้านไกลที่สดุ ของแต่ละเส้น 1.4.5 เส้น 150 มม. (15 ซม.) ด้านนอกของสนามบนเส้นออกด้านหลังทั้งสองด้าน 1.50 เมตรจากตรงกลางของเส้นออกด้านหลงั วดั จากขอบที่ใกล้ที่สุดของเส้นนี้ 1.4.6 จุดของจุดโทษ 100 มม. (10 ซม.) อยู่ด้านหน้ากึง่ กลางของประตใู นแต่ละด้าน 7.00 เมตรจากขอบด้านในของเส้นประตู1.5 เขตทำประตู 1.5.1 เส้น 3.00 เมตร ขนานกบั เส้นออกด้านหลงั เส้นนี้อยู่ในสนามจุดศูนย์กลางของ เส้นอยู่ตรงกับจดุ ศูนย์กลางของเส้นออกด้านหลัง ระยะห่างจากขอบด้านนอกของเส้น 3.00 เมตรกับขอบด้านนอกของเส้นออกด้านหลังคือ 9.00 เมตร 1.5.2 เส้นนี้ยังคงเปน็ เส้นโค้งต่อไปท้ังสองด้านและบรรจบกับเส้นออกด้านหลังในรูป ครึง่ วงกลม 1.5.3 เส้น 3.00 เมตร และส่วนโค้งเรียกว่าเส้นเขตทำประตู เขตที่ล้อมรอบโดยเส้นนี้ เรียกว่าเขตทำประตู 1.5.4 เส้นประ ขนาดกบั เส้นเขตทำประตู ระยะห่าง 3 เมตร โดยวัดจากขอบนอกของ เส้นเขตทำประตมู ายงั ขอบนอกด้านที่ใกล้ที่สดุ เส้นประแต่ละเส้นยาว 30 ซม. ช่องว่าง ระหว่างเส้นประห่าง 2 เมตรกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 40
A L K DJBH C IG F D 2EE 1กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 41
รหัส เมตร รหัส เมตร 22.00 0.10A อย่างน้อย 18.00 H 22.00 7.00B อย่างน้อย 18.00 IC 9.00 J 3.00D 3.00 K 2.00E 6.03 L 0.30F 0.15 1 อย่างน้อย 3.00G 0.30 2 อย่างน้อย 1.00*ขอบเขตของ E วัดจากเส้นประตูไม่ใช่จากเสาประตูระยะห่าง 6.00 เมตร1.6 ประตู 1.6.1 เสาประตูสองเสาตามแนวต้ังร่วมกบั คานประตูตามแนวนอน วางอยู่กึ่งกลางของ เส้นออกด้านหลงั 1.6.2 เสาประตูและคานต้องมีสีขาว เป็นรูปสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก กว้าง 80 มม. และลึก 80 มม. 1.6.3 เสาประตตู ้องไม่สามารถทำให้สงู ขึ้นตามแนวดิ่งตามความสงู ของคานประตู และ คานประตตู ้องไม่สามารถขยายตามแนวนอนตามเสาประตู 1.6.4 ระยะห่างระหว่างขอบด้านในเสาประตทู ้ังสองด้านคือ 3.00 เมตร และระยะห่าง ระหว่างขอบทีต่ ่ำที่สุดของคานประตกู บั พื้นคือ 2.00 เมตร 1.6.5 ที่ว่างนอกสนามที่อยู่ด้านหลงั ของเสา และคานประตูจะถกู ปิดด้วยตาข่าย ด้าน ลึกของประตู ด้านบนลึกจากคานประตอู ย่างน้อย 800 มม. และด้านล่างที่ติดกับพื้น ลึกจากเสาประตอู ย่างน้อย 1.00 เมตรกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 42
กระดานด้านข้าง และกระดานด้านหลงั ไม่ได้บงั คับไว้ในกติกา แต่ถ้าติด ตั้งควรเป็นไปตามข้อกำหนดดงั นี้ • กระดานด้านข้างสงู 460 มม. (46ซม.) และยาวอย่างน้อย 0.92 เมตร • กระดานด้านหลงั สงู 460 มม. (46ซม.) และยาว 3.00 เมตร • กระดานด้านข้างอยู่ติดกบั พื้น ยึดติดกับด้านหลงั ของเสาประตู • กระดานด้านหลังอยู่ติดกบั พื้น ขนานกบั เส้นออกหลงั และยึดติดกบั กระดานด้านข้าง • กระดานด้านข้าง และกระดานด้านหลัง ด้านในประตจู ะต้องมีสีเข้ม1.7 ตาข่าย 1.7.1 ขนาดใหญ่ที่สุด 45 มม. 1.7.2 ติดกบั ด้านหลงั ของเสาประตู และคานประตูเป็นช่วง ๆ ไม่เกิน 150 มม. (15ซม.) 1.7.3 ตาข่ายห้อยลงด้านนอกของกระดานด้านข้าง และกระดานด้านหลัง 1.7.4 ตาข่ายจะต้องมัดให้แน่นเพื่อป้องกันลกู บอลทะลุผ่านระหว่างเสาประตู คานประตู กระดานด้านข้าง และกระดานด้านหลัง 1.7.5 ตาข่ายต้องกระชบั แต่ไม่หลวม เพือ่ ป้องกนั การกระดอนของลกู บอลขนาดของประตูกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 43
รหัส เมตร รหสั เมตร A 3.00 E อย่างน้อย 0.80 B 2.00 F 0.080 C 0.46 G 0.080 ถึง 0.075 D อย่างน้อย 1.001.8 ที่นงั่ นักกีฬาสำรอง และโต๊ะเทคนิค 1.8.1 ที่นัง่ นักกีฬาของแต่ละทีมจะอยู่ด้านนอกของสนามท้ังสองฝ่ัง 1.8.2 โต๊ะสำหรับเจ้าหน้าที่เทคนิคจะวางด้านนอกสนามบริเวณกลางสนาม ด้านเดียว กับที่น่ังนกั กีฬาสำรอง ตำแหน่งของทีน่ ่ังนกั กีฬาสำรอง และโต๊ะจะต้องไม่เปน็ อันตรายกบั ผู้เล่น และผู้ตดั สินกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 44
กติกาข้อที่ 2ไม้ฮอกกี้ (Stick) จะทำการวัดทั้งหมดของไม้ และวัตถุอืน่ ๆ ทีม่ ีการหุ้มหรือติดไปกับไม้ ทีใ่ ช้ในการแข่งขนั 2.1 ในข้อนี้จะระบุถึงคณุ สมบตั ิของไม้ฮอกกี้ ซึง่ คุณสมบตั ิอืน่ ๆทีไ่ ม่ได้ระบไุ ว้ในกติกาข้อนี้สหพนั ธ์ ฮอกกี้ฯขอสงวนสิทธิ์ในการห้ามไม่ให้นำไม้ที่เหน็ ว่าไม่ปลอดภยั หรืออาจก่อให้เกิดอนั ตรายลง แข่งขนั 2.2 รูปร่างและขนาดของไม้จะถูกทดสอบโดยการวางด้านหน้าไม้ทีใ่ ช้เล่นคว่ำลงกับพื้นที่ราบ ตามรปู ที่ 3 และ 4 เส้น A, A1, B, B1 และ Y เส้นทั้งหมดขนานกัน และตั้งฉากกบั เส้น C และ X2.3 ไม้มีรปู ร่างด้ังเดิม ท้ังหัวตลอดคนด้ามจบั 2.3.1 ตำแหน่งของไม้ตามรปู ที่ 3 และ 4 เส้น Y ลากผ่านตรงกลางต้ังแต่ด้านบนของ ด้ามจบั ; ด้ามจับของไม้เริม่ ต้นจากเส้น C และต่อเนือ่ งไปตามทิศทางของเส้น Y+ 2.3.2 ฐานของหวั ไม้สัมผัสเส้น X ; หัวของไม้เริม่ ต้นที่เส้น X และสิ้นสุดที่เส้น C2.4 ไม้ที่จะได้รบั การตรวจสอบจะประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ที่เคลือบ ครอบคลมุ หรือยึดติดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของไม้ฮอกกี้กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 45
2.5 ข้อกำหนดอืน่ ๆของไม้ ตามคำอธิบายด้านล่างนี้ 2.5.1 “ราบเรียบ” หมายถึง ต้องไม่มีส่วนทีห่ ยาบ หรือคม พื้นผิวต้องเรียบเปน็ ปกติ ไม่มีร่อง ไม่ร่น หรือเปน็ สัน ต้องไม่มีขอบทีม่ ีมมุ ทีเ่ ป็นรัศมีน้อยกว่า 3 มม. 2.5.2 “แบน” หมายถึง ต้องไม่มีส่วนโค้งเว้า สูง หรือเปน็ โพรง ที่มีรศั มีน้อยกว่า 2 มม. และแบนราบไปถึงขอบของไม้ที่มีรศั มีไม่น้อยกว่า 3 มม. 2.5.3 “ต่อเนื่อง” หมายถึง ตลอดแนวของไม้จะต้องไม่ถูกรบกวนด้วยสิ่งใด ๆ2.6 ด้านทีใ่ ช้เล่นท้ังหมดแสดงในรปู ที่ 3 และ 4 รวมทั้งขอบของด้านน้ัน ๆ2.7 จากด้ามจับไปยังหวั ไม้ จะต้องราบเรียบและต่อเนื่อง ต้องไม่มีส่วนทีไ่ ม่เรียบหรือไม่ต่อเนือ่ ง2.8 ส่วนหัวไม้ต้องเปน็ ทรง ‘J’ หรือ ‘U’ มีรปู ร่างปลายหงายหรือปลายเปิดซึ่งถกู จำกัดโดยเส้น C2.9 ส่วนของหัวไม้ไม่มีข้อจำกดั ระหว่างเส้น C และ X ในทิศทาง X- หรือ X+2.10 ส่วนหัวไม้จะต้องแบนบนด้านซ้ายมือเท่าน้ัน (ด้านทีผ่ ู้เล่นถือไม้ให้ส่วนหวั ไม้ชี้ตรงไปด้านหน้าของผู้เล่น ด้านทีแ่ สดงในรปู )2.11 ค่าเบี่ยงเบนนูนหรือเว้าจะต้องเรียบและต่อเนื่อง สงู สดุ ไม่เกิน 4 มม. การเบีย่ งเบนด้านของหัวไม้ทีใ่ ช้เล่น ได้รบั การทดสอบโดยการวางสนั ด้าน ตรงของตัววัดไม้ความยาว 53 มม. ลอดผ่านทกุ จดุ ของด้านที่ใช้เล่น และ ใช้มาตรวัดความลึก วัดความโค้งเว้าด้านล่างตรงสนั ไม้ต้องไม่เกิน 4 มม. รอยยุบ หรือร่องต่างๆ ไม่อนุญาตให้ใช้ในเล่น2.12 ด้านหน้าไม้ทีใ่ ช้เล่นนั้น จะต้องราบเรียบต่อเนื่องตลอดพื้นผิว2.13 การบิดทำให้ผิดรปู ร่างตามแนวยาวของไม้ไม่อนญุ าตให้ใช้ เช่น จุดตดั ของระนาบประกอบด้วยด้านแบนทีใ่ ช้ในการเล่น จะต้องขนานกบั กับด้านแบนในส่วนของด้ามไม้ตามเส้น C-C2.14 อนญุ าตให้ส่วนของด้ามจับ โค้ง งอ ยืน่ ออกมาจากเส้น A แต่ไม่เกินเส้น B หรือ จับ โค้ง งอยื่นออกมาจากเส้น A1 แต่ไม่เกินเส้น B12.15 ความโค้งตามแนวยาวของไม้จะต้องราบเรียบต่อเนื่องตามแนวยาวทั้งหมด ต้องเกิดขึ้นตามแนวด้านหน้าหรือด้านหลงั ของไม้แต่ต้องไม่ทั้งสองด้าน และจำกดั ความลึกที่ 25 มม. จดุ สงู สุดต้องไม่ชิดกบั ฐานของหวั ไม้ (เส้น X ในรูปที่ 3) มากกว่า 200 มม. ความโค้งทีห่ ลากหลายไม่อนญุ าตกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 46
ไม้วางลงบนพื้นราบโดยให้หน้าไม้ควำ่ ลงตามธรรมชาติ (ตามรูปที่ 5)อปุ กรณ์ทีแ่ สดงในรูปที่ 5 คือที่ใช้ในการวัดโค้งและความลาดเอียง ทีซ่ ึง่วางอยู่บนพื้นระนาบทีใ่ ช้ทดสอบ ปลายสูง 25 มม. จะต้องไม่ลอดผ่านอย่างสะดวกมากกว่า 8 มม.ในส่วนใด ๆ ของไม้2.16 สันไม้และด้านทีไ่ ม่ใช้ในการเล่นจะต้องกลมและราบเรียบต่อเนื่อง ส่วนแบนของขอบหรือด้านหลังไม้ไม่อนญุ าต พื้นผิวที่เปน็ คลืน่ ขรขุ ระ ด้านหลังของด้ามจับอนุญาตให้ความลึกไม่เกิน 4 มม. และห้ามไม่ให้มีพื้นผิวทีเ่ ปน็ คลืน่ ขรุขระ ด้านหลงั ของหัวไม้2.17 รวมทั้งส่วนประกอบใด ๆ ที่ติดอยู่กบั ไม้ ไม้จะต้องลอดผ่านห่วงที่มีเส้นผ่านจุดศูนย์กลาง51 มม.2.18 น้ำหนกั รวมของไม้จะต้องไม่เกิน 737 กรมั ความยาวของไม้วัดจากด้านบนของทีจ่ บั ถึงด้านล่างของหวั ไม้ จะต้องมีความยาวไม่เกิน 105 ซม.กติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 47
2.19 ความเรว็ ของลกู ต้องไม่มากกว่า 98% ของความเร็วหัวไม้ อยู่ภายใต้เงือ่ นไขของการ ทดสอบ ความเร็วของลูกจะถูกกำหนดขึ้นในการทดสอบมากกว่า 5 คร้ัง ที่ความเรว็ ของไม้ 80 กม./ชม. ในห้องปฏิบตั ิการซึง่ ได้รบั การรับรองจาก สหพันธ์ฮอกกี้ฯ ความเร็วของลกู จะถูกคำนวณจากเวลาทีล่ ูกผ่านจุดสอง จดุ และแสดงเปน็ อตั ราส่วนกบั ความเรว็ ของไม้ทีร่ ะบุไว้ สหพนั ธ์ฮอกกี้ ฯ ได้อนุมติให้ใช้ลกู ทีผ่ ่านการทดสอบในห้องปฏิบัติการทีอ่ ุณหภูมิ 20ºC และ ความชื้นสมั พัทธ์ประมาณ 50% 2.20 ไม้จะต้องมีความยาวที่ราบเรียบ ไม้ที่อาจจะก่อให้เกิดอนั ตรายในการใช้จะไม่อนญุ าตให้ลงเล่น 2.21 ไม้ทีต่ ิดสิง่ ต่าง ๆ เพิ่มเติมอาจจะทำจากวสั ดุอื่น ๆ ทีไ่ ม่ใช่ชิ้นส่วนโลหะ หรือส่วนประกอบ โลหะใด ๆ ให้เป็นไปอย่างเหมาะสมสำหรับจดุ ประสงค์การเล่นฮอกกี้ และไม่ได้เปน็ อันตราย 2.22 การใช้เทปหรือเรซิน่ ทีไ่ ด้รบั อนุญาต โดยมีเงือ่ นไขว่าพื้นผิวของไม้จะต้องราบเรียบ และ ตรงกบั ข้อกำหนดของไม้กติกาขอ้ ที่ 3ลูกฮอกกี้ (Ball) 3.1 บอล 3.1.1 ลูกบอลจะต้องเป็นทรงกลม 3.1.2 มีเส้นรอบวงระหว่าง 224 มม. และ 235 มม. 3.1.3 น้ำหนกั อยู่ระหว่าง 156 กรมั และ 163 กรัม 3.1.4 ทำจากวสั ดุใดๆที่มีสีขาว (หรือสีที่มีการตกลงกนั ซึ่งต่างจากพื้นสนาม) 3.1.5 พื้นผิวราบเรียบ และแขง็ รอยขรขุ ระจะต้องได้รับอนุญาตกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 48
กติกาข้อที่ 4อุปกรณข์ องผรู้ กั ษาประตู (Goalkeeper’s equipment) 4.1 เครือ่ งป้องกนั แขน 4.1.1 แต่ละชนิดมีความกว้างสูงสุด 228 มม. และมีความยาว 355 มม. เมื่อวางด้าน ฝ่ามือด้านแบนขึ้น 4.1.2 ต้องไม่มีการเพิ่มเติมสิง่ ใด ๆ ทีจ่ ะแทนไม้ เมือ่ ไม่มีไม้อยู่ในมือ 4.2 เครือ่ งป้องกนั ขา: แต่ละชนิดมีความกว้างสูงสุด 300 มม. เมื่ออยู่ในขาของผู้รกั ษาประตู ขนาดของเครื่องป้องกันมือ และเครือ่ งป้องกันขา จะถกู วดั โดยใช้มาตรวดั ทีม่ ีขนาดเท่ากบั อปุ กรณ์ทีเ่ กีย่ วข้องกติกาฮอกกี้ในร่ม โดยสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย ประจำปี2561 หน้า 49
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: