Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมะบรรยาย ระลึกถึงความตายสบายนัก

ธรรมะบรรยาย ระลึกถึงความตายสบายนัก

Description: ธรรมะบรรยาย ระลึกถึงความตายสบายนัก

Search

Read the Text Version

ร ะ ลึ ก ถึ ง ค ว า ม ต า ย ส บ า ย น ั ก แล้วใช้ปากดันตัวอยู่พักหน่ึง  เขาก็ท�ำตัวอ่อนไปอ่อนมา ขณะเดยี วกนั กบ็ รกิ รรมวา่  “พทุ โธ” ไปดว้ ย หมเี หน็ ชายแก่ ไมก่ ระดุกกระดกิ  คิดว่าเขาตายแน่แลว้  จึงเดินจากไป ชายแก่รอดตายได้เพราะท�ำตัวเหมือนคนตาย  แต่ ค�ำพูดของพระอาจารย์ลีมีความหมายลึกกว่านั้น  ในแง่ หนึ่งคือ  อยู่อย่างปล่อยวางทุกสิ่ง  ไร้ความยินดียินร้าย ในโลกธรรม ไมอ่ าลยั ในชวี ติ  ผทู้ ท่ี �ำใจไดเ้ ชน่ น ี้ แมเ้ ผชญิ ความตายตอ่ หนา้  ยอ่ มมจี ติ สงบ ความทกุ ขท์ รมานมอิ าจ ยำ่� ยบี ฑี าได ้ เทา่ กบั วา่ อยเู่ หนอื ความตาย ลกึ ลงไปกวา่ นน้ั ก็คือ  อยู่อย่างไม่มีตัวกูของกู  พร้อมจะตายทุกเมื่อ  ด้วย เหตนุ ้ีความตายจงึ ทำ� อะไรไมไ่ ด ้ คอื  “พ้นตาย” นนั่ เอง การเจรญิ มรณสต ิ คอื  การฝกึ ใจใหพ้ รอ้ มตายทกุ เมอื่ เปน็ วถิ สี กู่ ารตายกอ่ นตายและการพน้ ตาย แมด้ า้ นหนง่ึ จะ คลา้ ยกบั การท�ำตนเหมอื นคนตาย แตอ่ กี ดา้ นหนง่ึ คอื การ 100

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล ปลุกใจให้ตื่นจากความประมาทเพื่ออยู่อย่างมีชีวิตชีวา โปร่งโล่ง  เบาสบาย  เป็นชีวิตท่ีเปี่ยมด้วยความพากเพียร รับผดิ ชอบ แตก่ พ็ ร้อมปลอ่ ยวางในเวลาเดยี วกนั มรณสติเม่ือบ�ำเพ็ญอย่างสม่�ำเสมอ  ย่อมช่วยให้ เกดิ ปญั ญาตระหนกั รวู้ า่ ความตายมไิ ดเ้ ปน็ ปฏปิ กั ษก์ บั ชวี ติ แต่เป็นส่ิงที่สามารถหนุนเสริมและขับเคล่ือนชีวิต  ให้เป็น ไปในทางท่ีงอกงามได้  กล่าวอย่างถึงท่ีสุดแล้ว  ชีวิตกับ ความตายนน้ั  หาไดแ้ ยกจากกนั ไม ่ หากดำ� รงอยคู่ วบคกู่ บั ชวี ติ ตลอดเวลา ดงั มพี ทุ ธพจนว์ า่  “ความแกม่ อี ยใู่ นความ เปน็ หนมุ่ สาว ความเจบ็ ไขม้ อี ยใู่ นความไมม่ โี รค ความตาย ก็มีอยู่ในชีวิต”  ส�ำหรับผู้ท่ีเข้าถึงสัจธรรมดังกล่าว  ความ ตาย  จึงไม่ใช่ศัตรู  หากเป็นส่วนหน่ึงของธรรมดาที่สบตา ไดอ้ ยา่ งสบายใจ ❧ 101



การเตรียมตวั ตายท่ดี ีทีส่ ดุ  คอื   การอยู่อย่างพร้อมท่จี ะตายอยเู่ สมอ  นน่ั คอื  ทำ� ความดีทกุ ขณะทีม่ ีโอกาส และฝกึ ใจให้รู้จักปล่อยวาง  ขณะเดียวกันก็ต้อง ระลกึ ถงึ ความตายอยเู่ ปน็ นจิ

บทพจิ ารณา สำ� หรบั เจรญิ มรณสติ

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล ปจั ฉิมพทุ โธวาท หันทะทานิ ภกิ ขะเว อามันตะยามิโว ดกู ่อนภิกษุทั้งหลาย บัดน้ ี เราขอเตือนทา่ นทั้งหลายว่า วะยะธัมมา สงั ขารา สงั ขารทงั้ หลาย มคี วามเส่ือมไปเป็นธรรมดา อัปปะมาเทนะ  สัมปะเทถะ ท่านทั้งหลาย จงท�ำความไมป่ ระมาทใหถ้ ึงพรอ้ มเถิด อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจั ฉมิ า วาจา น้เี ป็นพระวาจามใี นครง้ั สุดท้าย ของพระตถาคตเจา้ 105

ร ะ ลึ ก ถ ึ ง ค ว า ม ต า ย ส บ า ย นั ก บงั สกุ ุลตาย อะนิจจา วะตะ สงั ขารา สงั ขารทัง้ หลายล้วนไมเ่ ทยี่ ง อปุ ปาทะวะยะธัมมิโน มกี ารเกดิ ขนึ้ และความเสอื่ มไปเป็นธรรมดา อปุ ปัชชติ วา นริ ชุ ฌันติ เกดิ ขึ้นแลว้ ยอ่ มดับไป เตสงั  วปู ะสะโม สุโข ความสงบระงบั สงั ขารเหลา่ นน้ั เป็นความสขุ 106

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   วิ ส า โ ล บทพิจารณาสังขาร สัพเพ  สังขารา  อะนิจจา สงั ขารคือรา่ งกาย จิตใจ แลรูปธรรม นามธรรม ท้ังหมดท้ังสิ้นมันไม่เทย่ี ง เกิดขึน้ แล้ว ดบั ไป  มแี ล้วหายไป สัพเพ  สังขารา  ทุกขา สังขารคอื รา่ งกาย จติ ใจ แลรปู ธรรม นามธรรม ทง้ั หมดท้งั สิน้  มันเป็นทกุ ข์ ทนยาก เพราะเกดิ ขนึ้ แลว้ แก ่ เจบ็  ตายไป สัพเพ ธมั มา อะนตั ตา ส่งิ ทง้ั หลายทงั้ ปวง ทัง้ ทเ่ี ปน็ สงั ขาร และมิใช่สังขาร 107

ร ะ ล ึ ก ถึ ง ค ว า ม ต า ย ส บ า ย นั ก ทงั้ หมดทั้งสน้ิ  ไม่ใช่ตวั  ไมใ่ ช่ตน ไม่ควรถอื ว่าเรา ว่าของเรา ว่าตัววา่ ตนของเรา อะธวุ งั  ชวี ิตงั ชีวิตเปน็ ของไม่ย่งั ยืน ธวุ ัง มะระณงั ความตายเปน็ ของยัง่ ยืน อะวัสสัง มะยา มะรติ ัพพัง อันเราจะพึงตายแนแ่ ท้ มะระณะปะรโิ ยสานัง เม ชีวติ งั ชวี ติ ของเรามคี วามตาย  เป็นท่ีสดุ รอบ ชวี ติ ตงั  เม อะนิยะตัง ชวี ติ ของเราเปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง มะระณัง เม นยิ ะตงั ความตายของเราเปน็ ของเทีย่ ง วะยะ ควรที่จะสงั เวช อะยงั  กาโย ร่างกายน้ี อะจริ ัง มิไดต้ ัง้ อยู่นาน อะเปตะวญิ ญาโณ ครัน้ ปราศจากวญิ ญาณ 108

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล ฉฑุ โฑ อันเขาทิง้ เสยี แลว้ อะธิเสสสะต ิ จกั นอนทับ ปะฐะวิง ซง่ึ แผ่นดิน กะลิงคะรัง อวิ ะ ประดุจวา่ ท่อนไม้ และทอ่ นฟนื นริ ตั ถงั หาประโยชน์มไิ ด้ 109

ร ะ ลึ ก ถ ึ ง ค ว า ม ต า ย ส บ า ย นั ก อภณิ หปัจจเวกขณ์ ๕ สตรี บุรษุ  คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ควรพิจารณาเนอื งๆ ว่า เรามคี วามแกเ่ ป็นธรรมดา ไมล่ ่วงพน้ ความแก่ไปได้ เรามคี วามเจบ็ ไขเ้ ปน็ ธรรมดา ไมล่ ว่ งพน้ ความเจบ็ ไขไ้ ปได้ เรามีความตายเป็นธรรมดา ไมล่ ว่ งพ้นความตายไปได้ เราจะต้องพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจท้งั สิ้น เรามีกรรมเปน็ ของตน เป็นทายาทแหง่ กรรม มกี รรมเป็นก�ำเนดิ  มกี รรมเป็นเผ่าพันธ์ุ มกี รรมเปน็ ท่ีพึง่  เราท�ำกรรมใด ดีก็ตาม ชั่วกต็ าม จักตอ้ งเปน็ ทายาทของกรรมนน้ั 110

พ ร ะ ไ พ ศ า ล   ว ิ ส า โ ล ประวตั ิ พระไพศาล วิสาโล เป็นชาวกรุงเทพฯ  เกิดเม่ือปี  พ.ศ.  ๒๕๐๐  ส�ำเร็จ การศึกษาช้ันมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ  และส�ำเร็จการ ศึกษาข้ันอุดมศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  คณะ ศลิ ปะศาสตร์ อุปสมบท  ณ  วัดทองนพคุณ  กรุงเทพมหานคร เม่ือปี  ๒๕๒๖  เรียนกรรมฐานจากหลวงพ่อเทียน  จิตฺตสุโภ วดั สนามใน กอ่ นไปจำ� พรรษาแรก ณ วดั ปา่ สคุ ะโต อ.แกง้ ครอ้ จ.ชัยภูมิ  โดยศึกษาธรรมกับหลวงพ่อค�ำเขียน  สุวณฺโณ ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต  แต่ส่วนใหญ่พ�ำนักอยู่ท่ี 111111

ร ะ ลึ ก ถ ึ ง ค ว า ม ต า ย ส บ า ย น ั ก วดั ปา่ มหาวนั  อ.ภเู ขยี ว จ.ชยั ภมู  ิ โดยจ�ำพรรษาสลบั ระหวา่ ง วดั ป่าสคุ ะโต กับวัดป่ามหาวนั พระไพศาล  วิสาโล  เป็นภิกษุรุ่นใหม่ที่มีคุณูปการต่อ สังคมไทย  มีบทบาทหลายทาง  ท้ังในฐานะพระนักกิจกรรม นักปฏิบัติภาวนา  นักวิชาการ  นักคิด  ท่านมีคุณสมบัติท้ัง ดา้ นปญั ญา ภาวนา และการรบั ใชส้ งั คม อาท ิ กจิ กรรมดา้ น สนั ตวิ ธิ  ี การสมานไมตรหี รอื ไกลเ่ กลยี่ ความขดั แยง้  กจิ กรรม อาสาสมัครด้านการศึกษา  การรณรงค์ให้คนหันมาท�ำบุญ ในรูปแบบที่มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับแก่นแท้ของ พุทธศาสนา และงานกจิ กรรมอ่นื ๆ อีกมากมาย นอกจากการจัดอบรมปฏิบัติธรรมและการพัฒนา จริยธรรมแล้ว  พระไพศาลยังมีผลงานหนังสือและบทความ ทง้ั งานเขยี น และงานแปลจ�ำนวนมาก 111122

ไม่วา่ จะหลกี หนีให้ไกลเพยี งใด เราทุกคนก็หนีความตายไมพ่ น้ ในเมือ่ จะต้องเจอกบั ความตายอยา่ งแนน่ อน แทนทจี่ ะวิง่ หนคี วามตายอย่างไรผ้ ล จะไม่ดีกว่าหรอื   หากเราหนั มาเตรยี มใจรบั มอื กบั ความตาย www.kanlayanatam.com Facebook : kanlayanatam