ถลช้วา้นย ว.วชริ เมธี สุข สดชื่น รื่นเย็น ด้วยปรัชญาเซนอันลุ่มลึก
ธรรมะนิพนธ ์ ลำดับท่ี ๗ ชาล้นถว้ ย ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนกั หอสมดุ แหง่ ชาติ ว.วชริ เมธี. ชาลน้ ถว้ ย.-- นนทบุรี : ปราณ, ๒๕๕๕. ๒๔๘ หน้า. ๑. นิทานคติธรรม. ๒. นิกายเซน. I. ชอ่ื เรือ่ ง. ๒๙๔.๓๑๘๘๓ ISBN 978-616-7539-19-5 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์ปราณ ๙๕/๘ ซอยแก้วอินทร์ ถนนกาญจนาภเิ ษก ตำบลเสาธงหนิ อำเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี ๑๑๑๔๐ โทรศพั ท ์ ๐-๒๑๙๕-๐๕๘๑ โทรสาร ๐-๒๑๙๕-๐๕๘๒ www.pranbook.com เจ้าของ ผ้พู ิมพ์ผ้โู ฆษณา บริษัท ปราณ พับลิชช่งิ จำกัด ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ชินวัฒน์ ชนะหมอก กรรมการผู้จัดการ สำนักพิมพ์ เริงฤทธิ์ ธิชาญ ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย พันตำรวจตรี อภิเษก ปิศโน บรรณาธิการบริหาร เทวัญกานต ์ มงุ่ ปน่ั กลาง บรรณาธกิ ารฝา่ ยใน ฐติ ริ ตั น ์ ศริ เิ มอื ง บรรณาธกิ ารฝา่ ยนอก รฐั วรรณ พฒั นรชั ตอดลุ ฝา่ ยประสานงานสำนกั พมิ พ ์ อาภรณ์ พัฒนรัชตอดุล เลขากองบรรณาธิการ กนกภรณ์ พรหมดนตรี พิสูจน์อักษร รวีโรจน์ คำสุข, วัชริศ ศรีแสงแก้ว คอมพวิ เตอร ์ อโนชา พธุ นอ้ ย ฝา่ ยศลิ ปกรรม แดนชยั วรรณศริ มิ งคล, รงุ่ นภา จติ จราด ภาพประกอบ ชยั ณรงค ์ วริ ยิ านนท์ สำนักงาน บริษัท ปราณ พับลิชชิ่ง จำกัด ๙๕/๘ ซอยแก้วอินทร์ ถนนกาญจนาภิเษก ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบุร ี ๑๑๑๔๐ โทรศัพท ์ ๐-๒๑๙๕-๐๕๘๑ โทรสาร ๐-๒๑๙๕-๐๕๘๒ E-mail: [email protected]
¶ÅªŒÇÒŒ¹Â Ç. Ç ªÔ à à Á ¸Õ
ปรัชญาเซน นับเปนคำสอนที่ธรรมดาและเรียบงาย แตในขณะ เดียวกันก็แฝงไวดวยความหมายที่ลึกซึ้ง ใหแงคิด เขาใจงาย ชวยพัฒนา ในเรื่องของอารมณ ความนึกคิด และสามารถใชในการดำเนินชีวิตไดจริง หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ใชในการถายทอดมรดกทางภูมิปญญาของเซน นั้นก็คือ “นิทานเซน” ซึ่งนับเปนเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพมากอยางหนึ่ง ทีจ่ ะทำใหคนเขาถงึ ปญญาและวถิ ชี ีวติ แบบเซน หากใครที่เคยศึกษาหรือไดอานหนังสือเกี่ยวกับปรัชญาเซนมาบาง คงเคยผานหูกับวลีที่วา “ชาลนถวย” ซึ่งเปนนิทานเซนเรื่องหนึ่งที่ใหแงคิด ที่สำคัญวามนุษยเรานั้นมักจะเต็มไปดวยความเชื่อมั่นในความรูของตน ซึ่ง เปรียบเสมือนนํ้าชาซึ่งมีอยูเต็มถวย ทำใหไมสามารถเติมอะไรใหม ๆ ลงไป ไดอ กี เพราะในท่สี ดุ แลว สงิ่ ทเี่ ตมิ เขาไปใหมมันกจ็ ะไหลลน ออกมานอกถวย อยูดี ความหมายทีซ่ อ นอยใู นนทิ านเร่อื งนกี้ ค็ ือ การทค่ี นเราจะเรยี นรอู ะไร ใหม ๆ ใหเขาใจถองแทไดนั้น จะตองละความเปนตัวตน ละทิฏฐิเดิมที่มีอยู ในจิตใจเสียกอน มิฉะนั้นแลว สมองและจิตจะไมวางพอที่จะรับความรู
หรือความเห็นอื่น ๆ ซึ่งเป็นของใหม่ได้ และในขณะเดียวกัน แม้ภาชนะของ บางคนอาจไม่ใช่ถ้วยชาธรรมดา แต่เป็นภาชนะที่ใหญ่กว่านั้น เช่น ขันนํ้า อา่ งนา้ํ หรอื โอง่ กต็ าม แตจ่ ะมปี ระโยชนอ์ ะไร หากภาชนะเหลา่ นน้ั ไมม่ ที ว่ี า่ ง พอจะให้เราสามารถใสส่ งิ่ ใหม่ ๆ แมเ้ พียงน้อยนดิ ได้ หนังสือ “ชาล้นถ้วย” เล่มนี้ รวมหลากนิทานเซนที่แสดงถึงความ ลุ่มลึกทางจิตวิญญาณ พร้อมทั้งให้ความบันเทิงสนุกสนานเพลิดเพลิน และ แง่คิดที่มีประโยชน์ ในรูปแบบของการเล่าผ่านตัวหนังสือที่เข้าใจง่ายจาก นักเขยี นท่รี จู้ กั กันดี คือทา่ น ว.วชริ เมธ ี หนังสือแบ่งออกเป็น ๓ ภาค ได้แก่ ภาค ๑ เข้าใจเซน นำเสนอ เกย่ี วกับประวัติความเปน็ มาของเซน ภาค ๒ นทิ านปรชั ญาเซน เปน็ นิทาน เซนดั้งเดิมทั้งเรื่องจริงและเรื่องเล่าที่สืบทอดต่อกันมาจากดินแดนแห่งเซน คือ ประเทศจีนและญี่ปุ่น ส่วน ภาค ๓ คือ เซนร่วมสมัย เป็นนิทานที่ให้ แง่คิดสไตล์เซน ทันยุค ทันสมัย ทันเหตุการณ์ นอกจากนี้ “ชาล้นถ้วย” ยังมีภาพประกอบสวยงามเป็นภาพวาดลายเส้นพู่กันจีนสื่อแทนความหมาย นิทานแต่ละเรื่อง หากวันนี้ถ้วยชาของคุณยังมีที่ว่างพอ ขอให้ลองหยิบ “ชาล้นถ้วย” เล่มนี้มาอ่านดู อาจจะเพิ่มปริมาณชาในถ้วยให้คุณได้บ้าง แต่ขออย่างเดียว อย่าทำใหช้ ามันลน้ ถว้ ยออกมาก็พอ บรรณาธกิ ารสำนักพมิ พ์
พทุ ธศาสนา นกิ ายเซนเปน แขนงหนง่ึ ของพทุ ธศาสนาทแ่ี ตกหนอ ตอใบออกไปจากพุทธศาสนาแบบเดิมในประเทศอินเดีย ผานจีน ไปเจริญ งอกงามอยูทามกลางดงซากุระ กิโมโน โชกุน และชินโต ในประเทศญี่ปุน สดุ ทา ยสลายเหลย่ี ม ลบมมุ จนเกดิ ความกลมกลอ มลงตวั และเรยี กตวั เอง วาเปน “เซน” เต็มรปู แบบ ทกุ วนั นพ้ี ทุ ธศาสนานกิ ายเซนเปน ทร่ี จู กั ไปทว่ั โลก โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในสหรัฐอเมริกามีผูสนใจศึกษาเซนและมีศูนยศึกษาเซนกระจายอยูทั่วไป ยง่ิ ในยคุ โลกาภวิ ตั น เซนยง่ิ ไดร บั ความนยิ มมากขน้ึ เพราะไดค นของโลกอยา ง สตีฟ จอบส คอยเอยอางถึงและนำเอาปรัชญาเรื่องความเรียบงายจากเซน มาประยุกตใชในงานออกแบบนวัตกรรมตระกูลแอปเปล ผลจากการนี้ทำให สาวกของศาสนาแอปเปลพากนั หันมาศกึ ษาเซนเปนการใหญ หากถามวา “เซน” คืออะไร คำตอบที่งายที่สุดดูเหมือนจะมีอยูในคำ นิยามของทานโพธิธรรมผูซึ่งเปนปรมาจารยมีชื่อเสียงที่สุดของนิกายนี้ที่วา เซนคือ... “การถา ยทอดพิเศษนอกคมั ภีร ปราศจากถอ ยคำและสัญลักษณ มุงตรงสหู วั ใจของมนุษย หยั่งลกึ สธู รรมชาติเดิมแทของมนุษยแ ละพระนิพพาน”
วถิ แี หง เซนดำเนนิ ไปภายใตน ยิ ามบททง้ั สป่ี ระการน้ี คลค่ี ลายออกไป กลายเปนรูปแบบและวิธีการอีกมากมาย เชน วัดเซน ศูนยเซน ซาเซน (สมาธิภาวนา) โกอาน (ปริศนาธรรม) พิธีชงชา สวนเซน วัฒนธรรมเซน กระทั่งผลิตภัณฑสไตลเซนที่เต็มไปดวยความงายและความงามอยางไอโฟน ไอพอด ไอแพด เปนอาทิ หากเราเคยใชเทคโนโลยีเหลานี้อยูบางในชีวิต ประจำวันก็แสดงวา เราไดรับเอาวิถีแหงเซนเขามาสูชีวิตแลวทั้งโดยรูตัว และไมรูตัว และเชนเดียวกัน หากมองวาเซนกลายรางไปอยูในนวัตกรรม แหงยุคสมัยได ก็เทากับวา เซนกำลังมีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงโลกดวย เชน เดยี วกนั ตน ฉบบั หนงั สอื “ชาลน ถว ย” เลม น้ี เกดิ จากการรวบรวมและเรยี บเรยี ง ขอเขียนที่วาดวยเซน ที่ผูเขียนเคยเขียนไวตางกรรมตางวาระมาประมวลไว ดวยกัน บางเรื่องเขียนไวเมื่อสิบปที่แลว บางเรื่องเพิ่งเขียนขึ้นมาใหม โดย สวนที่ถือวาเกี่ยวของกับเซนโดยตรงนาจะเปนสวนที่วาดวยนิทานปรัชญาเซน (มีมุมมองของผูเขียนประกอบดวย ซึ่งจะอานเขาคูกันกับนิทานปรัชญาเซน หรือจะอานเฉพาะตัวนิทานโดยขามมุมมองของผูเขียนไปเลยก็ได เพราะเซน ใหเสรีภาพในการตีความอยางเปนอิสระอยูแลว) นอกจากนั้นขอใหอานเปน สวนประกอบ แตก็ถือวามีความเกี่ยวของกัน เชนสวนที่เกี่ยวกับเรื่องราว ของผูนำทางจิตวิญญาณของไทยบางทาน สวนจะเกี่ยวของอยางไรก็คงตอง ท้ิงไวใ หผูอานลองเชื่อมโยงเอาเอง หวงั วา “ชาลน ถว ย” คงเปน ชาที่มรี สชาติอยูบา งไมมากก็นอ ย ว.วชิรเมธี บนรถไฟชนิ คนั เซ็นโอซากา-ฮโิ รชมิ า ประเทศญี่ปนุ ๒๗ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕
พุทธศาสนานกิ ายเซน ๔ กำเนดิ ๘ ลำดบั พระสงั ฆนายก ๑๐ พระโพธธิ รรม - ปฐมาจารย์นกิ ายเซนในจนี ๑๓ เส้นทางนิกายเซน ๑๗ พืน้ ฐาน ๕ ประการ ๒๒ ปริศนาธรรมผา่ นนทิ านเซน ๒๔ ประวตั ิของท่านเว่ยหลา่ ง ๒๙ หัวใจแหง่ คำสอนของท่านเวย่ หลา่ ง ๓๖ ประวตั ิของทา่ นฮวงโป ๓๙ หัวใจแห่งคำสอนของทา่ นฮวงโป ๔๑ วิธีการหลากหลายแต่เปา้ หมายเป็นหนง่ึ เดยี ว ๔๕ ชาล้นถว้ ย ๕๓ คำถามเกา่ แก ่ ๕๗ ผู้ควรฉนั ข้าวของชาวบ้าน ๖๑ ความเหน็ “ท่วม” ความร ู้ ๖๕ ย่งิ กว่าเสือ ๖๙ เตา่ ในลำธาร ๗๓ คณุ ยงั ไม่วางอกี หรอื ๗๕ พรอันประเสรฐิ ๗๙ กระทบ - ไม่กระเทอื น ๘๕ ปาฏหิ ารยิ ท์ แ่ี ท้ ๘๙ ธรรมดาของธรรมชาต ิ ๙๕ ไม่เรว็ กช็ ้า...เขามาแน ่ ๙๙
มนั ถูกของมนั อย่แู ลว้ ๑๐๓ เหนอื กรอบกรงของรูปแบบ ๑๐๗ ถา้ จะรัก ก็จงรักอย่างเปิดเผย ๑๑๓ ไก่ไม่ขัน ตะวันไม่ข้ึน ๑๑๙ การศึกษาเร่ิมตน้ เมอื่ คน... ๑๒๕ เธอไม่ใช่มนั มนั ก็ไมใ่ ช่เธอ ๑๒๙ ความงามของความว่าง ๑๓๕ ศลิ ปะแห่งการใหอ้ ภยั ๑๔๓ ศลิ ปะการลงจากหลังมา้ ๑๔๗ แกว้ มณีโชติรส ๑๕๓ สลายอัตตาแบบพุทธทาส ๑๖๑ ไม้บรรทดั เรยี กพ ี่ ๑๖๕ ตายแลว้ ไปไหน ๑๖๙ พระนางพญา ๑๗๓ รา้ ยกว่าเสือ ๑๗๗ คำ ๒ คำ ๑๘๕ ศลิ ปะการนัง่ อยูใ่ นหัวใจคน ๑๙๑ ศลิ ปะการใช้คน ๑๙๗ ปศี าจกนิ ความโกรธ ๒๐๓ สัญชาตญาณแมงปอ่ ง ๒๐๙ เศรษฐีกบั สเี ขยี ว ๒๑๕ กฎทกุ กฎมขี อ้ ยกเวน้ ๒๑๙ ถือ (ก)็ หนกั วาง (ก็) เบา ๒๒๓ ด่งั เม็ดทราย ๒๒๗ ประวตั ิและผลงานว.วชริ เมธี ๒๓๒
ñ ࢌÒã¨à«¹ ૹÁÔ㪋ÍÐäÃÍ×è¹ ËÒ¡¤×ÍÁÃäÇÔ¸ÕÍѹ¹Óä»ÊÙ‹ÀÒÇÐÊÐÍÒ´ ÊÇ‹Ò§ ʧº ÊÁºÙó ÍÔÊÃÀÒ¾ ËÃ×͹Ծ¾Ò¹ Íѹ໚¹ÀÒÇÐÍØ´Á¤μÔã¹¾Ãоط¸ÈÒʹҷÕèàÃÒÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñ¹´ÕÍÂÙ‹áÅŒÇ
¾Ø·¸ÈÒʹҹԡÒÂૹ p เซน ( 㿆 ) เปนชื่อภาษาญี่ปุนของพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน สืบรากเหงามาจากพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และถือกำเนิดที่ประเทศจีน จากนั้นผานมาทางเกาหลีและเขาสู ประเทศญี่ปุน โดยไดรับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื๊อและลัทธิเตาจาก ประเทศจีนในชวงระหวางที่เผยแผมาสูญี่ปุน การฝกตนของนิกาย เซน เนน ท่กี ารน่งั สมาธิเพอื่ การรแู จง ในกลางครสิ ตศ ตวรรษท่ี ๒๐ นอกจากเซนจะเปน สาขาหนง่ึ ของพทุ ธศาสนาแลว เซนยงั เปน ปรชั ญาในการดำรงชวี ติ โดยแสดง ถึงแนวทางการใชชีวิต การทำงาน และศิลปะ ซึ่งยึดถือหลัก ปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธเจา ตามหลักของอริยสัจ ๔ และมรรค ๘ เปน ทร่ี จู กั กนั ทว่ั โลก รวมถงึ เซนยงั ไดร บั การยอมรบั จากบุคคลที่ไมใชพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะอยางยิ่งบุคคลนอก ทวีปเอเชียที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบัติธรรมไดและ ไดเ กดิ นิกายสายยอยออกมา (ท่เี รยี กวาครสิ เตยี นเซน) 4 ªÒÅŒ¹¶ŒÇÂ
กลาวเฉพาะคำวา “เซน” (Zen) เปนคำในภาษาญี่ปุนซึ่ง มาจากภาษาจีนวา ฉาน (Ch'an) หรือการทำสมาธิ อนั ตรงกบั คำ ตนเคาในภาษาสันสกฤตวา ธฺยาน (Dhyana) สวนในภาษาอื่นที่ ตางออกไปก็มีสำเนียงเรียกขานนิกายนี้ใกลเคียงกัน และแตละคำ กม็ ีความหมายไมแ ตกตา งกัน นนั่ คือ ภาษาบาลี เรียก ฌาน ภาษาสันสกฤต เรยี ก ธยฺ าน ภาษาจีน เรยี ก ฉาน ภาษาจนี แตจ ๋ิว เรยี ก เสยี่ มจง ภาษาญี่ปนุ เรียก เซน ภาษาเกาหลี เรียก ซอน ภาษาไทย เรียก เซน ภาษาอังกฤษ เรยี ก ZEN ในพระไตรปฎกของพระพุทธศาสนาฝายเถรวาท มีพุทธ- วจนะที่แสดงใหเห็นรองรอยของคำวา “เซน” พรอมทั้งความหมาย ปรากฏอยใู นคมั ภรี ข ุททกนกิ ายธรรมบท ดงั น้ี 5
นตถฺ ิ ฌานํ อปฺ สสฺ นตถฺ ิ ปฺา อฌายิโน ยมฺหิ ฌานฺจ ปฺา จ ส เว นพิ ฺพานสนฺตเิ ก ฌาน (เซน) ไมม ีแกผูไ มมปี ญญา ปญ ญาไมม แี กผูไมม ฌี าน ฌานและปญ ญามีในผใู ด ผนู ั้นยอ มใกลพ ระนิพพาน คำวา “เซน” ก็ดี “นิกายเซน” ก็ดี “ภูมิปญญาหรือปรัชญา ของพุทธศาสนานิกายเซน” ก็ดี หากสืบคนไปถึงรากเหงา เรา ก็จะพบวาไมใชของใหมแตอยางใด โดยแทที่จริงแลว เซนคือ ปรชี าญาณทม่ี อี ยใู นพระพทุ ธศาสนาแบบเดมิ (กอ นทจ่ี ะแตกออกมา เปนนิกายตาง ๆ) ที่พระพุทธองคทรงคนพบ แลวนำมาเผยแผแก เวไนยนกิ รทง้ั โลกนั่นเอง ความแตกตางอันถือเปนลักษณะเฉพาะนั้น เปนเรื่องของ “วิธีการ” และกระบวนการในการเผยแผและการถายทอดเทานั้น เมื่อวาโดยสารัตถะ เซนก็มิใชอะไรอื่น หากคือมรรควิธีอันนำไปสู 6 ªÒÅŒ¹¶ŒÇÂ
ภาวะสะอาด สวาง สงบ สมบูรณ อิสรภาพ หรือนิพพาน อัน เปนภาวะอุดมคติในพระพุทธศาสนาที่เรารูจักกันดีอยูแลว ดัง คำของทานพุทธทาสภิกขุผแู ปลสตู รของทา นเวยหลาง ทีว่ า “พทุ ธศาสนาไมม อี ยา งอน่ื อยา งไทย อยา งแขก หรอื อยา ง ฝรั่งหรอก จะมีก็แตพุทธศาสนาอยางของพระพุทธเจาอยางเดียว เทานั้น แตวาวิธีพูด หรือวิธีบอก หรือวิธีนำใหเขาถึงนั้นตางกัน มากทีเดียว คือ ตางกันตามยุค ตามสมัย และตามถิ่น พุทธ- ศาสนาเปน เรอ่ื งของคนฉลาดอยแู ลว กจ็ รงิ แตค รน้ั เขา ไปในประเทศ จีน สมัยซึ่งคลุงไปดวยกลิ่นไอของเลาจื๊อ ขงจื๊อ ฯลฯ อยูอยาง เต็มที่ แลวจะไปพูดดวยถอยคำอยางเดียวกันกับที่จะพูดใหแก คนที่รูจักแตเพียงเลี้ยงวัวและรีดนมวัวไปวันหนึ่ง ๆ ไดอยางไรเลา ฉะนั้น ถามันมีอะไรผิดกันมากขนาดรูสึกวาหนามือเปนหลังมือ ก็ตาม มันยังเปนเร่อื งเดยี วกันอยนู ่นั เอง...” 7
¡Óà¹Ô´ p จุด กำเนิดของแนวคิดนิกายเซนเกิดขึ้นในสมัยพุทธกาล เมื่อ พระผูมีพระภาคเจาประทับนั่งพรอมกับบรรดาภิกษุอยูที่ภูเขา คชิ ฌกฏู ทา วมหาพรหมไดม าเขา เฝา และถวายดอกไมเ ปน พทุ ธบชู า แดพ ระองค พรอ มกนั นก้ี ไ็ ดก ราบทลู อาราธนาพระองคใ หท รงแสดง พระธรรมเทศนาดวย พระผูมีพระภาคทรงรับดอกบัวนั้นแลวทรงชูขึ้น และ ทอดพระเนตรดอกบัวนั้นดวยอาการนิ่งเงียบอยางยิ่ง มิไดตรัส เทศนาวาอยางไร ที่ประชุมไมมีผูใดเขาใจความหมาย นอกจาก พระมหากัสสปเถระรูปเดียวเทานั้น ที่ยิ้มนอย ๆ อยู พระศาสดา จึงตรัสวา “ดูกอน กัสสปะ ตถาคตมีธรรมจักษุครรภอันถูกตองและ นิพพานจิต ลักษณะที่แทจริงยอมไมมีลักษณะไดมอบไวใหแก เธอแลว ” พระพทุ ธวจนะในเหตกุ ารณน ไ้ี ดร บั การกลา วขานกนั วา เปน 8 ªÒÅŒ¹¶ŒÇÂ
บอเกิดแหงพุทธศาสนานิกายเซน และการที่พระพุทธองคทรง สง ผา นคำสอนแกท า นกสั สปะ (ซง่ึ แสดงออกดว ยการยม้ิ ออกมานน้ั ) ก็ถือเปนการถายทอดคำสอนพิเศษนอกคัมภีรเปนครั้งแรก โดย ไมอาศัยตัวอักษรใด ๆ ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของนิกายเซนที่รับรู กนั โดยทวั่ ไปน่นั เอง เพราะฉะนั้น นิกายนี้จึงนับถือพระมหากัสสปเถระวาเปน ปฐมาจารย และถือวาเปนนิกายวิปสสนาโดยเฉพาะ ไมตองอาศัย ตัวหนังสือหรือปริยัติธรรมใด ๆ ไมอยูในกรอบแหงคำพูดใด ๆ แตชี้ตรงไปยังจุดของจิตใจ เพราะฉะนั้นบางทีจึงมีนามเรียกวา “การเผยแผนอกคำสอน” การที่พระมหากัสสปะผูมีความเปนเลิศในทางปญญาไดรับ สงั ฆาฏจิ วี รของพระพทุ ธองค ทำใหเ กดิ ธรรมเนยี มการสง มอบ จวี ร สังฆาฏิ และบาตร ซึ่งถือเปนสัญลักษณในการสืบทอดตำแหนง พระสังฆปรณิ ายกของนิกายเซน 9
ÅӴѺ¾ÃÐÊѧ¦¹Ò¡ p นบั ตง้ั แตท พ่ี ระมหากสั สปเถระไดเ ปน ปฐมาจารยข องนกิ าย กลา ว กันวา ในอินเดียมีพระสังฆปริณายกของนิกายเซนซึ่งสืบเนื่องกัน ไมข าดสายโดยการมอบหมายตำแหนง ใหก นั ถงึ ๒๘ รปู พระอริย- สงฆสาวกผูซึ่งไดรับการถายทอดชี้ธรรม ดวยวิถีแหงจิตสูจิต แตละรุนจะไดรับมอบบาตร จีวร สังฆาฏิ เปนสัญลักษณสำคัญ ของตำแหนง การถายทอดธรรมดังกลาวมีพระอริยเจาแตละสมัยรับชวง สบื ทอดกนั ลงมาโดยลำดับดังน้ี ๑. พระมหากัสสปเถระ ๒. พระอานนทเถระ ๓. พระสันนวสะเถระ ๔. พระอปุ คปุ ดเ ถระ ๕. พระธรติ กเถระ ๖. พระมจั ฉกะ ๗. พระวสมุ ติ รเถระ ๘. พระพุทธนันทเิ ถระ 10 ªÒÅŒ¹¶ŒÇÂ
๙. พระพทุ ธมิตรเถระ ๑๐. พระปารศวะเถระ ๑๑. พระปุณยยศสั เถระ ๑๒. พระอัศวโฆษ มหาโพธิสัตว ๑๓. พระกบิลเถระ ๑๔. พระนาคารชนุ มหาโพธสิ ัตว ๑๕. พระคณุ เทวเถระ ๑๖. พระราหุลตเถระ ๑๗. พระสงั ฆนันทิเถระ ๑๘. พระสงั ฆยศัสเถระ ๑๙. พระกมุ ารตเถระ ๒๐. พระชยเถระ ๒๑. พระวสพุ ันธเุ ถระ ๒๒. พระมนรู เถระ ๒๓. พระฮักเลนยศัสเถระ ๒๔. พระสินหเถระ ๒๕. พระวสอิ สติ เถระ ๒๖. พระปุณยมติ รเถระ ๒๗. พระปรชั ญาตาระ ๒๘. พระโพธธิ รรม จนมาถงึ สมยั ขององคท ่ี ๒๘ คอื พระโพธธิ รรม (ตก๊ั มอ โจวซอื ) ทา นไดน ำคตขิ องนิกายนม้ี าเผยแผส ่ังสอนในประเทศจีน 11
พระโพธิธรรม-ปฐมาจารย์นิกายเซนในจีน p “พระ โพธธิ รรม” (ชอ่ื ไทย) หรอื “ตะโม ภกิ ข”ุ (ชอ่ื อนิ เดยี ) หรอื ท่าน “ตั๊กม้อ” (ชื่อจีน) เป็นพระภิกษุชาวชมพูทวีป (อินเดีย) ท่าน เกิดเมื่อราว พ.ศ. ๑๐๑๓ เป็นโอรสองค์ที่ ๓ ของพระเจ้าแผ่นดิน แควน้ คนั ธารราษฎร ์ ประเทศอนิ เดยี (ใกลเ้ มอื งมทั ราสหรอื เจนไนใน อนิ เดยี ปจั จบุ นั ) มนี ยั นต์ าสฟี า้ ตง้ั แตอ่ ายยุ งั เยาว ์ ทรงปราดเปรอ่ื ง และแตกฉานในคัมภีร์ของทุกศาสนาและวรรณคดีอักษรศาสตร์ โบราณ เปน็ ปราชญแ์ หง่ ยคุ เมอ่ื พระบดิ าสน้ิ พระชนม ์ พวกพช่ี าย แย่งราชสมบัติกัน ท่านจึงเกิดความเบื่อหน่าย จึงไปศึกษาแสวง ธรรมอยู่กับ พระปรัชญาตาระเถระ ผู้เป็นสังฆปริณายกองค์ที่ ๒๗ แห่งนกิ ายเซน พระปรัชญาตาระได้หยิบลูกแก้วยกขึ้นให้ท่านโพธิธรรม ดูเป็นปริศนา ท่านก็บังเกิดความรู้แจ้งในธรรมจึงอุปสมบทเป็น พระภิกษุ พระปรัชญาตาระเถระได้เรียกประชุมคณะสงฆ์และ ประกาศมอบบาตร จีวร สังฆาฏิ และถ่ายทอดธรรมทั้งหมด
ของพระสัมมาสัมพุทธเจา ใหทานโพธิธรรมเปนพระสังฆปริณายก องคท ่ี ๒๘ พรอ มทง้ั สง่ั ใหท า นโพธธิ รรมนำวถิ ธี รรมของพระพทุ ธเจา เผยแผส ปู ระเทศจีน เมื่อทานโพธิธรรมไดจาริกมาสูประเทศจีน และไดเขาพบ สนทนาธรรมกบั พระเจา เหลยี งบเู ตแหง ราชวงศเ หลยี ง พระโพธธิ รรม ถูกพระจักรพรรดิถามถึงผลานิสงสของบุญกิริยาหลายอยางหลาก ประการทพี่ ระองคทรงส่งั สมมาเปน อนั มากวา เปนประการใด “ตั้งแตขาพเจาครองราชยมา ไดสรางวัดวาอาราม โบสถ วหิ าร และพระคมั ภรี ม ากมาย อกี ทง้ั อนญุ าตใหผ คู นไดบ วช โปรย ทาน ถวายภัตตาหารเจแดพระภิกษุสงฆ ตลอดจนทะนุบำรุง พระศาสนามากมาย ไมทราบวาจะไดรบั กุศลมากนอยเพยี งใด” พระโพธธิ รรมตอบวา “ไมไดบญุ กศุ ลอะไรเลย” พระจักรพรรดิเองไมทรงเขาพระทัยวาที่ทานโพธิธรรมตอบ เชนนั้นหมายความวาอยางไร ทานโพธิธรรมก็ดูเหมือนจะไมได อรรถาธิบายใหลึกซึ้งลงไปยิ่งกวานั้น แตหากเราพอมีพื้นความรู เกี่ยวกับพุทธศาสนาอยูบางแลว ก็คงจะไมแปลกใจในคำตอบของ ทานโพธิธรรม เพราะในทัศนะของเซนหรือปรัชญาสำนักมาธยมิก และ/หรอื แมแ ตห ลกั คำสอนระดบั ปรมตั ถใ นพระพทุ ธศาสนากส็ อน เรื่อง “สุญญตา” หรือ “ความวาง” เอาไวไมนอย เมื่อสรรพสิ่งเปน 14 ªÒÅŒ¹¶ŒÇÂ
“สุญญตา” อยาวาแตบุญกุศลจะไมมีเลย แมแตผูทำบุญกุศลเอง ก็ไมม ี หลงั จากมปี ญ หาทางการสอ่ื สารกบั พระจกั รพรรดเิ หลยี งบเู ต กลา วกนั วา พระโพธธิ รรมเดนิ ทางตอ ไปยงั วดั เสา หลนิ (หรอื อกี ชอ่ื คือ วัดเสี้ยวลิ้มยี่) ณ ภูเขาซงซัว และพำนักเผยแผพุทธศาสนา ในแบบของทานอยูที่วัดนี้ วิธีการของทานก็คือการนั่งสมาธิเงียบ หรือปลีกวิเวกอยูเดียวดาย โดยไมนิยมปริปากสอนใคร แตการที่ ทา นปฏบิ ตั เิ ชน นม้ี ไิ ดห มายความวา ทา นมไิ ดส อน การนง่ั สมาธอิ ยา ง สงบนแ่ี หละคอื การสอน และวธิ กี ารเชน นแ้ี หละคอื “ปจ จตั ตลกั ษณ” อนั โดดเดนของวิธีการสอนแบบเซนประการหนงึ่ ทานโพธิธรรมนั่งสมาธิผินหนาเขาฝาอยูถึง ๙ ป และได มอบหมายธรรมใหแ กฮยุ คอ จนสำเรจ็ เปน นกิ ายเซนขน้ึ กลา วไดว า นอกจากทานจะเปนผูนำพุทธศาสนานิกายเซนมาถือปฏิสนธิและ ลงหลกั ปก ฐานในผนื แผน ดนิ จนี อยา งแนน แฟน แลว ทา นยงั มฐี านะ เปนพระสังฆปริณายกองคที่หนึ่งของพุทธศาสนานิกายนี้ที่มีตน กำเนดิ ในจีนอีกดว ย นอกจากทานโพธิธรรมจะเปนเจาอาวาสคนแรกแหงวัด เสา หลนิ แลว ไมเ พยี งแตค วามรใู นทางธรรมเทา นน้ั ทา นยงั มคี วาม สามารถดานเชิงหมัดมวยเชนกัน เนื่องจากในชวงแรกวัดเสาหลิน 15
ตั้งอยูในปาที่เต็มไปดวยสัตวราย และการที่บรรดาพระผูฝกตน ตองนั่งสมาธินาน ๆ โดยไมไดมีการเคลื่อนไหวรางกาย จึงสงผล ตอสุขภาพไดงาย ทานยังจึงคิดเพลงหมัดมวยขึ้นมาเพื่อใชออก กำลงั กาย และใชป อ งกนั ตวั จากสตั วป า และนน่ั กน็ บั เปน ตน กำเนดิ ของกังฟเู สาหลนิ อันลอื ลั่นในปจ จุบัน 16 ªÒÅŒ¹¶ŒÇÂ
ท ผลงานของว.วชิรเมธ ี จดั พมิ พโ์ ดยสำนกั พิมพ์ปราณ กเิ ลส Management กเิ ลส Management 2012 หากโลกาวินาศ ปกแข็ง (Limited Edition) ปกอ่อน ไทยท้งั ชาติจะรับมืออย่างไร ชาล้นถ้วย เรามีเวลาจำกัด กา้ วไปให้ถงึ รักแท ้ หน่งึ คนตาย ล้านคนต่ืน เรียนรู้ทกุ ข์ เปลยี่ นเคราะห์ใหเ้ ปน็ โชค ไดส้ ุขเปน็ กำไร เปลยี่ นโรคใหเ้ ปน็ คร ู
มองลึก นึกไกล ใจกวา้ ง ความทุกข์มาโปรด คิดถกู โปร่งใส ใจสงู ความสขุ โปรยปราย รู้ก่อนตาย สง่ิ ทส่ี ูงกวา่ เงิน ถามจากสมอง ไมเ่ สยี ดายชาตเิ กดิ ตอบจากหวั ใจ ลายแทงแหง่ ความสุข คมคำธรรมออนไลน ์ คนดลใจ
ติดตามผลงานของ ว. ว ชิ ร เ ม ธี พร้อมทั้งประวัติและภารกิจอย่างละเอียดได้ที่ www.dhammatoday.com http://www.facebook.com/v.vajiramedhi http://twitter.com/vajiramedhi บคุ คลหรอื องค์กรใดสนใจส่ังซื้อหนงั สอื เล่มนจี้ ำนวนมากในราคาพิเศษ เพือ่ แจกจ่ายในงานสาธารณกศุ ลต่าง ๆ หรือบรจิ าคใหว้ ัด ห้องสมุด โรงเรียน เดก็ และเยาวชน โปรดตดิ ต่อ บรษิ ทั ปราณ พับลชิ ชงิ่ จำกดั ๙๕/๘ ซอยแกว้ อินทร์ ถนนกาญจนาภเิ ษก ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี ๑๑๑๔๐ โทรศัพท ์ ๐-๒๑๙๕-๐๕๘๑ โทรสาร ๐-๒๑๙๕-๐๕๘๒ E-mail: [email protected] www.pranbook.com
เซน เป็นแขนงหนึ่งของพุทธศาสนาที่แตกหน่อต่อใบออกไปจากอินเดีย ผ่านจีน ไปเจริญงอกงามอยู่ท่ามกลางดงซากุระ กิโมโน โชกุน และชินโต ใน ประเทศญป่ี นุ่ สดุ ทา้ ยสลายเหลย่ี ม ลบมมุ จนเกดิ ความกลมกลอ่ มลงตวั และ เรียกตัวเองว่าเป็น เซน เต็มรูปแบบ ทุกวันนี้ พุทธศาสนานิกายเซนเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ยิ่งในยุคโลกาภิวัตน ์ ยิ่งได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะได้คนของโลกอย่าง สตีฟ จอบส์ คอย เอ่ยอ้างถึง และนำเอาปรัชญาเรื่องความเรียบง่ายมาประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ นวัตกรรมตระกูลแอปเปิล ทำให้สาวกของศาสนาแอปเปิลพากันหันมาศึกษา เซนเป็นการใหญ่ หากถามว่า เซน คืออะไร คำตอบที่ง่ายที่สุดดูเหมือนจะมีอยู่ในคำนิยาม ของทา่ นโพธธิ รรมทวี่ า่ เซน คือ... “การถ่ายทอดพิเศษนอกคัมภีร์ ปราศจากถ้อยคำและสัญลักษณ์ มุง่ ตรงสูห่ วั ใจของมนุษย์ หยง่ั ลกึ ส่ธู รรมชาตเิ ดมิ แท้ของมนุษย์ และพระนพิ พาน” หมวดหศมาวสดนศาา/สธนราร/มธะปรระมยะกุ ปตระยกุ ต *4#/ *4#/ ออกแบอบปอกแบบปแกดนชัยแดวนรชรัยณวศริ ร�มณงคศลิร�มงคล ภาพปกภาพปก ชัยณรชงัยคณ วร�รง�ยคา นวน�รท�ย านนท 139 บาท
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: