การศึกษาองค์ความรู้เรื่อง สคูบขี้ องคอมบูชาเพื่อการทากระเป๋ าสตางค์หนังสัตว์เทียม Kombuchar's Scoby For Making Artificial Leather Wallet คณะผจู้ ดั ทา นาย ณฐั พฒั น์ อิ่นมีกลุ ช้นั ม.5/1 เลขที่ 3 นางสาว นพรดา ลิ้มสุวรรณ ช้นั ม.5/1 เลขที่ 14 นางสาว ปวณี า จิตอารี ช้นั ม.5/1 เลขที่ 16 นางสาว สุภคั จิรา สะสม ช้นั ม.5/1 เลขท่ี 22 นางสาว ปริยากร ณ น่าน ช้นั ม.5/1 เลขที่ 27 ครูท่ีปรึกษา ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ เอกสารฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 37 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563
การศึกษาองค์ความรู้เรื่อง สคูบขี้ องคอมบูชาเพื่อการทากระเป๋ าสตางค์หนังสัตว์เทียม Kombuchar's Scoby For Making Artificial Leather Wallet คณะผจู้ ดั ทา นาย ณฐั พฒั น์ อิ่นมีกลุ ช้นั ม.5/1 เลขที่ 3 นางสาว นพรดา ลิ้มสุวรรณ ช้นั ม.5/1 เลขท่ี 14 นางสาว ปวณี า จิตอารี ช้นั ม.5/1 เลขที่ 16 นางสาว สุภคั จิรา สะสม ช้นั ม.5/1 เลขท่ี 22 นางสาว ปริยากร ณ น่าน ช้นั ม.5/1 เลขที่ 27 ครูท่ีปรึกษา ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ เอกสารฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563
ค ชื่อเร่ือง : การศึกษาองคค์ วามรู้เรื่องสคูบ้ีของคอมบชู าเพอื่ การทากระเป๋ าสตางคห์ นงั สตั วเ์ ทียม ผู้จดั ทา : นาย ณัฐพฒั น์ อิ่นมีกลุ ช้นั ม.5/1 เลขที่ 3 นางสาว นพรดา ลิ้มสุวรรณ ช้นั ม.5/1 เลขที่ 14 นางสาว ปวีณา จิตอารี ช้นั ม.5/1 เลขท่ี 16 นางสาว สุภคั จิรา สะสม ช้นั ม.5/1 เลขที่ 22 นางสาว ปริยากร ณ น่าน ช้นั ม.5/1 เลขที่ 27 ทป่ี รึกษา : ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ปี การศึกษา : 2563 บทคดั ย่อ การศึกษาองค์ความรู้เร่ืองสคูบ้ีของคอมบูชาเพื่อการทากระเป๋ าสตางคห์ นงั สัตวเ์ ทียม มีจุดมุ่งหมาย เพอ่ื เพ่อื การพฒั นาวสั ดุหนงั เทียมจาก scoby ของแบคทีเรียในการหมกั คอมบูชา เพื่อทดแทนการใชห้ นงั สัตว์ เพื่อการออกแบบการทากระเป๋ าสตางคห์ นงั เทียมจาก scoby ของแบคทีเรีย และเพื่อทดสอบคุณสมบตั ิscoby ของแบคทีเรียท่ีนามาผลิตแผน่ หนงั เทียม โดยการหมกั คอมบูชาและทาตวั เน้ือสคูบ้ี การทาให้เน้ือสคูบ้ีแหง้ เป็ น แผน่ การทากระเป๋ าตงั คห์ นงั สัตวจ์ ากหนงั เทียม จากผลการดาเนินการ พบวา่ กระเป๋ าสตางคจ์ ากหนงั เทียมท่ีได้ สามารถใช้งานได้ตามปกติ เช่นเดียวกบั กระเป๋ าสตางคห์ นงั แท้ โดยมีคุณสมบตั ิที่แตกต่างกบั หนงั แทเ้ พียง เลก็ นอ้ ย จึงสามารถนามาใชแ้ ทนกระเป๋ าสตางคห์ นงั แทไ้ ด้
ง กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานเร่ืองน้ีสาเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ดว้ ยความช่วยเหลือของคุณครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ คุณครูท่ี ปรึกษาโครงงาน และคุณครูประจารายวิชา ซ่ึงท่านได้ให้คาแนะนาและขอ้ คิดเห็นต่าง ๆ อันเป็ น ประโยชน์อยา่ งยิ่งในการทาวิจยั อีกท้งั ยงั ช่วยแกป้ ัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างการดาเนินงานอีกดว้ ย ขอขอบคุณผูป้ กครองทุกคนของกลุ่มผูท้ าโครงงาน ท่ีช่วยให้การสนบั สนุน และอานวยความสะดวก ใหก้ บั ผทู้ าโครงงาน นอกจากน้ียงั ขอขอบคุณเพือ่ นๆ ท่ีช่วยเป็นกาลงั ใจ ให้การสนบั สนุน แนะนาและติ ชม จนโครงงานเรื่องน้ีเสร็จสมบูรณ์ นายณัฐพฒั น์ อิ่นมีกลุ นางสาวนพรดา ลิ้มสุวรรณ นางสาวปวีณา จิตอารี นางสาวสุภคั จิรา สะสม นางสาวปริยากร ณ น่าน
สารบัญ จ เรื่อง หน้า บทคดั ย่อ ค กติ ตกิ รรมประกาศ ง สารบัญ จ สารบญั ตาราง ช สารบัญภาพ ซ บทท่ี 1 บทนา 1 1 1.1 ทม่ี าและความสาคัญ 1 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน 2 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 2 1.4 ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 2 1.5 นิยามศัพท์ 3 บทที่ 2 ทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง 3 2.1 คอมบูชา 4 2.2 วตั ถุดิบทใ่ี ช้ในการหมักคอมบูชา 5 2.3 จุลนิ ทรีย์ทเ่ี กย่ี วข้องในกระบวนการหมักคอมบูชา 6 2.4 กระบวนการหมกั คอมบูชา 7 2.5 ประโยชน์ของคอมบูชา 9 2.6 ความเป็ นพษิ ต่อร่างกายของคอมบูชา 9 2.7 หนังสัตว์ 11 2.8 แนวโน้มของอตุ สาหกรรมหนังสัตว์ 12 บทที่ 3 วธิ ีการศึกษาค้นคว้า 12 3.1 ข้นั ตอนการดาเนินการ 16 3.2 วสั ดุและอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการจัดทาโครงงาน 17 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 19 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 19 5.1 สรุปผลการทดลอง 19 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการทดลอง 19 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา
บรรณานุกรม จ ฉ
สารบญั ตาราง ช ตารางที่ 4.1 แสดงคุณสมบตั ิของเน้ือสคูบ้ีท่ีไดจ้ ากการหมกั หน้า ตารางที่ 4.2 แสดงคุณสมบตั ิของหนงั เทียม(เน้ือสคูบ้ีแหง้ ท่ีไดจ้ ากการหมกั คอมบูชา) 17 17
สารบัญภาพ ซ ภาพที่ 3-1 น้าคอมบูชา หน้า ภาพท่ี 3-2 ตม้ น้าชา 12 ภาพที่ 3-3 แผน่ วนุ้ ท่ีข้ึนใหม่ 12 ภาพท่ี 3-4 แผน่ สคูบ้ี 13 ภาพที่ 3-5 ลกั ษณะเน้ือสคูบ้ี 13 ภาพที่ 3-6 แผน่ สคูบ้ี 13 ภาพท่ี 3-7 นาแผน่ สคูบ้ีเขา้ เตาอบ 13 ภาพที่ 3-8 แผน่ สคูบ้ีแหง้ 14 ภาพท่ี 3-9 กระเป๋ าสตางคจ์ ากหนงั เทียม 14 ภาพท่ี 3-10 ลวดลายบนกระเป๋ าสตางค์ 15 15
1 บทท1่ี บทนา 1. ทมี่ าและความสาคัญ เนื่องจากในปัจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องหนังจากสัตว์มีอัตราการเติบโตสูงมาก ซ่ึงเป็ นหน่ึงใน อุตสาหกรรมท่ีส่งผลต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มท่ีกาลงั เสื่อมโทรมอยา่ งรวดเร็ว เกิดที่การขยะ ลน้ เมืองท่ียงั ไม่การบริหารจดั การไม่เป็ นระบบมากนกั ขณะท่ีความเสี่ยงที่จะกระทบต่อสภาพอากาศผวน ผนั มีความรุนแรงมากข้ึน แต่ความตอ้ งการหนงั สัตวก์ ็ไม่มีท่าทีว่าจะลดลง เน่ืองจากเป็ นอุตสาหกรรมที่ กาลงั เป็นท่ีนิยมในวงการแฟชน่ั ท้งั การนามาทาเครื่องนุ่งห่ม กระเป๋ า หรือวสั ดุห่อหุม้ ตา่ งๆ สโคบี (SCOBY) เป็ นส่วนผสมของแบคทีเรียและยีสต์ หลงั จากหมกั บ่มชาไประยะหน่ึงแลว้ จะทาให้ เกิดแผน่ วุน้ หยุน่ ๆ ลอยอยบู่ นน้าชา มีรูปร่างคลา้ ยเห็ด ทาใหบ้ างคนเรียกวา่ ชาเห็ด (Mushroom Tea) คอม บูชาจดั เป็นเครื่องดื่มท่ีมีสรรพคุณทางยา โดยมีจุลินทรียโ์ พรไบโอติกส์ ซ่ึงเป็ นจุลินทรียช์ นิดดีท่ีร่างกายไม่ สามารถสร้างข้ึนเองได้ มีส่วนช่วยรักษาสมดุลของระบบทางเดินอาหารและระบบขบั ถ่าย ซ่ึงภายในวุน้ จะ มีแบคทีเรียและยสี ตจ์ านวนมาก ท่ีสามารถนามาใชป้ ระโยชนห์ ลากหลาย ประเทศไทยถูกจดั ว่าเป็ นประเทศผูส้ ่งออกหนังและเครื่องหนังที่สาคญั ประเทศหน่ึงในเอเชีย การ พฒั นาเครื่องหนงั เพื่อการส่งออกของไทยได้กระทาอย่างต่อเน่ืองมาตลอดท่ีผ่านมาจนทาให้มูลค่าการ ส่งออกขยายตวั เพ่ิมข้ึน ปัจจยั ภายในประเทศท่ีทาใหก้ ารส่งออกลดลงเพราะผผู้ ลิตเคร่ืองหนงั ไม่มีศกั ยภาพ ในการพฒั นาการผลิตให้ไดใ้ นปริมาณและคุณภาพที่ลูกคา้ ตอ้ งการ เน่ืองจากยงั คงมีปัญหาขาดแคลนหนงั ฟอกคุณภาพดีในประเทศตอ้ งนาเขา้ ทาใหตน้ ทุนมีราคาสูงข้ึน(กรมส่งเสริมการส่งออก, 2547) ซ่ึงบางชนิดของหนังท่ีเป็ นที่ตอ้ งการอย่างมากน้นั เป็ นหนงั ของสัตวท์ ี่ใกลจ้ ะสูญพนั ธ์ุุ และการนา หนงั สัตวม์ าใช้ กลุ่มของเราจึงเล็งเห็นปัญหาดงั กล่าว จึงจดั ทาโครงงานscobyของคอมบูชา เพื่อการทา กระเป๋ าสตางคห์ นงั สัตวเ์ ทียม ซ่ึงเป็ นการใช้แบคทีเรียท่ีมีการรวมตวั กนั เป็ นกลุ่มมาใชท้ ดแทนหนงั สัตว์ โดยจะออกแบบรูปแบบของกระเป๋ าสตางค์ ซ่ึงอาจที่จะเป็ นวสั ดุทดแทนในอุตสาหกรรมท่ีใชห้ นงั สัตว์ ซ่ึง เป็นการลดหนงั แทล้ งได้ 2. วตั ถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพอ่ื การพฒั นาวสั ดุหนงั เทียมจากscobyของแบคทีเรียในการหมกั คอมบูชา เพอ่ื ทดแทนการใช้ หนงั สัตว์ 2.เพื่อการออกแบบการทากระเป๋ าสตางคห์ นงั เทียมจากscobyของแบคทีเรีย 3.เพื่อทดลองคุณสมบตั ิscobyของแบคทีเรียท่ีนามาผลิตแผน่ หนงั เทียม
2 3. ขอบเขตของโครงงาน 3.1 สถานท่ี โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน 3.2 ระยะเวลา 1 กนั ยายน 2563 - 8 พฤศจิกายน 2563 3.2 ขอบเขตการศึกษาขอ้ มูล 3.2.1 ขอบเขตการทดสอบคุณสมบตั ิวตั ถุ ● เคร่ืองหนงั มีความคงทน ทนตอ่ การฉีดขาด ● เครื่องหนงั มีความสามารถป้องกนั น้า ● เคร่ืองหนงั มีความทนและความช้ืน ● เคร่ืองหนงั มีกลิ่นสาบส่งผลต่อการใชง้ าน 3.2.2 ขอบเขตการออกแบบ ● ออกแบบกระเป๋ าตงั หนงั สตั วต์ ามรูปแบบกระเป๋ าตงั ตามมาตรฐานทว่ั ไป 4. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 1.หนงั เทียมที่ไดจ้ ากscobyของแบคทีเรีย จากการหมกั คอมบูชาสามารถใชแ้ ทนหนงั สัตวไ์ ด้ 2.สามารถออกแบบและผลิตกระเป๋ าสตางคห์ นงั เทียมจากscobyของแบคทีเรียได้ 3.หนงั เทียมจากscobyของแบคทีเรียมีคุณสมบตั ิใกลเ้ คียงกบั หนงั สตั ว์ 4.เกิดความสามคั คีภายในกลุ่ม 5.ไดท้ กั ษะการทางานร่วมกนั ภายในกลุ่ม 5.นิยามศัพท์ คอมบูชา (Kombucha) คือ ชาหมกั ท่ีเกิดจากการเอาน้าหวั เช้ือและแผน่ Scoby (Symbiotic culture of bacteria and yeast) ท่ีมีแบคทีเรียและยสี ต(์ ตวั ที่มีสรรพคุณดีต่อร่างกายมนุษย)์ ไปหมกั ไวก้ บั น้าชาและน้าตาล นาน 7 - 30 วนั จนกลายเป็ นน้าที่มีรสชาติเปร้ียวหวานสดชื่น ถา้ หากนาไปปิ ดไวใ้ นขวดที่ปิ ดสนิดจะเกิดก๊าซ Carbon Dioxide และมีความซ่า รสชาติจะคลา้ ยกบั Apple cider สโคบี้ หรือ สะคูบี้ (Scoby) คือ แบคทีเรียและยสี ตท์ ี่มาเกาะเกี่ยวกนั อาศยั ร่วมกนั เพื่อการอยรู่ อด และ สร้างผนงั เซลลใ์ หห้ นาข้ึนท่ีเรียกวา่ เซลลูโลส จุลินทรียจ์ านวนมาก ยงั คงอยูใ่ นตวั น้าชาหมกั ไม่ไดข้ ้ึนมาเกาะ เก่ียวเป็น scoby ไปเสียท้งั หมด น้าชา kombucha เก่า จึงเป็ น starter ท่ีดี ท่ีตอ้ งใชร้ ่วมกบั scoby จุลินทรียท์ ่ีอยู่ ใน kombucha ประกอบไปดว้ ยยสี ตแ์ ละแบคทีเรีย ที่อาศยั พ่ึงพากนั แบคทีเรียจะช่วยยอ่ ยน้าตาลใหเ้ ป็ นกลูโคส เพ่ือเป็ นอาหารให้กบั ยีสต์ ในขณะท่ีแบคทีเรียก็จะไดก้ รดอะมิโน วิตามินเกลือแร่มาจากยีสต์เพ่ือใชใ้ นการ เจริญเติบโต สายพนั ธุ์ของยสี ตท์ ่ีพบมกั จะเป็นกลุ่มสายพนั ธุ์
3 บทท่ี 2 ทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง ในการดาเนินโครงการน้ี ผจู้ ดั ทาไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง เพ่ือใหส้ ามารถจดั ทา โครงการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเป็นไปไดด้ ว้ ยดี โดยทาการศึกษาคน้ ควา้ เอกสารและทฤษฏีท่ีเกี่ยวขอ้ งดงั หวั ขอ้ ต่อไปน้ี 2.1 คอมบูชา (Kombucha) คอมบูชา คือเครื่องดื่มชาหมกั เพื่อสุขภาพท่ีมีความหวานและความเปร้ียว ด่ืมแลว้ ให้ความสดช่ืนแก่ ร่างกาย โดยใช้ชาและน้าตาลเป็ นวตั ถุดิบในการหมกั ซ่ึงกระบวนการหมกั จะเกิดข้ึนในสภาวะที่มีการใช้ ออกซิเจนโดยอาศยั เช้ือจุลินทรียท์ท่ีทางานร่วมกนั ในสองชนิดประกอบดว้ ย แบคทีเรียกรดอะซิติกและยีสต์ (Dufresneand Farnmorth, 2000) อุณหภูมิท่ีเหมาะสมในกระบวนการหมกั ท่ี 18-30 องศาเซลเซียส เมื่อสิ้นสุด กระบวนการหมกั จะไดผ้ ลิตภณั ฑ์ 2ส่วนประกอบดว้ ยแผ่นวุน้ หรือเซลลูโลส(cellulosic pellicle layer) ใน ส่วนน้ีไม่นิยมบริโภค เพราะมีความเปร้ียวและความเหนียวแข็งของแผ่นวุน้ ในส่วนที่สองคือน้าชาหมกั (fermented tea broth)ในส่วนน้ีจะใชใ้ นการดื่มบริโภค มีองคป์ ระกอบต่างๆ อาทิเช่น acetic acid, glucuronic acid, gluconic acid, succinic acid, citric acid, amino acid, vitamin C, B1, B12, glucose และ D-saccharic acid-1,4-lactone หรือสาร DSL คอมบูชาจะมีช่ือเรียกท่ีแตกต่างกนั ซ่ึงข้ึนอยู่กบั แต่ละทอ้ งถ่ินภูมิประเทศเช่นประเทศไตห้ วนั เรียก Haipo หรือ Tea Fungus ประเทศญี่ป่ ุนเรียกวา่ Kocha Kinoko ประเทศรัสเซีย เรียกวา่ Mo-Gu ประเทศในแถบ ยุโรป เรียกวา่ Heldenpilz หรือ Kombuchaschwamm นอกจากน้ีในบางประเทศรู้จกั ในชื่อของ Kombucha Kargaksok Tea และ Manchurin Mushroom เป็ นตน้ การบริโภคเคร่ืองดื่มชมหมกั พบว่า เร่ิมมีการบริโภค ต้งั แตป่ ี ค.ศ.220 ในสมยั ราชวงศฉ์ ินของประเทศจีน ใชใ้ นการบริโภคเป็น เคร่ืองด่ืมชูกาลงั ใหแ้ ก่กองทพั ทหาร และลา้ งสารพิษ ในปี ค.ศ.414 แพทยช์ าวเกาหลี มีชื่อวา่ “คอมบู” ไดน้ าชาหมกั จากประเทศจีนไปยงั ประเทศ บา้ นเกิดของเขา และถวายการรักษาโรคกระเพาะอาหาร ให้แก่จกั รพรรดิดว้ ยคอมบูชา ซ่ึงให้ผลการรักษาที่ดี ดงั น้นั ชาหมกั จึงถูกรู้จกั ในนาม “คอมบูชา” ตามชื่อของแพทยช์าวเกาหลี จากน้นั การดื่มชาหมกั คอมบูชาจึง ไดแ้ พร่หลายขยายเขา้ ไปในเกือบทุกทวีป ของโลกท้งั ยโุ รป รัสเซียและสหรัฐอเมริกา โดยผูบ้ ริโภคท่ีไดด้ ื่ม คอมบูชาต่างใหก้ ารยอมรับวา่ มีรสชาติหวาน มีความเปร้ียวและมีความซ่า คลา้ ยคลึงกบั แอปเปิ้ ลไซเดอร์ มีผลดี ตอ่ สุขภาพและช่วยรักษาโรคตา่ งๆไดเ้ ช่นมีสารตาุ้นอนุมูลอิสระท่ีสูงเพ่มิ ภูมิตา้ นทานและป้องกนั โรคช่วยให้ ระบบยอ่ ยอาหารทางานไดด้ ีข้ึน ช่วยลดการเกิดโรคมะเร็ง ป้องกนั การเกิดโรคไขขอ้ อกั เสบ ช่วยในการลา้ ง สารพิษในเลือดและระบบย่อยอาหาร ส่งเสริมการทางานของตบั (Roche, 1998) รวมท้งั ช่วยลดระดบั คลอ เรสเตอรอลในเลือดไดอ้ ีกดว้ ย (Yang et al., 2009)
4 2.2 วตั ถุดบิ ทใี่ ช้ในการหมกั คอมบูชา ประกอบดว้ ยชาและน้าตาลซูโครส 2.2.1 ชา (tea) ชาเป็นพืชยนื ตน้ หรือไมพ้ มุ่ ในวงศ์ Theaceae จดั อยูใ่ นจีนสั Camellia มีมากกวา่ 300ชนิด สาหรับชาที่ นิยมใชใ้ นการบริโภคสามารถจดั แบ่งเป็ น 2สายพนั ธุ์คือ ชาจีน(Camelliasinensisvar. sinensis)เป็ นสายพนั ธุ์ท่ี นาเขา้ จากประเทศไตหวนั และจีนมีลกั ษณะของใบที่เลก็ และแคบทนทานต่อสภาพอากาศหนาวเยน็ ไดแ้ ก่ชาอู่ หลงเบอร์17 อู่หลงกา้ นอ่อนนิยมปลูกตามแถบจงั หวดั เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอนสาหรับอีกสายพนั ธุ์คือ ชาอสั สัมหรือชาอินเดียเป็ นสายพนั ธุ์ท่ีมีตน้ กาเนิดในประเทศอินเดียและจดั เป็ นสายพนั ธุ์ด้งั เดิมของไทย (Camelliasinensisvar.assamica) มีลกั ษณะใบที่ใหญ่เจริญไดด้ ีในป่ าเขตร้อนช้ืน ชอบร่มเงานิยม ปลูกตามแถบ จงั หวดั เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน และลาปาง(ธีรพงษ,์ 2555) สาหรับวิธีการเก็บเก่ียวชาน้นั จะทาการเก็บ ยอดออ่ นของใบชาและนาเขา้ กระบวนการต่างๆ ที่ใหเ้ กิดการหมกั ซ่ึงหากแบ่งตามกระบวนการแปรรูปชาดว้ ย กระบวนการหมกั สามารถจดั แบ่งได้ 3 ประเภทคือ ชาเขียว (green tea) ชาอู่หลง (oolong tea) และชาดา (black tea) เนื่องจากในการผลิตชาท้งั สามน้นั มีระดบั การหมกั ที่แตกต่างกนั จึงทาให้ชามีความแตกต่างของกล่ิน สี รสชาติและองคป์ ระกอบทางเคมี(ธีรพงษ,์ 2556) 2.2.1.1ประเภทของชาแบง่ ตามกระบวนการผลิตท่ีมีระดบั การหมกั ใบชาที่แตกต่าง กนั ซ่ึงจดั แบ่งได้ ดงั น้ี คือ ชาเขียว(greentea)เป็นชาที่กระบวนการผลิตไมผ่ า่ นการหมกั (non-fermentedtea) สาหรับประเทศไทย นิยมผลิตชาเขียวจากชาสายพนั ธุ์อสั สัมและอูห่ ลงเบอร์12(ธีรพงษ,์ 2556) โดยการเก็บยอดอ่อนของตน้ ชาแต่ถา้ หากพบวา่ ที่ใบชามีความช้ืนจะตอ้ งทาการผ่ึงเพ่ือเป็ นการไล่ความช้ืน จากน้นั นาไปอบดว้ ยไอน้าเพื่อหยดุ การ ทางานของเอนไซม์ polyphenoloxidase ซี่งทาใหไ้ ม่เกิดกระบวนการหมกั จากน้นั นาใบชาไปนวด(rolling)ให้ เป็ นเส้นและนาไปอบแหง้ (drying) ตามดว้ ยการคดั เกรดและบรรจุ สาหรับองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ที่พบในชาเขียวคือ polyphenol มีอยู่ ประมาณ 38- 42% โดยน้าหนกั แหง้ สารประกอบpolyphenolส่วนใหญเ่ ป็ นสารประกอบในกลุ่ม flavonoids เป็นชาที่ผา่ นกระบวนการผลิตอยา่ งพถิ ีพิถนั ทุกข้นั ตอน ดว้ ยกรรมวิธีการผลิตแบบก่ึงหมกั ทาใหเ้ กิด กล่ินหอมชื่นใจและรสชาติชาที่กลมกล่อมหอมนุ่ม ชุ่มคอ จากธรรมชาติของยอดชาอู่หลง ซ่ึงชาที่ผ่าน กระบวนการก่ึงหมกั น้นั จะทาใหเ้ กิดสาร Oolong Tea polymerized-polyphenols หรือ OTPPs เป็ นกลุ่มสารโพ ลีฟี นอลที่เกิดการเปล่ียนแปลงจากสารกลุ่มคาทิชินส์อนั เนื่องมาจากกระบวนการก่ึงหมกั ของใบชา โดยมี เอนไซม์โพลีฟี นอลออกซิเดสและความร้อนจากกระบวนการผลิตชาเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา สารกลุ่มน้ีมี ความสาคญั ต่อการลดและควบคุมปริมาณไขมนั ในร่างกาย รวมท้งั ส่งผลต่อสี กล่ินและรสชาติเฉพาะตวั ของ ชาอูห่ ลง โดยปริมาณสารจะแตกตา่ งกนั ตามระดบั ของกระบวนการหมกั มกั พบอยใู่ นช่วง 8-85% ตวั อยา่ งสาร ในกลุ่มน้ีไดแ้ ก่ไดเมอร์ริกคาเทชินส์ เช่น Oolonghomobisflavan A และ B สารกลุ่มทีเอฟลาวนิ (Theaflavins)
5 และ ทีอะรูบิจิน (Thearubigins) ชาดา (Black tea) คือ ชาที่ผ่านการแปรรูป ซ่ึงไดม้ าจากการเก็บใบชาอ่อน (ใบชาสายพนั ธุ์ Camellia sinensis) นามาทาใหแ้ หง้ เพ่ือลดปริมาณของน้าลงบางส่วน แลว้ นาใบชาก่ึงแห้งน้นั ไปคลึงหรือบดดว้ ยลูกกลิ้ง เพื่อให้ใบชาช้า ซ่ึงเซลล์ในใบชาจะแตกช้าโดยใบไม่ขาด และเอนไซม์ในเซลล์จะย่อยสลายสารเกิดเป็ น กระบวนการหมกั ทาใหเ้ กิดกลิ่นและรส จนใบชาเร่ิมเปล่ียนสีเป็นสีทองแดง เม่ือทิ้งไวร้ ะยะหน่ึงก่อนใชค้ วาม ร้อนเป่ าไปที่ใบชา (หรืออาจนาใบชาไปองั ไฟ หรือรมดว้ ยไอน้า) เอนไซมจ์ ะหมดฤทธ์ิ ใบชาเริ่มเปลี่ยนเป็ นสี ดา เมื่อนาไปตากหรืออบใหแ้ หง้ จากน้นั กบ็ ดหรือหน่ั ตามแตช่ นิดของชา ซ่ึงชาที่ไดม้ าน้ีจะเรียกวา่ ชาดา จากการแปรรูปจะเห็นได้ว่า ชาดาเป็ นชาที่ผ่านการหมกั อย่างสมบูรณ์ ซ่ึงจะแตกต่างจากชาอู่หลง ตรงท่ีชาอู่หลงน้นั ใชก้ ระบวนการหมกั แบบออกซิเดชนั่ แต่ชาดาจะใชก้ ระบวนการหมกั โดยแบคทีเรียเหมือน การเพาะบ่มไวน์ ซ่ึงกระบวนการหมกั น้ีจะทาใหส้ ามารถหมกั ชาไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี ยง่ิ บ่มนานก็ยิง่ ไดร้ สชาติที่ดี ซ่ึง ชาดาท่ีเป็นที่รู้จกั มากและเป็นที่นิยมสูงกค็ ือ ชาผเู่ อ๋อร์ (Pu-erh) และ ชาอสั สัม (Assam) 2.2.2 น้าตาลทรายหรือน้าตาลซูโครส (เรืองลกั ขณา, 2541) น้าตาลมีความสาคญั ต่อการดารงชีวติ ของ สิ่งมีชีวิต ท้งั มนุษยพ์ ืช สัตวร์ วมท้งั จุลินทรียโ์ ดย จดั เป็ นคาร์โบไฮเดรตชนิดหน่ึงท่ีใหค้ วามหวาน หรือที่รู้จกั กนั ทว่ั ไปวา่ น้าตาลทรายหรือน้าตาลซูโครส (sucrose) น้าตาลซูโครสสามารถพบไดใ้ นพืชหลากหลายชนิด สาหรับพืชท่ีนิยมนามาผลิต เป็ นน้าตาลซูโครสหรือผลิตเพ่ือการค้า ได้แก่อ้อยและหัวบีท น้าตาลซูโครส ประกอบดว้ ยธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน จดั เป็ นสารใหค้ วามหวานประเภทไดแซ็กคาร์ไรด์หรือ น้าตาล โมเลกุลคู่ (disaccharide) ท่ีสามารถละลายน้า ได้ซ่ึงมีสูตรโมเลกุลเป็ น C12H22O11 โดยสูตร โครงสร้าง โมเลกุลจะประกอบดว้ ย โมโนแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล จะประกอบข้ึนจาก α-glucose และ α- Dfructose หรือกลูโคสและฟรุกโตส (ภาพ 2.1)โดยพนั ธะระหวา่ งกลูโคสและฟรุกโตสอยู่ในรูปไกลโคไซด์ ถา้ ทาการไฮโดรไลซ์ซูโครสดว้ ยกรดหรือเอนไซมจ์ ะทาให้ไดน้าตาลอินเวิร์ต (invert sugar) ซ่ึงเป็ นสารผสม ของกลูโคสและฟรุกโตสที่มีจานวนโมลาร์ท่ีเท่ากนั น้าตาลอินเวิร์ตในธรรมชาติจะพบ มากในน้าผ้ึงโดย น้าตาลอินเวิร์ตจะให้ความหวานใกลเุ้คียงกบั น้าตาลซูโครส เน่ืองจากน้าตาลกลูโคส จะไม่ค่อยหวานแต่ น้าตาลฟรุกโตสจะหวานกว่าน้าตาลซูโครส ในกระบวนการหมักคอมบูชาน้าตาลซูโครสจดั เป็ นแหล่ง คาร์บอนช้นั ดีให้แก่จุลินทรีย์ โดยเฉพาะแบคทีเรียกรดอะซิติก ซ่ึงการใชน้ ้าตาลชนิดอ่ืนเป็ นวตั ถุดิบสาหรับ หมกั จะมีผลทาให้ แบคทีเรียกรดอะซิติกมีการเจริญเติบโตไดน้ อ้ ย Malbasaetal (2008) ศึกษากระบวนการหมกั คอมบูชา โดยใชน้ ้าตาลโมลาสเป็ นแหล่งคาร์บอน พบแบคทีเรียกรดอะซิติกมีอตั ราการเจริญท่ีนอ้ ยมากเม่ือ เปรียบเทียบกบกั ารใชน้าตาลซูโครส 2.3 จุลนิ ทรีย์ทเี่ กยี่ วข้องในกระบวนการหมกั คอมบูชา เช้ือจุลินทรียท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการหมกั คอมบูชาอาศยั กิจกรรมการหมกั ร่วมกนั หรือแบบพ่งึ พา อาศยั ซ่ึงกนั และกนั (symbiotic) จึงทาใหไ้ มม่ ีการปนเป้ื อนหรือเจริญของจุลินทรีย์ ชนิดอื่นท่ีก่อโรค โดย
6 สามารถตรวจพบจุลินทรียใ์ หช้ าหมกั คอมบูชาไดเ้ ป็น 2 กลุ่มหลกั ประกอบดว้ ย กลุ่มแบคทีเรียกรดอะ ซิติก (acetic acid bacteria) และกลุ่มยสี ต(์ yeast) สาหรับกิจกรรมในกระบวนการหมกั ของจุลินทรียท์ ้งั สองกลุ่ม คือในระยะเร่ิมตน้ ของการหมกั ยสี ต์ ทาหนา้ ท่ีเปล่ียนน้าตาลโมเลกุลคูใ่ หเ้ ป็นน้าตาลโมเลกลุ เดี่ยวจากน้นั ยสี ตก์ ็จะเขา้ ไปเปล่ียนน้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ใหเ้ ป็นแอลกอฮอลแ์ ละกรดอินทรียบ์ างชนิด เม่ือในสภาวะท่ีมีแอลกอฮอล์และนา้ ตาลโมเลกุลเดี่ยวจึงมีความ เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดอะซิติก โดยแบคทีเรียกรดอะซิติกสามารถที่จะเปล่ียน แอลกอฮอล์ให้ เป็ นกรดอะซิติกและกรดอินทรียห์ รือสารประกอบต่างๆ ไดย้ สี ตแ์ ละแบคทีเรียกรดอะซิติกมี กิจกรรม การหมกั ร่วมกนั หรือที่เรียกว่า tea fungus สาหรับคาวา่ “tea fungus” น้นั ไม่ไดห้ มายถึงเห็ดรา แต่ หมายถึงกลุ่มของแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์แผ่น เซลลูโลสหรือแผน่ วุน้ บริเวณผิวหนา้ ของชาหมกั คอม บูชา ซ่ึงมีลกั ษณะท่ีคลา้ ยคลึงกบั รา (Dufresne andFarnmorth, 2000; Teoh, et al2004; Jayabalan et al., 2014) 2.3.1แบคทีเรียกรดอะซิติก 2.3.2 ยสี ต(์ yeast) 2.4 กระบวนการหมกั คอมบูชา การหมกั เป็ นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพ่ือสร้างพลงั งานจากการยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ หรือ การเปล่ียนแปลงทางเคมีของสารประกอบอินทรียด์ ว้ ยเอนไซม์ โดยมีสารอินทรียเ์ ป็ นท้งั ตวั ให้และตวั รับ อิเลก็ ตรอน ซ่ึงต่างจากการหายใจแบบใชอ้ อกซิเจนท่ีใชอ้ อกซิเจนท่ีเป็ นสารอนินทรียเ์ ป็ นตวั รับอิเล็กตรอนตวั สุดทา้ ย ในคร้ังแรกคาวา่ การหมกั ใชอ้ ธิบายลกั ษณะท่ีเกิดจากการทางานของยสี ตใ์ นน้าผลไม้ เพราะยีสตย์ อ่ ย สลายน้าตาลในสภาวะท่ีไร้ออกซิเจน จึงเกิดฟองแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ผดุ ข้ึนมาเหมือนน้าเดือด เร่ิมใชค้ ร้ัง แรกเม่ือราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในหนังสือ alchemy แต่เริ่ มใช้ในความหมายปัจจุบันเมื่อราว คริสตศ์ ตวรรษท่ี 16 โดยมีวธิ ีการดงั นี 1. ตม้ น้า 3 ถว้ ยใหเ้ ดือด ใส่ใบชาลงไป ตม้ ดว้ ยไฟออ่ นๆ แช่ทิง้ ไว้ 20 นาที (หมน่ั คนใบชาทุก 5 นาที) แลว้ กรองเอาใบชาออก 2. ใส่น้าตาลทราย คนใหล้ ะลาย แลว้ เติมน้ากรอง 5 ถว้ ย ลงไป ทิ้งไวใ้ หเ้ ยน็ 3. เทส่วนผสมท้งั หมดลงในโหลแกว้ ท่ีเตรียมไว้ 4. เติมน้าชาคอมบูชา และ SCOBY ลงไป คนเบาๆ ใหส้ ่วนผสมท้งั หมดเขา้ กนั ดี 5. ปิ ดฝาขวดโหลดว้ ยผา้ และรัดยางที่ปากโหล หรือหากโหลแกว้ มีฝาครอบใหป้ ิ ดหลวมๆ โดยให้ อากาศผา่ นเขา้ ออกไดด้ ี 6. ต้งั หมกั ทิ้งไวป้ ระมาณ 10-14 วนั ในอุณหภูมิ 23 C- 30 C เก็บใหพ้ น้ จากแสงแดด หรือเกบ็ ในหอ้ ง ท่ีมีแสงนอ้ ย ไม่อบั ช้ืน และไม่มีแมลงรบกวน
7 2.5ประโยชน์ของคอมบูชา กระบวนการหมกั Kombucha น้นั ก่อใหเ้ กิดจุลินทรียแ์ ละยีสตส์ ายพนั ธุ์ดีหรือโพรไบโอติกส์ปริมาณ มาก ซ่ึงดีต่อระบบยอ่ ยอาหารของร่างกาย เพราะโพรไบโอติกส์จะไปทดแทนจุลินทรียส์ ายพนั ธุ์ดีในระบบยอ่ ย อาหารท่ีสูญเสียไปจากหลายสาเหตุ อยา่ งการกินอาหารไม่สะอาดหรือการใชย้ าบางชนิด อีกท้งั ยงั มีงานวิจยั ที่ พบวา่ โพรไบโอติกส์อาจช่วยรักษาและป้องกนั โรคทางเดินอาหารบางชนิดไดด้ ว้ ย ไดแ้ ก่ อาการทอ้ งเสียจาก การติดเช้ือหรือทอ้ งเสียจากยาปฏิชีวนะ ลาไส้อกั เสบ ลาไส้แปรปรวน โรคติดเช้ือเอชไพโลไร และโรคติดเช้ือ คลอสไทรเดียมดิฟิ ซายล์ โดยระหวา่ งท่ีหมกั Kombucha เช้ือแบคทีเรียและยสี ตจ์ ะแบ่งตวั จนเห็นเป็ นแผน่ ฟิ ล์ม ลกั ษณะคลา้ ยกลุ่มเห็ดเคลือบอยบู่ นผวิ ของของเหลว ดว้ ยเหตุน้ี บางคนจึงเรียกเครื่องดื่มชนิดน้ีวา่ ชาเห็ด หรือ อาจเรียกกลุ่มแบคทีเรียและยสี ตท์ ่ีมีชีวิตน้ีวา่ SCOBY ซ่ึงสามารถนาไปใชเ้ ป็ นหวั เช้ือสาหรับหมกั Kombucha คร้ังต่อไปได้ นอกจากน้นั โพรไบโอติกส์ยงั ช่วยเสริมการทางานของระบบภูมิคุม้ กนั เพราะการเสียสมดุลระหวา่ ง จุลินทรียส์ ายพนั ธุ์ดีและสายพนั ธุ์ท่ีเป็นอนั ตรายตอ่ ร่างกายทาให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทางานผดิ ปกติและติด เช้ือไดง้ ่ายข้ึน ซ่ึงก่อใหเ้ กิดโรคต่าง ๆ ตามมามากมาย โดยมีงานวจิ ยั หน่ึงท่ีพบวา่ โพรไบโอติกส์ช่วยใหเ้ ด็กและ ผใู้ หญ่ท่ีมีอาการหวดั หายเป็นปกติไดเ้ ร็วข้ึน อยา่ งไรกต็ าม โพรไบโอติกส์น้นั มีหลายสายพนั ธุ์ ซ่ึงจะส่งผลต่อร่างกายแตกต่างกนั ไปตามสายพนั ธุ์ และปัจจยั ทางร่างกายของแต่ละคน ดงั น้นั จึงควรมีงานวิจยั สนุบสนุนเพ่ิมเติม เพื่อยืนยนั ประสิทธิภาพของ โพรไบโอติกส์ใหแ้ น่ชดั ยง่ิ ข้ึน และผบู้ ริโภคควรหลีกเลี่ยงการกินหรือด่ืมผลิตภณั ฑโ์ พรไบโอติกส์ที่ยงั ไม่ผา่ น การรับรองมาตรฐานของสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา อุดมไปดว้ ยสารตา้ นอนุมูลอิสระ Kombucha ท่ีหมกั จากชาเขียวน้นั อุดมไปดว้ ยสารตา้ นอนุมูลอิสระหลายชนิดที่ช่วยป้องกนั หรือยบั ย้งั ความเสียหายของเซลลท์ ่ีเกิดข้ึนจากอนุมูลอิสระอยา่ งสารโพลีฟี นอล (Polyphenol) โดยในปัจจุบนั มีงานวจิ ยั ท่ี ศึกษาคุณสมบตั ิของ Kombucha ในดา้ นน้ีกบั หนูที่ไดร้ ับสารละลายตะกวั่ ติดต่อกนั 45 วนั โดยแบ่งหนูทดลอง ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่กิน Kombucha ควบคู่กบั ไดร้ ับสารตะกว่ั กบั กลุ่มที่ไม่ได้กิน Kombucha พบว่า เซลลท์ ี่ถูกทาลายจากสารตะกวั่ ของหนูกลุ่มแรกน้นั มีจานวนลดลง ดงั น้นั เคร่ืองด่ืมชนิดน้ีจึงอาจช่วยลดความ เป็นพิษของตบั จากการไดร้ ับสารเคมีท่ีเป็นพษิ ได้ อยา่ งไรกต็ าม งานวจิ ยั ดงั กล่าวเป็นเพียงการทดลองในสัตวเ์ ท่าน้นั ผลลพั ธ์ท่ีเกิดข้ึนจึงอาจแตกต่างกบั การทดลองในคน ซ่ึงปัจจุบนั ยงั ไมม่ ีงานวจิ ยั ใดที่ศึกษาคุณสมบตั ิของ Kombucha ในดา้ นการตา้ นอนุมูลอิสระ กบั คนโดยตรง จึงจาเป็นตอ้ งรองานวจิ ยั สนบั สนุนเพ่ิมเติมที่ชดั เจนในอนาคตตอ่ ไป
8 ออกฤทธ์ิช่วยยบั ย้งั การตดิ เชื้อแบคทเี รีย Kombucha มีกรดน้าส้มหรือกรดอะซิติกเป็นส่วนประกอบหลกั ซ่ึงมีคุณสมบตั ิช่วยกาจดั เช้ือจุลินทรีย์ ที่เป็ นอนั ตรายต่อร่างกาย จึงมีงานวิจยั ที่ศึกษาประสิทธิภาพของ Kombucha ในการตา้ นเช้ือแบคทีเรียแลว้ พบวา่ Kombucha ที่หมกั จากชาดาและชาเขียวอาจมีฤทธ์ิช่วยยบั ย้งั การติดเช้ือแบคทีเรีย รวมถึงเช้ือแคนดิดาซ่ึง เป็นยสี ตช์ นิดหน่ึงท่ีเป็นอนั ตรายตอ่ คน นอกจากน้นั คุณสมบตั ิในดา้ นน้ีของ Kombucha จะส่งผลต่อจุลินทรีย์ ที่เป็ นอนั ตรายต่อร่างกายเท่าน้นั จึงไม่ทาให้จานวนโพรไบโอติกส์หรือจุลินทรียส์ ายพนั ธุ์ดีลดนอ้ ยลงไปดว้ ย อย่างไรก็ตาม งานวิจยั ถึงประสิทธิภาพของ Kombucha ในการต้านเช้ือแบคทีเรียยงั มีอยู่ไม่มากนัก จึง จาเป็นตอ้ งรองานวจิ ยั สนนั สนุนเพ่ิมเติม เพ่ือยนื ยนั ประสิทธิภาพในดา้ นน้ีใหแ้ น่ชดั ลดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูงเป็ น 1 ในปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ซ่ึงโดยปกติแล้ว คอเลสเตอรอลแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทหลกั คือ คอเลสเตอรอลชนิดดี (High Density Lipoprotein: HDL) ซ่ึง ทาหนา้ ที่กาจดั ไขมนั อนั ตรายในกระแสเลือด และยบั ย้งั การสะสมของไขมนั และคอเลสเตอรอลส่วนเกิน กบั คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (Low Density Lipoprotein: LDL) หากมีไขมนั ในปริมาณมากเกินไปจะทาใหเ้ กิดการ สะสมอยตู่ ามผนงั หลอดเลือด ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กิดโรคหวั ใจและหลอดเลือดตามมาได้ ท้งั น้ีมีงานวจิ ยั หน่ึงศึกษาประสิทธิภาพของ Kombucha ในการลดระดบั คอเลสเตอรอล โดยใหห้ นูที่ ถูกป้อนอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงเป็ นประจากิน Kombucha ติดต่อกัน 16 สัปดาห์ หลังจากน้ันจึง เปรียบเทียบปริมาณ HDL และ LDL ก่อนและหลงั กิน พบวา่ LDL มีปริมาณลดลง แต่ HDL กลบั มีปริมาณ เพิ่มข้ึน ดงั น้นั Kombucha จึงอาจช่วยลดระดบั คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีได้ และอาจช่วยลดความเส่ียงในการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดดว้ ย แต่งานวิจยั ขา้ งตน้ เป็ นเพียงการทดลองกบั สัตว์ จึงจาเป็ นตอ้ งรองานวิจยั สนบั สนุนท่ีทดลองกบั คนในอนาคตต่อไป ลดระดับนา้ ตาลในเลือด มีงานคน้ ควา้ ท่ีศึกษาประสิทธิภาพของ Kombucha ในการช่วยลดระดบั น้าตาลในเลือด โดยใหห้ นูท่ีมีระดบั น้าตาลในเลือดสูงกิน Kombucha ติดต่อกนั 30 วนั พบว่าร่างกายของหนูใช้เวลาในการย่อยอาหารจาพวก คาร์โบไฮเดรตชา้ ลง ทาใหร้ ะดบั น้าตาลในเลือดลดลงตามไปดว้ ย ดงั น้นั การด่ืม Kombucha จึงอาจส่งผลดีต่อ ผปู้ ่ วยโรคเบาหวาน ซ่ึงเป็ นภาวะท่ีร่างกายมีระดบั น้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ อย่างไรก็ตาม งานวิจยั ขา้ งตน้ เป็นเพยี งการศึกษาในหนูทดลอง ซ่ึงผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากสัตวก์ บั ผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากคนอาจแตกต่างกนั จึงจาเป็ นตอ้ ง รองานวิจยั สนบั สนุนที่ศึกษากบั คนในอนาคต เพ่ือยืนยนั ประสิทธิภาพของ Kombucha ในดา้ นน้ีให้แน่ชดั นอกจากน้นั การเติมน้าตาลเพ่ือเพิ่มรสชาติก่อนด่ืม Kombucha น้นั อาจทาใหป้ ระสิทธิภาพในการลดระดบั น้าตาลในเลือดไม่เป็ นผล เพราะการเติมน้าตาลเขา้ ไปในชาหมกั หลงั จากหมกั เสร็จแลว้ จะยิ่งทาให้ระดบั น้าตาลในเลือดเพม่ิ สูงข้ึน
9 ลดความเส่ียงโรคมะเร็ง มะเร็งเกิดจากการกลายพนั ธุ์ของเซลล์ในร่างกาย และเซลล์ดงั กล่าวอาจเพิ่มจานวนข้ึนโดยท่ีร่างกาย ไม่สามารถควบคุมได้ ซ่ึงนบั เป็นโรคท่ีร้ายแรงและตอ้ งไดร้ ับการรักษาอยา่ งเหมาะสม ท้งั น้ี ปัจจุบนั มีงานวิจยั ในห้องปฏิบตั ิการที่พบวา่ สารตา้ นอนุมูลอิสระหลายชนิดที่อยู่ในชาอนั เป็ นส่วนผสมหลกั ของ Kombucha อาจมีส่วนช่วยป้องกนั การเกิดเซลล์มะเร็ง รวมถึงยบั ย้งั การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งได้ อย่างไรก็ตาม งานวจิ ยั ถึงประสิทธิภาพของ Kombucha ในการตา้ นมะเร็งน้นั เป็ นเพียงการทดลองทางห้องปฏิบตั ิการเท่าน้นั จึงจาเป็นตอ้ งรองานวจิ ยั ท่ีศึกษากบั คนจนไดผ้ ลลพั ธ์ที่ชดั เจนในอนาคต 2.6 ความเป็ นพษิ ต่อร่างกายของคอมบูชา ไดม้ ีรายงานความเป็นพษิ ของคอมบูชาต่อร่างกาย ภายหลงั การบริโภคในบางบุคคลอาจพบอาการ คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ในปี ค.ศ.1998 ศูนยป์ ้องกนั และควบคุมโรค ห้ามหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร บริโภคคอมบูชา การตรวจพบสารตะกวั่ เน่ืองจากการใช้ภาชนะเซรามิกในการผลิตและมีความเป็ นพิษต่อ ระบบทางเดินอาหาร ต่อมามีการพบโรคแอนแทรกซ์จากแบคทีเรียบาซิลสั ในเครื่องด่ืมคอมบูชา สาเหตุการ เกิดโรคมาจากการหมกั ที่มีสภาพที่ไม่ถูกสุขลกั ษณะ และยงั มีรายงานความเส่ียงในการบริโภคของคนที่เป็ น โรคภูมิคุม้ กนั บกพร่อง(HIV) แต่ยงั ไม่มีรายงานท่ีแน่ชดั (Jayabalan et al., as cited in sadjadi, 1998 Gamundi and Valdivia, 1995 Srinivasan et al., 1997 Phan et al., 1998 Sabouraud et al.,2009) 2.7 หนังสัตว์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คือ 1. หนงั แท้ หมายถึง หนงั ที่ไดจ้ ากสัตวต์ ่างๆ เช่น หนงั ววั หนงั จระเข้ หนงั หมู หนงั ปลากระเบน หรือ จากสัตวป์ ่ าอ่ืนๆ อีกมากมาย การนาหนงั มาใชป้ ระโยชน์ แบ่งออกเป็น 2 พวก ไดแ้ ก่ 1.1 หนงั ดิบ ไดจ้ ากหนงั สตั วท์ ี่ตายแลว้ สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ดโ้ ดยตรง เช่น ทาหนงั กลอง หนงั ตะลุง เป็นตน้ 1.2 หนงั ฟอก เป็ นหนงั ดิบที่ผา่ นการฟอกแบบต่างๆ เพื่อไม่ใหห้ นงั เน่าเป่ื อย มีลกั ษณะอ่อนนุ่ม เรียบ สม่าเสมอ สีสันสวยงาม มีความหนาตามตอ้ งการ ซ่ึงกรรมวธิ ีการฟอกหนงั ก็จะแตกต่างกนั ตามชนิดของสัตว์ แตล่ ะชนิด – หนงั สัตวท์ ่ีมีลวดลายสวยงาม เช่น หนงั จระเข้ งู เสือ มา้ ลาย – หนงั สัตวท์ ่ีมีขนสวยงาม เช่น หมี สุนขั จิง้ จอก – หนงั สัตวท์ ว่ั ๆ ไป เช่น หนงั ววั จะมีสีผวิ ไมส่ วยงาม ตอ้ งนามาตกแตง่ และยอ้ มสี
10 หนงั แทจ้ ะมีลกั ษณะพ้ืนฐานท่ีสังเกตไดง้ ่าย เช่น มีกล่ินหนงั ผิวมีรูขุมขน ดา้ นหลงั เป็ นขนสักหลาด ซึมซบั น้า หากอากาศเยน็ เมื่อสัมผสั จะรู้สึกอุ่น ขณะท่ีอากาศร้อน เม่ือสัมผสั จะรู้สึกเยน็ ดูแลทาความสะอาด ค่อนขา้ งยาก ลายบนผวิ เป็นธรรมชาติ ไม่มีรอยต่อลาย (Emboss repeat) การพฒั นาดา้ นต่างๆ ในอุตสาหกรรม การฟอกหนงั และการตกแต่ง (Finishing) เป็นปัจจยั ท่ีทาใหล้ กั ษณะพ้ืนฐานของหนงั เปลี่ยนไปจนไม่อาจจะใช้ เป็ นตวั พิจารณาเพ่ือบ่งบอกความเป็ นหนงั แทไ้ ดอ้ ีกต่อไป ซ่ึงการฟอกยอ้ มในปัจจุบนั มีความพยายามที่จะลด กลิ่นหรือให้เจือจางที่สุด ดงั น้นั หนงั แทท้ ่ีดีจึงมกั ไม่มีกล่ิน มีการใช้ Water Repel lance เพ่ือป้องกนั ไม่ใหน้ ้า เกาะ หนงั ท่ีมีฉนวนและถ่ายเทอากาศไดน้ ้นั จะเป็นเฉพาะหนงั ประเภท Full grain หรือ Corrected grain ท่ีผา่ น การ Top coating หรือ Finishing บางๆ เท่าน้นั หนงั แทส้ ่วนใหญ่มีผวิ ลาย หรือมีรอยยน่ ของผิว (Grain Break) โดยปกติจะมีลกั ษณะเป็ นธรรมชาติเหมือนผวิ หนงั ของคน แต่หนงั แทบ้ างชนิดที่เน้ือแน่นหรือแข็งที่เป็ นหนงั คุณภาพดีก็จะไม่มีรอยยน่ ของ ผวิ เหมือนหนงั ปกติทวั่ ไป หนงั แทจ้ ะมีขนาด (Shape/Size) แต่ละชิ้นไม่แน่นอน เพราะเป็นของธรรมชาติ และหนงั แทจ้ ะไมต่ ิดไฟหรือถา้ ติดกจ็ ะดบั ไดเ้ อง เราสามารถแบ่งประเภทของหนงั แทอ้ อกเป็น 4 ประเภท ไดด้ งั น้ี 1.1 Full grain เป็ นหนงั ช้นั แรกที่มีลวดลายของหนงั สัตวธ์ รรมชาติอยู่ หลงั จากผ่านกระบวนการฟอกหนงั แลว้ จะ นามาทาการตกแต่ง โดยการพ่นเงาเนน้ ลวดลายของตวั หนงั ข้ึนมาเอง หนงั ประเภทน้ีเหมาะสาหรับนาไปผลิต เป็นหนงั หนา้ ของผลิตภณั ฑเ์ ครื่องหนงั ต่างๆ 1.2 Split เป็นหนงั ที่อยชู่ ้นั กลาง ซ่ึงโครงสร้างของเน้ือหนงั ยงั คงมีโครงสร้างที่ดี จึงนาไปผลิตเป็ นหนงั Nubuck หรือ Suede และยงั สามารถนาไปโคต๊ พียเู พ่ือสร้างลวดลายเทียมได้ หนงั ประเภทน้ีเหมาะสาหรับนาไปใชเ้ ป็ น หนงั หนา้ ในการผลิตเคร่ืองหนงั 1.3 Lining เป็ นหนงั ช้นั สุดทา้ ย ซ่ึงมีโครงสร้างไม่เหมาะสาหรับนาไปทาหนงั หนา้ ส่วนใหญ่จะถูกนาไปทาซบั ในในผลิตภณั ฑเ์ ครื่องหนงั 1.4 Bonded leather เป็ นเศษหนงั ท่ีถูกกกั ไวใ้ นข้นั ตอนการตดั หนงั Full grain, Split และ Lining นาไปผสมกบั กาวและ นามาทาเป็ นมว้ นหรือแผน่ หลงั จากน้นั ก็ผา่ นการโคต๊ ดว้ ยพียู หนงั ประเภทน้ีสามารถนาไปใชไ้ ดท้ ุกส่วนของ ผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองหนงั 2. หนงั เทียม หมายถึง สารสงั เคราะห์ท่ีนามาทาใหม้ ีลกั ษณะคลา้ ยหนงั แท้ ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 2 ชนิดคือ 2.1 หนังเทียมประเภทเลียนแบบหนังแท้ หมายถึง หนังเทียมท่ีผลิตข้ึนมาเพื่อใช้ในลกั ษณะงาน เช่นเดียวกนั กบั หนงั แท้ ซ่ึงส่วนมากจะพบในผลิตภณั ฑ์ต่างๆ เช่น กระเป๋ า เข็มขดั ฯลฯ ถา้ เป็ นหนงั แทจ้ ะมี ราคาแพงมาก จึงจาเป็นตอ้ งทาดว้ ยหนงั เทียมเพื่อใหไ้ ดร้ าคาท่ีถูกกวา่
11 2.2 หนงั เทียมประเภททดแทนหนงั แท้ หมายถึงหนงั เทียมที่ผลิตข้ึนมาเพื่อใชก้ บั งาน ซ่ึงถา้ ใชห้ นงั แท้ จะตอ้ งสิ้นเปลืองมาก หรือปริมาณของหนงั แทไ้ ม่เพียงพอกบั ความตอ้ งการของทอ้ งตลาด (เกรทเทสท,์ 2002) 2.8 แนวโน้มของอุตสาหกรรมหนังสัตว์ ภาวะอุตสาหกรรมเคร่ืองหนงั อุตสาหกรรมเครื่องหนงั เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรประเภทหน่ึง ที่มีความสาคญั ต่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างมูลคา่ เพ่ิมใหก้ บั หนงั สัตวใ์ ม่วา่ จะเป็นอุตสาหกรรมท่ีผลิตเพื่อขายใน ประเทศ หรือเพอ่ื ส่งออก สามารถนาเงินตราต่างประเทศเขา้ มาปี ละเกือบ 80,000 ลา้ นบาท รวมท้งั ก่อใหเ้ กิดอุตสาหกรรมตอ่ เนื่องที่ช่วยสร้างงานให้แก่แรงงานฝี มือจานวนไม่นอ้ ยกวา่ 500,000 คน ซ่ึงอยใู่ นภาคอุตสาหกรรมน้ี แต่ในสถานการณ์ปัจจุบนั การส่งออกหนงั และเคร่ืองหนงั ของไทย ตอ้ งเผชิญการแข่งขนั ที่รุนแรงใน ตลาดโลก โดยเฉพาะประเทศคู่แข่งที่สาคญั คือ จีน รวมท้งั ความจาเป็ นที่ตอ้ งพ่ึงพาวตั ถุดิบจากต่างประเทศ เนื่องจากวัตถุดิบในประเทศไม่เพียงพอ คุณภาพไม่สม่าเสมอ และต่ากว่ามาตรฐานที่ต่างประเทศ
12 บทที่ 3 วธิ ีการศึกษาค้นคว้า ข้นั ตอนการดาเนินการในการจดั ทาโครงงานซ่ึงผศู้ ึกษาไดล้ าดบั ข้นั ตอนการดาเนิน 3.1 ข้นั ตอนการดาเนินการ ตอนท1่ี การหมกั คอมบูชาและทาตวั เน้ือสคูบ้ี 1.การหมกั คอมบูชา 1.1 นาน้าดื่มสะอาด 1.3 ลิตร มาตม้ จนเดือดใส่ถุงชาลงไปแช่ทิง้ ไวป้ ระมาณ 5-15 นาที 1.2 ตกั ถุงชาออก เติมน้าตาล ½ ถว้ ยคนใหล้ ะลาย 1.3 ต้งั ทิ้งไวจ้ นเยน็ สนิท หา้ มอุน่ หรือร้อนเด็ดขาด 1.4 เมื่อน้าชาท่ีตม้ เยน็ แลว้ เทสคูบ้ีและน้าต้งั ตน้ ลงไปใหห้ มด ใชท้ พั พีพลาสติกคนใหเ้ ขา้ กนั 1.5 ปิ ดผาดว้ ยผา้ ขาวบาง ต้งั ทิง้ ไวไ้ ม่ใหโ้ ดนแสงแดดโดยตรง อากาศถ่ายเท ไม่อบั ช้ืน และหา้ มขยบั หรือเปิ ด ออกดูเป็นเวลา 7-30 วนั จากน้นั ตวั สคูบ้ีจะเร่ิมข้ึนแผน่ ใหมบ่ นหนา้ น้า 1.6 หลงั จาก7-30วนั จะเห็นวุน้ เร่ิมข้ึนเป็นแผน่ ใสๆ ภาพที่ 3-1 นา้ คอมบูชา ภาพที่ 3-2 ต้มนา้ ชา
13 ภาพท่ี 3-3 แผ่นวุ้นทขี่ ึน้ ใหม่ ภาพที่ 3-4 แผ่นสคูบี้ ภาพที่ 3-5 ลกั ษณะเนื้อสคูบี้ ภาพท่ี 3-6 แผ่นสคูบี้
14 ตอนท่ี 2 การทาให้เน้ือสคูบ้ีแหง้ เป็นแผน่ 2.1 นาตวั วุน้ ของสคูบ้ีมาวางบนตะแกรง วางตากแดดไว1้ วนั และพลิกอีกดา้ นและตากทิ้งไวอ้ ีก1วนั 2.2 นาตวั แผน่ ท่ีไดจ้ ากการตากมาเอาในเตาอบอีก15นาที ภาพที่ 3-7 นาเเผ่นสคูบเี้ ข้าเตาอบ 15 นาที ภาพท่ี 3-8 แผ่นสคูบีแ้ ห้ง
15 ตอนที่ 3 การทากระเป๋ าสตางคจ์ ากหนงั เทียม 3.1 นาแผน่ สคูบ้ีที่ไดม้ าวางทบั แนบและวาดตาม template 3.2 ตดั ตวั หนงั สัตวเ์ ทียมใหข้ นาดใกลเ้ คียงกบั templateท่ีทาไว้ 3.3 พบั ตามรอยตอ่ และเก็บส่วนท่ีเกินออกมา เยบ็ ติดใหป้ ระสานกนั ภาพที่ 3-9 กระเป๋ าสตางค์จากหนังเทยี ม ภาพที่ 3-10 ลวดลายบนกระเป๋ าสตางค์
16 3.2 วสั ดุและอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการจัดทาโครงงาน ส่วนผสมของน้าคอมบูชา 1.หวั เช้ือของ SCOBY 2.ชาคอมบูชาหมกั สาหรับนามาเป็นตวั เร่ิมหมกั 200 มิลลิลิตร 3.น้าตาลทรายขาว 200 กรัม 4. น้าบริสุทธ์ิท่ีไม่ปนเป้ื อนคลอไรด์ 2 ลิตร 5. ชา 2 ถุง 6.สีสาหรับยอ้ มน้าคอมบูชา (อาจใชผ้ ลไม)้ 7.โหลที่ใหใ้ นการหมกั
17 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน จากการดาเนินการหมกั คอมบูชา ทาตวั เน้ือสคูบ้ี และการออกแบบกระเป๋ าสตางค์ มีผลการดาเนินการ ดงั น้ี ตอนที่ 1 การหมกั คอมบูชาและทาตวั เน้ือสคูบ้ี ตารางท่ี 4.1 แสดงคุณสมบตั ิของเน้ือสคูบ้ีท่ีไดจ้ ากการหมกั คุณสมบตั ิ ผลที่ได้ สี สีขาวขนุ่ ความแขง็ -นุ่ม มีความนุ่ม คลา้ ยวนุ้ ความเหนียว มีความเหนียว ยากต่อการฉีกขาด การข้ึนรูป สามารถข้ึนรูปเป็ นลกั ษณะแผน่ กลมๆ ตอนท2ี่ การทาใหเ้ น้ือสคูบ้ีแหง้ เป็นแผน่ ตารางท่ี 4.2 แสดงคุณสมบตั ิของหนงั เทียม(เน้ือสคูบ้ีแหง้ ที่ไดจ้ ากการหมกั คอมบูชา) คุณสมบตั ิ ผลที่ได(้ เม่ือเทียบกบั หนงั แท)้ ความคงทน มีความคงทนต่อการฉีกขาดไดน้ อ้ ยกวา่ ความสามารถในการป้องกนั น้า สามารถป้องกนั น้าไดน้ อ้ ยกวา่ หนงั แท้ ความช้ืน สามารถป้องกนั ความช้ืนไดน้ อ้ ยกวา่ หนงั แท้ กลิ่นสาบ มีกล่ินของคอมบูชาเลก็ นอ้ ย ลวดลาย มีความเป็นธรรมชาติ ของลวดลาย อยา่ งเห็นไดช้ ดั มี ความดิบ และมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ผวิ สัมผสั ผวิ สัมผสั บนเคร่ืองหนงั สมั ผสั ไดช้ ดั เจน การใชง้ าน มีความแตกตา่ งจากหนงั เทียมชนิดอื่นอยา่ งชดั เจน ลวดลาย (หลงั จากผา่ นการใชง้ าน) ลวดลายคงสภาพเดิม
18 ตอนท่ี 3 การทากระเป๋ าสตางคจ์ ากหนงั เทียม กระเป๋ าสตางคจ์ ากหนงั เทียมท่ีได้ สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ เช่นเดียวกบั กระเป๋ าสตางคห์ นงั แท้ โดย มีคุณสมบตั ิที่แตกต่างกบั หนงั แทเ้ พียงเลก็ นอ้ ย จึงสามารถนามาใชแ้ ทนกระเป๋ าสตางคห์ นงั แทไ้ ด้
19 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการทดลอง สคูบ้ีท่ีไดน้ ้นั น้นั มีความเหนียว ยากต่อการฉีกขาด กระเป๋ าสตางคจ์ ากหนงั เทียมที่ได้ สามารถใชง้ าน ไดต้ ามปกติ มีความเป็นธรรมชาติของลวดลายอยา่ งเห็นไดช้ ดั มีความดิบ และมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั เช่นเดียวกบั กระเป๋ าสตางคห์ นงั แท้ โดยมีคุณสมบตั ิท่ีแตกตา่ งกบั หนงั แทเ้ พยี งเลก็ นอ้ ย จึงสามารถนามาใช้ แทนกระเป๋ าสตางคห์ นงั แทไ้ ด้ 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการทดลอง - สคูบ้ีมีความคงทนต่อการฉีกขาดไดน้ อ้ ยกวา่ หนงั แท้ - สามารถป้องกนั น้าไดน้ อ้ ยกวา่ หนงั แท้ - มีกล่ินของคอมบูชา - ตอ้ งใชเ้ วลานานในการดาเนินการหมกั 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา สามารถนาไปตอ่ ยอดไดค้ ือนาสคูบ้ีของคอมบูชาน้ีไปบูรณาการทาเป็นเคร่ืองหนงั ชนิดอื่นๆ ยกตวั อยา่ งได้ เช่น - กระเป๋ าหนงั แฟชนั่ - เส้ือหนงั - รองเทา้ หนงั - เขม็ ขดั - โซฟา
ฉ บรรณานุกรม นฤพล บารุงเรือน. (2558). ความมีชีวติ ในผลติ ภณั ฑ์เคร่ืองหนัง. สืบค้นเม่ือ 3 สิงหาคม 2563 จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream /handle/123456789/4747/p22558004pdf? sequence=1&isAllowed=y ประกายทพิ ย์ ทองเหลือ. (2561). การพฒั นาวสั ดุหนังเทยี มทแี่ ปรรูปจากผกั ตบชวา เพ่ือ การออกแบบกระเป๋ าหนังไร้รอยต่อ. สืบค้นเม่ือ 3 สิงหาคม 2563, จาก http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1867/1/57155311.pdf ภิเษก โพพศิ และคณะ. (2555). การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมฟอกหนัง. คณะเศรษฐศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ สนธิรักษ์ เจริญรักษ์. (2559). การผลติ เครื่องด่ืมชาหมักคอมบูชาโดยเชื้อบริสุทธ์. วิทยาศาสตร บณั ฑติ . มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ chatpon. (2019). ความรู้เกย่ี วกบั หนังแท้และหนังเทียม. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2563, จาก https://greatesthigh.co.th Jayabalan et al., as cited in sadjadi. (1998). Threats from Kombucha. Retrieved 24 October 2020, from https://vitals.lifehacker.com/the-health-risks-of-brewing- kombucha-and-how-to-do-it The thought Emporium. (2017). How to Grow Leather-Like Material Using Bacteria. Retrieved 29 October 2020, from https://www.youtube.com/watch?v=Ds8ZFzOwGeI
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: