รายงานผล การจดั การศึกษาต่อเน่อื ง ประจาปงี บประมาณ 2564 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอป่าซาง สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั ลาพูน
คำนำ การจดั กจิ กรรมของ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอปา่ ซาง เปน็ การให้บริการ กบั ผู้เรียน ผู้รบั บรกิ าร และชุมชน ในหลายลกั ษณะเพ่ือให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ ผู้เรียน /ผรู้ ับบรกิ ารและชมุ ชนได้อยา่ งมคี ุณภาพ ในปงี บประมาณ 2564 กศน. อำเภอปา่ ซาง ได้ดำเนนิ งานการจัด การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมทจี่ ัดเพอ่ื ตอบสนองนโยบายและความตอ้ งการของประชาชน โดยเนน้ การจดั เวที ชาวบ้าน การจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนการจัดการความรู้ในชุมชน การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ของ ประชาชนในชุมชน ดังนั้นการประเมินผลการจัดกิจกรรมโครงการ จึงเป็นการสรุปผลการดำเนินงานของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอปา่ ซาง จงั หวดั ลำพนู รายงานผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพนี้ สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาการจัด กิจกรรมในครั้งต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพเพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรมได้อย่างครบถ้วนตาม วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ (PDCA) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอป่าซางหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อค้นพบและ ข้อเสนอแนะจากการประเมินระดับความสนใจของผู้รับบริการดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้งานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยต่อไป ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปา่ ซาง
สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 1. การศึกษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ิต 1 1 บทนำ 2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 ขอบเขตโครงการ 2 งบประมาณ 3 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั 7 วิธีการดำเนนิ งาน สรปุ /ปัญหา/ข้อเสนอแนะ 8 8 2. การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน 8 บทนำ 9 วัตถปุ ระสงค์ 11 ขอบเขตของโครงการ 11 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั 12 วธิ กี ารดำเนนิ การ 14 ผลการดำเนินงาน 15 สภาพปญั หาท่พี บ/ปัญหาอปุ สรรค/ขอ้ เสนอแนะ แบบประเมินความพึงพอใจ 17 17 3. การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 17 ตอนที่ 1 บทนำ 20 - บทนำ 20 - วัตถุประสงค์ 22 - ขอบเขตของโครงการ 22 ตอนที่ 2 การจดั กิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ 22 - สำรวจความต้องการพื้นฐาน 22 - วิธีดำเนินการ - การดำเนินกิจกรรม
- การประเมนิ ผล 24 - การนเิ ทศติดตามผล 24 ตอนท่ี 3 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน 25 - สภาพการดำเนินงาน 25 - ผลการดำเนนิ งาน 25 - ขอ้ เสนอแนะ 28 - แบบรายงานผลการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง 29 - ประเมนิ ความพึงพอใจ 31 ภาคผนวก 33 - ภาพกิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวิต 34 - ภาพกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 40 - ภาพกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 42
1 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชีวิต 1. บทนำ ตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายส่งเสริม สนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบ ที่มี สาระสอดคลอ้ งกับบริบทชุมชนและความต้องการของชมุ ชน โดยจัดกิจกรรมการศึกษาท่ีมุ่งเนน้ การจดั ตงั้ ชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมด้านกีฬา ศิลปะ ดนตรี ศิลปะการแสดง และความสามารถพิเศษต่างๆ ที่มุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหม ายมี ความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังสามารถใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ความสามารถของ บุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความสุขตามสภาพ และความสงบสุข ความปลอดภัย ในสังคม การจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต เปน็ การใหค้ วามสำคญั กับการพัฒนาคนให้มคี วามรู้ เจตคตแิ ละทักษะที่ จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างมีความสุข กระบวนการจัดกิจกรรมทักษะชีวิต เป็นการใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยให้กลุ่มเป้าหมายให้ฝึกคิด วิเคราะห์ เช่น การให้ชุมชนร่วมคิด เพื่อกำหนดเป็น เนอ้ื หาที่จะนำมาพฒั นาทักษะชวี ติ เมอื่ คดิ แล้วตอ้ งมกี ารฝึกปฏิบัตจิ ริง คอื ลงมอื ทำ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรทู้ ีน่ ำไปสู่การ จำ หากทำแล้วประสบปัญหาต้องฝึกกระบวนการแก้ปัญหา ให้กับกลุ่มเป้าหมาย เมื่อกลุ่มเป้าหมายผ่านกระบวนการ 4 ขัน้ ดงั กลา่ ว กจ็ ะสามารถพัฒนาทกั ษะชวี ติ ของตนเอง ครอบครัวชุมชน และสังคมไดต้ อ่ ไป 2. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพอื่ ให้กลมุ่ เป้าหมาย มีทักษะความรู้ ในการพัฒนาตนเอง สังคม ชุมชน และครอบครัว 2. เพ่ือให้กล่มุ เป้าหมายเกดิ ทักษะและเทคนิคในการปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัยจากโรคโควดิ - 19 3. เพอื่ ให้กล่มุ เปา้ หมาย สามารถนำความรู้ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของตนเอง
2 3. ขอบเขตของโครงการ 3.1 ดา้ นเน้อื หา ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้มีการออกแบบเนื้อหาของการจัดกิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับ กลุ่มเปา้ หมาย /ผ้รู ับบริการในครั้งนซี้ ง่ึ เป็นผสู้ ูงอาย/ุ ประชาชนผสู้ นใจ กศน.ตำบล จงึ เลอื กเนือ้ หากจิ กรรมโดยแบ่งเป็น การเรียนรเู้ กีย่ วกบั ทักษะในการดำรงค์ชวี ิตในรปู แบบต่างๆและความรู้ในเรื่องของการป้องกันตนเองและห่างไกลจาก เช้ือไวรสั โควิค-19 เพ่อื จะไดน้ ำความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรม/ฝึกปฏบิ ัตแิ ละนำไปใช้เพ่ือพัฒนาสุขภาพของตนเอง โดย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน 3.2 ดา้ นระยะเวลา จดั กิจกรรมระหวา่ ง ไตรมาสที่ 1 เดือน ตุลาคม 2563 ถึง ไตรมาสท่ี 4 เดือน กันยายน 2564 ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการจัดกิจกรรมครงั้ น้ี ไดม้ ีการประชาสัมพนั ธก์ ารจัดกิจกรรม และมผี สู้ งู อาย/ุ ประชาชนที่สนใจ เขา้ ร่วมกจิ กรรม รวมท้ังสน้ิ 421 คน 4. งบประมาณ งบประมาณในการจัดกจิ กรรม การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ จำนวน 34,478.-บาท (- สามหมืน่ สี่พันสรี ้อย เจ็ดสิบแปดบาทถ้วน -) 5. ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ เทคนิค สามารถพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น เกิด ประสบการณ์ ทักษะชีวิตเป็นการสนับสนุนให้มี พฤติกรรมสุขภาพที่ดี มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคลและการมี สขุ ภาพจิตที่ดีและสามารถปฏิบัตติ นในการป้องกนั การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid–19) ได้ดว้ ยตนเอง
3 6. วิธีดำเนนิ การ 1. สำรวจความตอ้ งการพน้ื ฐาน (plan) กศน.ตำบลทั้ง 9 ตำบล ได้สำรวจความต้องการในชุมชนตามโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิตและจัดทำแผนงานการจัดกิจกรรมโครงการฯ เพือ่ แกไ้ ขปญั หาและสอดคล้องต่อความต้องการของผู้เรียน ประชุม กลุ่มย่อยสำหรับผู้ที่มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม/ร่วมรับบริการตามหลักสูตร เพื่อกำหนดหลักสูตรและออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงการกำหนดระยะเวลาเพื่อจัดกิจกรรมฯเสนอต่อศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอำเภอปา่ ซาง เพือ่ ขออนุมตั ิโครงการและจดั กจิ กรรมใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมายตามกำหนดการ 2. ดำเนนิ การจัดกิจกรรม (Do) การจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ ของกศน.ตำบลทง้ั 9 ตำบล ของ กศน.อำเภอปา่ ซาง จังหวัด ลำพนู เรมิ่ จดั กจิ กรรม ตามไตรมาส 1-4 เดอื น กันยายน 2564 โดยมีภาคีเครือขา่ ยของแต่ละตำบล เป็นวิทยากรผ้สู อน 3. ขั้นตรวจสอบ (Check) กศน.ตำบลทั้ง 9 ตำบลได้ร่วมกับ บุคลากรของ กศน.อำเภอป่าซาง ครูอาสาสมัครในพื้นที่ตำบลองค์กร เครือข่าย ผู้นำชุมชน ประธานกลุ่ม ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้าราชการ กศน.อำเภอป่าซาง/ครูอาสาสมัคร กศน./ประธาน อสม. ออกเย่ียม/นิเทศ ติดตาม / ผลการจัดกจิ กรรมระหวา่ งการดำเนนิ กจิ กรรม รวมถงึ การประเมนิ ผลทงั้ ด้านผู้ที่เข้า รับการอบรมและด้านกิจกรรมตามหลกั สูตร ในการนิเทศติดตาม กระบวนการจัดกิจกรรมตามหลักสูตรที่วางแผนการจัดกิจกรรมที่กำหนดไว้ เพื่อนำผล การนิเทศตดิ ตามมาวเิ คราะหใ์ นการพฒั นาปรบั ปรุงในการจดั กจิ กรรมคร้ังตอ่ ไป 4. ขัน้ ปรบั ปรงุ แก้ไข/พฒั นา (Action) ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน จากการนิเทศติดตามผู้เรียน/วิทยากรในระหว่างการดำเนินกิจกรรมการ เรียนการสอน พบว่าสื่อ/วัสดุและอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม ไม่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมและระยะเวลาในการจัด กิจกรรมค่อนข้างจำกัดและผู้เรียนยังมาไม่ตรงตามเวลานัดหมายและสรุปผลการจัดกิจกรรมเพื่อมอบวุฒิบัตรให้แก่ผู้ ผา่ นการตอบแบบทดสอบตามหลกั สูตร และการติดตามผลการนำไปใช้ของผูผ้ า่ นการเขา้ ร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะ/ในการแกไ้ ขปัญหา ควรมีการปรับปรุงด้วยการยืดหยุ่นในด้านเนื้อหาตามเวลาอันสมควรในการจัดกิจกรรมคร้ังต่อไป ควรมีการ เพ่มิ ระยะเวลาในการฝึกอบรม/ปฏิบัตใิ ห้เกดิ ทกั ษะในการเรยี นรู้และปฏบิ ัตเิ พ่ิมขึน้
4 5. การประเมินผล การประเมินผลจากผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมทัง้ หมด จำนวน 421 คน ในการจัดกิจกรรมระหว่างไตรมาสที่ 1 - ไตรมาสที่ 4 ด้วยวิธีการกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพื่อจะนำไปใช้ในการประเมินผลของการจัดกิจกรรม ดงั กลา่ ว และนำผลไปใชใ้ นการปรับปรุงพัฒนา เพ่อื ใช้ในการจัดกจิ กรรมครงั้ ตอ่ ไป เครื่องมือในการเก็บข้อมูล 5.2.3 แบบสงั เกตพฤติกรรม 5.2.5 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ แหล่งข้อมูลทต่ี ้องการ ในการออกแบบหลักสูตรการจัดกิจกรรมได้มกี ารนำข้อมูลที่ได้จากวิทยากร/ภูมปิ ัญญา มาถอดองค์ ความรู้เพอื่ ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่มี คี วามเหมาะสมกับผูท้ เ่ี ขา้ รับการอบรม วิธีการเกบ็ ข้อมลู แบบประเมินความพงึ พอใจ การวิเคราะหข์ อ้ มลู มวี ิธีการวิเคราะห์ ในการเกบ็ สถติ ไิ ด้มีการใชส้ ถติ ิโดยคำนวณออกมาเปน็ ค่าร้อยละ 6.1 สภาพการดำเนนิ งานโครงการ ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติตามหลักสูตรของกิจกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถนำไปขยายผลในการต่อยอดการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การดูแลสุขภาพ ของตนเอง/คนในครอบครัวให้เหมาะสมกับวัย การดูแลตนเอง/คนในครอบครัวเมื่อยามเจ็บป่วย เป็นต้น ทั้งนี้ยัง เปน็ การนำไปใช้ในชีวิตประจำวันไดจ้ รงิ 6.2 ผลดำเนนิ งานโครงการ 6.2.1 จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ในการจัดกิจกรรมครัง้ น้ีมีผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมทั้งหมด 421 คน ( ชาย 89 คน หญิง 332 คน) แยกเป็น รายตำบลและไตรมาสดังนี้
5 ไตรมาส 1- 2 กิจกรรม/โครงการ งบ ผล สถานท่ี วัน เดือน ปี ท่ี ประมาณ 2,760 1 โครงการส่งเสริมการสร้างสุขภาพและนนั ทนาการ 25 อบต.บา้ นเรอื น 2 ธนั วาคม ใหก้ บั ผู้สูงอายตุ ำบลบ้านเรอื น การทำอาหารเพื่อ 2,632 2563 สุขภาพ(ข้าวต้มมัด) 2,625 26 รพสต.ตำบลแมแ่ รง 23 ธันวาคม 2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผสู้ งู อายุ หลกั สตู รอบรมผู้ 2,565 สงู วยั หา่ งไกลภาวะซมึ เศรา้ ม.8 ต.แมแ่ รง 2563 2,750 3 กจิ กรรมให้ความรเู้ กีย่ วกับความปลอดภัยในชีวติ 25 ศาลาเอนกประสงค์ 24 ธันวาคม ทรัพยส์ นิ และความปลอดภัยในทอ้ งถนน 2,710 2,750 บ้านไร่ปา่ คา ม.13 2563 2,700 ต.ทา่ ตุ้ม 4 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกย่ี วกับการป้องกันการ 2,773 27 รพสต.หว้ ยออ้ ม.2 ต. 25 ธันวาคม แพรร่ ะบาดของการตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID-19) นำ้ ดบิ อ.ป่าซาง จ. 2563 5 กิจกรรมส่งเสริมด้านการดูแลสขุ ภาพผูส้ ูงอายุ ลำพูน 25 สาลาเอนกประสงค์ 14 มกราคม บ้านนำ้ ยอ้ ย ม.10 2564 ต.นครเจดยี ์ 6 กิจกกรมอบรมให้ความรู้เรื่อง ชีวติ วิถีใหม่ (New 26 รพ.สต.ปากบ่อง ม.4 9 กุมภาพนั ธ์ normal) ปลอดภยั จากโควดิ -19 ต.ปากบอ่ ง 2564 7 กิจกรรมรณรงคป์ ้องกัน และดแู ลสุขภาพจากภัย ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ 2.5 ไมครอน PM 2.5 25 ศูนยด์ ูแลผ้สู ูงอายุ 19 8 โครงการปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม ลดเสย่ี ง โรค และ และผู้พิการ ม.4 กุมภาพันธ์ สง่ เสรมิ การออกกำลงั กายเพื่อสขุ ภาพ ต.ปากบ่อง 2564 9 กจิ กกรมอบรมให้ความรเู้ ร่ือง ชวี ิตวิถีใหม่ (New normal) ปลอดภัยจากโควิด-19 30 บา้ นไรน่ ้อย ต.ม่วง 9-20 นอ้ ย อ.ปา่ ซาง กุมภาพันธ์ 2564 25 ณ บา้ นหนงั สือชมุ ชน 25 บา้ นมะกอก ม.4 ต. กุมภาพันธ์ มะกอก อ.ปา่ ซาง 2564
6 ไตรมาส 3-4 กิจกรรม/โครงการ งบ ผล สถานท่ี วนั เดอื น ปี ที่ ประมาณ 1 การผลติ เจลล้างมือแอลกอฮอล์ 1,143 15 บ้านศรชี มุ ม.4 21 ตำบลบา้ นเรอื น พฤษภาคม 2564 2 การผลติ เจลลา้ งมือแอลกอฮอล์ 1,143 15 บ้านหนองสมณะใต้ 21 พฤษภาคม 2564 3 การผลติ เจลล้างมอื แอลกอฮอล์ 1,143 15 กศน.ตำบลปา่ ซาง 21 พฤษภาคม 2564 4 การผลิตเจลล้างมือแอลกอฮอล์ 1,143 20 รพ.สต.ปากบอ่ ง 24 พฤษภาคม 2564 5 การผลิตเจลลา้ งมือแอลกอฮอล์ 1,143 20 บา้ นไร่ 24 ตำบลม่วงน้อย พฤษภาคม 2564 6 การผลิตเจลล้างมือแอลกอฮอล์ 1,143 20 ศาลาเอนกประสงค์ 1 บา้ นนำ้ดิบเหนอื ต. พฤษภาคม น้ำดิบ 2564 7 การผลติ เจลล้างมือแอลกอฮอล์ 1,143 25 บา้ นพระบาท 1 ตำบลมะกอก พฤษภาคม 2564 8 การผลิตเจลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ 1,143 26 รพ.สต.บ้านมงคลชัย 25 ตำบลทา่ ต้มุ พฤษภาคม 2564 9 การผลติ เจลล้างมอื แอลกอฮอล์ 1,143 28 บา้ นดอนตอง ตำบล 1 แม่แรง มถิ ุนายน 2564
7 7. สรปุ /ปญั หา/ข้อเสนอแนะ 1. จดุ เดน่ ของแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมคร้งั น้ี ในการจดั กจิ กรรมในครง้ั นี้ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมให้ความสนใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมเป็นอย่างดี ประกอบกบั การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูต้ ามหลักสูตรและเปน็ การเรยี นรู้ที่ เหมาะกับการจัดกจิ กรรมในช่วงชอง การติดต่อของเชอื้ โควิค-19 และฝุ่นละออง PM 2.5 เป็นกิจกรรมท่ีตรงกบั ความต้องการและความสนใจของผูเ้ รยี น และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้จริง 2. จุดทีค่ วรพฒั นาของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมครง้ั น้ี ควรมกี ารติดตามเพ่ิมเติมในเรื่องเก่ียวกับกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลกั สูตร การ เรียนการสอนและการนำความร้ทู ่ไี ดห้ ลังเสร็จสิ้นการอบรมไปใชป้ ระโยชน์ในชุมชน 3. ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมคร้ังต่อไป ควรมกี ารนำหลักสตู รไปพฒั นาขยายผลต่อไป เชน่ การทำหนา้ กากอนามยั เพ่ือสง่ ผลถงึ การ ดแู ลสขุ ภาพของคนในครอบครวั ในช่วงวัยต่าง ๆ ในขณะท่ีมีการระบาดของโรคโควิด - 19 และการเช่อื มต่อเครือข่าย WIFI ของ กศน.ตำบล เปน็ ต้น
8 สรปุ ผลการดำเนินงาน การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 1. บทนำ จากนโยบายเร่งด่วน ที่เน้นจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาสังคม โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน บูรณาการความรู้และทักษะการดำรงชีวิต เพ่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ นำไปสู่สังคมที่เข้มแข็ง มีความเอื้ออาทรต่อกัน และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยเป้าหมายในการจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนาสงั คมและชุมชนเปน็ การจัดการศึกษาท่ีมงุ่ ใช้กระบวนการศึกษาเปน็ เคร่ืองมือในการพัฒนาสังคมและชุมชนให้มี ความเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีความเอื้ออาทร มีคุณธรรม จริยธรรม สืบทอดวัฒนธรรม และภมู ิปญั ญา ประชาชนมีส่วนรว่ มในการดูแลทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และกำหนดทิศทางการพฒั นาของ สังคมและชุมชนตามแนวทางในระบอบประชาธิปไตย โดยจัดกิจกรรม 5 ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง ด้าน สังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านศิลปวัฒนธรรม การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน เป็นการจัดการศึกษาท่ี บูรณาการความรู้และทักษะจากการศึกษาทผ่ี ูเ้ รยี นมีอยูห่ รือได้รับจากการเข้ารว่ มกจิ กรรม การศกึ ษานอกโรงเรียนโดย มีรูปแบบการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย โดยใช้ชุมชนเปน็ ฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และทนุ ทางสังคมเป็นเครื่องมือในการ จัดการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชนให้มีความเขม้ แข็ง สามารถพง่ึ พาตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและ ประชาชนอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ ตามวถิ ีทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มท่ีดี มีการพัฒนาทย่ี ่ังยนื ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอป่าซาง ได้เล็งเห็นความสำคัญและ ประโยชน์ของกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนและการสร้างสังคมที่ดี จึงได้มีการจัดทำโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ในพื้นที่ กศน.ตำบลทั้ง 9 ตำบล รวมทั้งหมด 18 กิจกรรม เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนในพน้ื ทอ่ี ำเภอปา่ ซางเปน็ พลเมืองที่ดี และชว่ ยพัฒนาประเทศชาติในโอกาสตอ่ ไป 2. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปลูกฝังความเป็นพลเมืองดี ภายใต้หลักการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย
9 2. เพื่อให้ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม/ผู้รบั บริการได้รับความรู้เกีย่ วกับการป้องกันผลกระทบและปรบั ตัวตอ่ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศและภัยพิบัตธิ รรมชาติ รวมถงึ การตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว การกำจดั ขยะและมลพษิ ในเขตชุมชน 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ผู้รับบริการได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวตั กรรมดา้ นเกษตรกรรมท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของพื้นท่ีและความต้องการของตนเอง สงั คมและชุมชนต่อไป 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ผู้รับบริการได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแพร่ระบาดและการป้องกันตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน จากปญั หาโรคติดตอ่ 3. ขอบเขตของโครงการ 3.3 ด้านเน้ือหา ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้มีการออกแบบเนื้อหาของการจัดกิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับ กลุ่มเป้าหมาย /ผู้รับบริการในครัง้ น้ีเป็นหลกั สูตรที่เน้นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่เน้นการบูรณา การเนื้อหาสาระภาคทฤษฎีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำความรู้และนำไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวัน ไดจ้ รงิ อย่างมคี ุณภาพและมีคุณธรรมจริยธรรม ด้านระยะเวลา ไตรมาส 1-2 1. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความรดู้ ้านศาสนพิธี วันที่จดั กิจกรรม 7 ธนั วาคม 2563 2. อบรมส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพผู้นำชมุ ชนเรยี นรูเ้ รื่องประชาธปิ ไตยสู่ชุมชน วันท่จี ัดกจิ กรรม วันที่ 16 ธนั วาคม 63 3. อบรมใหค้ วามรเู้ ร่ืองการสร้างความตระหนักในวิถีประชาธิปไตยในชุมชนรณรงค์ไม่ขายเสียง วันที่ จดั กจิ กรรม 16 ธันวาคม 2563 4. อบรมสง่ เสรมิ การพัฒนาศักยภาพผู้นำชมุ ชนเรยี นรเู้ รื่องประชาธปิ ไตยสชู่ ุมชน วนั ที่จดั กิจกรรม วันที่ 18 ธนั วาคม 2563 5. การสร้างความตระหนกั ในวิถีประชาธปิ ไตยในชุมชน วนั ท่จี ัดกจิ กรรม 18 ธนั วาคม 2563 6. อบรมให้ความรู้เกย่ี วกบั การป้องกนั ภยั หมอกควนั PM 2.5 วันทีจ่ ัดกิจกรรม 24 ธนั วาคม 63 7. กจิ กรรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 วนั ที่จัดกจิ กรรม 14 กุมภาพันธ์ 2564 8. การฝกึ อบรมประชาชนท่วั ไปการทำแอลกอฮอล์ล้างมือ COVID – 19 วนั ทีจ่ ดั กิจกรรม วนั ท่ี กุมภาพันธ์ 2564 9. กจิ กรรมเฝ้าระวังปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรน่า2019 COVID - 19 อันตรายจากฝุ่นละออง pm 2.5 วนั ทจี่ ดั กจิ กรรม วนั ท่ี มนี าคม 2564
10 ไตรมาส 3-4 1. กิจกรรมให้ความรกู้ ารคดั แยกขยะ สถานที่ กศน.ตำบลป่าซาง วนั ท่ีจัดกจิ กรรม 2. กิจกรรมให้ความรู้การคดั แยกขยะ สถานที่ ศาลาเอนกประสงค์บ้านหนองผำ ม.4 ต.ปากบอ่ ง วันท่ีจัดกจิ กรรม 3. กิจกรรมให้ความรู้การคดั แยกขยะ สถานที่ ศาลาเอนกประสงค์บา้ นน้ำดิบน้อย ต.น้ำดิบ วันท่ีจัดกจิ กรรม 4. กิจกรรมการทำกระถางตน้ ไม้จากเศษผ้า สถานที่ ศาลาเอนกประสงค์บ้านหนองสมณะใต้ ต.นครเจดยี ์ วันท่ีจดั กิจกรรม 5. กิจกรรมจดั การสิ่งแวดลอ้ มเพอื่ ป้องกนั ระบาดโรคไข้เลือดออกและชิคนุ กุนยา่ สถานที่ ศาลา เอนกประสงค์บ้านดอนตอง วนั ทจี่ ดั กิจกรรม 6. กจิ กรรมการออกแบบผลติ ภณั ฑ์หมอนรองนั่ง สถานที่ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนบา้ นพระบาท ม.6 ต.มะกอก วันทีจ่ ดั กิจกรรม 7. กจิ กรรมการออกแบบผลิตภณั ฑจ์ ากผา้ ทอมือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเหล่า สถานที่ กล่มุ วิสาหกิจ ชมุ ชนบา้ นเหลา่ 1233 ม.2 ต.บา้ นเรือน วันท่จี ัดกจิ กรรม 8. กจิ กรรมอบรมพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผา้ ทอใยกล้วยกลมุ่ วิสาหกิจชุมชน บา้ นรอ่ งชา้ ง สถานที่ กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน บา้ นร่องช้าง ตำบลท่าตุ้ม วนั ทจี่ ดั กจิ กรรม 9. กจิ กรรการอบรมคัดแยกขยะต้นทางเพื่อชุมชนปลอดขยะรกั ษาสงิ่ แวดล้อม สถานที่ ศาลาเอนกประสงค์บ้านไร่น้อย ตำบลมว่ งน้อย วนั ทจ่ี ัดกจิ กรรม 3.4 ด้านประชากรและกลมุ่ เป้าหมาย ในการจัดกิจกรรมครง้ั น้ี ได้มีการประชาสัมพนั ธ์การจัดกิจกรรม และได้มีผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม 461 คน เชงิ ปริมาณ 1.กลุม่ ผ้นู ำ/อสม/กภู้ ยั /อส.ตร/ผดู้ แู ลผพู้ กิ าร/ประชาชนทว่ั ไป จำนวน 461 คน เชงิ คณุ ภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ผู้รับบริการ ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปลูกฝังความเป็นพลเมืองดี ภายใต้หลักการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ ธรรมชาติ รวมถงึ การตระหนักถงึ ความสำคัญของการสรา้ งสังคมสีเขยี ว การกำจดั ขยะและมลพษิ ในเขตชมุ ชน เรียนรู้ เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมด้านเกษตรกรรมทีเ่ หมาะสมกับบริบทของพื้นที่และความต้องการ ของตนเอง สังคมและชมุ ชนต่อไป
11 4. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ผูร้ ับบริการ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลกั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปลูกฝังความเป็นพลเมืองดี ภายใต้หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย มี ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ รวมถึง การตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว การกำจัดขยะและมลพิษในเขตชุมชน เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมด้านเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และความต้องการของตนเอง สังคมและชุมชน 5. วธิ ดี ำเนนิ การ 5.1. ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 5.1.1 สำรวจขอ้ มลู พ้นื ฐาน/วเิ คราะหค์ วามต้องการชมุ ชน 5.1.2 .จดั เวทเี สวนา แนะแนวการจัดกิจกรรม 5.1.3 เสนอโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน 5.1.4 แตง่ ต้งั คำส่ังฯ 5.1.5 จดั กิจกรรมตามโครงการ 5.1.6 นิเทศติดตาม 5.1.7 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน 5.2 เคร่อื งมือในการเก็บข้อมูล 5.2.1 แบบทดสอบ 5.2.2 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 5.3 แหล่งข้อมูลที่ตอ้ งการ 5.3.1 วทิ ยากร / ภมู ิปัญญาในทอ้ งถ่นิ 5.4.2 ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม 5.4 วธิ กี ารป้อนข้อนข้อมลู 5.4.1 ตารางแสดงจำนวนรอ้ ยละของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมท่ีมคี วามรู้ความเขา้ ใจและทักษะทไี่ ดร้ ับ ตารางความพึงพอใจผ้เู ข้ารว่ มโครงการและตารางความคดิ เหน็ ของผู้เข้ารว่ มโครงการเกย่ี วกับการนำไปใชป้ ระโยชน์ 5.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล 5.5.1 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้รอ้ ยละ (Percentage)
12 6. ผลการดำเนินงาน 6.1 ผลการดำเนินงาน 6.1.1 งบประมาณที่ใช้ 82,400.- บาท 6.1.2 เปา้ หมาย/ผลการดำเนินงาน/วันทจี่ ัดกจิ กรรม/สถานท่ี ที่ กิจกรรม เป้าหมาย ผลการ งบประมาณ สถานที่ ดำเนนิ งาน ไตรมาสท่ี 1-2 16 6400 วดั ร่องช้างพญาวนั ต.ท่า 1 กจิ กรรมส่งเสรมิ ความรดู้ า้ นศาสนพิธี 16 39 ตมุ้ 30 2 อบรมสง่ เสรมิ การพฒั นาศักยภาพผู้นำ 16 6400 ศาลาเอนกประสงคว์ ดั บ้าน ชุมชนเรียนรเู้ รอ่ื งประชาธิปไตยสูช่ มุ ชน 40 หนองสะลีก ม.3 ต.ปาก 16 บ่อง 3 อบรมให้ความรู้เรือ่ งการสร้างความ 17 30 ตระหนกั ในวถิ ีประชาธิปไตยในชมุ ชน 40 6400 ศาลาเอนกประสงค์บา้ นก่วิ รณรงคไ์ มข่ ายเสยี ง 16 ม่นื ม.8 ตำบลมะกอก 16 34 4 อบรมสง่ เสริมการพัฒนาศกั ยภาพผนู้ ำ 16 30 6400 ศาลาเอนกประสงคว์ ดั บ้าน ชุมชนเรยี นรู้เรือ่ งประชาธิปไตยสชู่ ุมชน 16 45 หนองหอย ม.5 ต.ป่าซาง 30 5 การสร้างความตระหนักในวถิ ี 6800 ศาลาเอนกประสงค์บ้าน ประชาธิปไตยในชมุ ชน ปางกองตนั ม.4 ต.นคร เจดีย์ 6 อบรมให้ความรูเ้ ก่ียวกับการป้องกันภัย หมอกควัน PM 2.5 6400 ศาลาเอนกประสงคบ์ ้าน ห้วยออ้ ม.2 ต.น้ำดิบ 7 กจิ กรรมฝกึ อบรมใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั โรค โควิด-19 6400 ศาลาเอนกประสงค์บา้ นไร่ นอ้ ย ต.ม่วงน้อย อ.ป่าซาง 8 การฝกึ อบรมประชาชนทั่วไปการทำ แอลกอฮอลล์ ้างมือ COVID - 19 6400 ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ น ดอนน้อย ม. 9 ต.แม่แรง 9 กจิ กรรมเฝ้าระวงั ป้องกันโรคไวรสั โคโรนา่ 2019 COVID - 19 อนั ตรายจากฝนุ่ 6400 ศาลาเอนกประสงค์บา้ นศรี ละออง pm 2.5 ชมุ ตำบลบ้านเรือน
13 ที่ กจิ กรรม เป้าหมาย ผลการ งบประมาณ สถานที่ ดำเนนิ งาน ไตรมาสที่ 3-4 6 2400 กศน.ตำบลป่าซาง 1 กจิ กรรมให้ความรกู้ ารคัดแยกขยะ 6 15 2400 ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ น 2 กิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ 7 20 7 15 หนองผำ ม.4 ต.ปากบ่อง 3 กิจกรรมให้ความร้กู ารคดั แยกขยะ 7 15 2400 ศาลาเอนกประสงค์บ้านน้ำ 7 28 4 กิจกรรมการทำกระถางต้นไม้จากเศษผ้า 7 20 ดิบนอ้ ย ต.นำ้ ดบิ 15 2800 ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ นห 5 กจิ กรรมจัดการสงิ่ แวดล้อมเพื่อป้องกัน 7 ระบาดโรคไข้เลือดออกและชิคนุ กนุ ยา่ 7 15 นองสมณะใต้ ต.นครเจดีย์ 25 2800 ศาลาเอนกประสงค์บ้าน 6 กจิ กรรมการออกแบบผลิตภณั ฑห์ มอน รองนัง่ ดอนตอง 2840 กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนบา้ น 7 กจิ กรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ทอมือกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนบ้านเหล่า พระบาท ม.6 ต.มะกอก 2800 กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนบา้ น 8 กิจกรรมอบรมพฒั นาบรรจภุ ัณฑ์ผ้าทอใย กล้วยกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน บา้ นร่องชา้ ง เหลา่ 1233 ม.2 ต. บา้ นเรอื น 9 กิจกรรการอบรมคัดแยกขยะตน้ ทางเพ่ือ 2800 กลมุ่ วิสาหกิจชุมชน บ้าน ชุมชนปลอดขยะรักษาส่ิงแวดล้อม ร่องช้าง ตำบลทา่ ตุ้ม 2800 ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ นไร่ น้อย ตำบลมว่ งน้อย
14 สภาพปญั หาท่ีพบ/ปญั หาอุปสรรค ในการจดั กิจกรรมในครั้งนี้ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมเปน็ อยา่ งดี ประกอบกบั การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสตู ร ผเู้ ขา้ รบั การอบรมได้เขา้ รว่ มออกแบบกจิ กรรมใหต้ รงกับความต้องการ และความสนใจของตนเองและวทิ ยากร การจดั กจิ กรรมในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ (covid-19) มอี ปุ สรรคในการรวมตัวจดั กจิ กรรม และต้องปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครดั ขอ้ เสนอแนะ งบประมาณค่อนขา้ งน้อย ทำใหจ้ ดั ซอ้ื วัสดฝุ ึกได้น้อย ไม่สมั พันธ์กบั ระยะการฝกึ อบรมและจำนวนผู้เขา้ ร่วม กจิ กรรมควรมีการเพม่ิ งบประมาณในการจัดซื้อวัสดุให้มากขึน้
15 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ที่ กจิ กรรม มากท่ีสุด ระดับความพึงพอใจ ดา้ นหลกั สตู ร มาก ปาน กลาง นอ้ ย น้อยท่สี ดุ 1 ท่านมสี ่วนรว่ มในการเสนอความตอ้ งการและวางแผน 381 80 การจัดกจิ กรรมตามหลกั สูตรน้ี 372 89 2 เนอ้ื หาของหลกั สตู ร มคี วามเหมาะสมและตรงกับความต้องการของท่าน 371 90 ด้านสอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ 352 109 365 96 3 สื่อ/วสั ดุอุปกรณ์ประกอบกจิ กรรมการเรยี นร้มู อี ย่างหลากหลาย 370 91 4 ทา่ นไดใ้ ช้ทรัพยากร แหลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ัญญา 5 ทา่ นได้รับการแนะนำใหใ้ ชแ้ หลง่ เรียนรูแ้ ละภมู ิปญั ญา 370 91 6 สือ่ /วัสดุ อปุ กรณ์ การเรยี นรู้ตรงกับความต้องการ 361 100 361 100 ด้านการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 361 100 7 ผ้สู อนมที ักษะและเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ 362 99 8 ท่านสามารถเรยี นรู้และไดฝ้ กึ ทกั ษะจากการปฏิบตั ิ 369 92 9 มีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ สี่ อดคล้อง 369 92 ด้านคณุ ภาพครูและผู้สอน 369 92 10 ผสู้ อนมีความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์ 359 102 11 ผู้สอนรับผิดชอบการสอนครบตรงตามเวลาที่ 370 91 12 ผสู้ อนมีปฏสิ มั พนั ธ์ที่ดีต่อผ้เู รียน 361 100 13 ผสู้ อนปฏิบัตติ ่อผู้เรยี นด้วยความเสมอภาค 6684 1614 (371) (90) ดา้ นคุณภาพผู้รบั บรกิ าร 80.64 19.36 14 ท่านมีความรู้ ความเข้าใจ ในเนอ้ื หาของกจิ กรรม 15 ทา่ นสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในด้านใด - การหาความรูเ้ พิ่มเติม - การนำความรูไ้ ปเผยแพร่ได้ - นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั รวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ
16 สรุปผลความพึงพอใจ คน มีความพึงพอใจโดยจำแนกตามระดบั ดังนี้ ผ้ตู อบแบบสอบถาม จำนวน จำนวน 371 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.64 ระดับมากทสี่ ุด จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 19.36 ระดบั มาก จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ระดบั ปานกลาง จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ - ระดบั นอ้ ย จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - นอ้ ยที่สดุ คดิ คา่ ร้อยละ ความพงึ พอใจระดบั มากขึ้นไป = ระดับมากข้ึนไปจำนวน 371 คน X 100 = 80.64 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 461 คน สรปุ ผล คอื โครงการ/กิจกรรมนผี้ ูท้ ่ีเข้าร่วมกจิ กรรมที่มีความพงึ พอใจระดับดีมากข้ึนไป อยใู่ นเกณฑ์ร้อยละ 74.44
17 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตอนท่ี 1 1.บทนำ คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจำเป็นและ สมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง พนั ธกจิ 1. จดั และส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคณุ ภาพสอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงและการ ปรบั ตวั ในการดำรงชวี ิต ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมก้าวสูก่ ารเปน็ สงั คมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยนื 2. พัฒนาหลักสูตรรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและ ประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกบั รปู แบบการจัดการเรียนรู้และ บริบท ในปจั จุบัน 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและนำเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส การ เรียนรู้รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับ ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายอย่างทั่วถงึ 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการ สนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบ ต่าง ๆ ให้กับ ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของธรร มาภบิ าล มีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และคลอ่ งตวั มากยง่ิ ข้ึน 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จริยธรรมท่ดี ี เพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรยี นรู้ที่มีคุณภาพมากยิง่ ขน้ึ
18 สำนักงาน กศน. จึงได้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติเพื่อจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพให้ กลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีงานทำอย่างยั่งยืนมีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากลโดยจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนทั่วประเทศซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะทำการจัดการ ศึกษาของ ประเทศและของสำนักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชน และประเทศชาติและจะทำใหก้ ารจดั การศึกษาของประเทศเป็นการจดั การศึกษาตลอดชีวิตอยา่ งแทจ้ ริง นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ 2564 สอดคลอ้ งกบั นโยบาย สอดคล้องกบั นโยบายเรง่ ด่วนเพื่อรว่ มขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 2. สง่ สรมิ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตสำหรับประชาชนทเ่ี หมาะสมกบั ทกุ ช่วงวัย 2.1 ส่งเสริมการจดั การศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทำ ในรปู แบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลติ ภัณฑท์ ีม่ ีคุณภาพ มีความหลากหลายทันสมัยและตอบสนองความต้องการ ของประชาชนผรู้ ับบริการและสามารถออกใบรบั รองความรู้ความสามารถเพ่ือนำไปใชใ้ นการพัฒนาอาชพี ได้ 2.2 ส่งเสริมและยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL) 2.3.ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสม รองรบั สังคมสงู วยั หลักสตู รการพฒั นาคุณภาพชีวิตและสง่ เสริมสมรรถนผู้สูงวัย และหลักสูตรการดูแลผสู้ ูงวัยโดยเน้น การมีส่วนร่วมกับภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ งั คมผสู้ ูงวยั ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง 1.3 การศึกษาตอ่ เนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมี งานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึง การเน้นอาชพี ช่างพื้นฐาน ทสี่ อดคล้องกบั ศักยภาพของผู้เรยี น ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะพ้นื ท่ีมีคุณภาพได้ มาตรฐานเป็นที่ยอมรสอดรับกับความต้องการของ ตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศตลอดจนสร้างความเข้มแขง็ ใหก้ ับศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชนโดยจัดให้มีการสง่ เสรมิ การรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการพัฒนาหน่ึงตำบลหน่ึงอาชีพเด่นการ ประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยมการสร้าง แบรนด์ของกศน.รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจําหน่ายสินค้าและ ผลิตภัณฑ์และให้มีการกำกับติด ตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทำอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะคนพิการผู้สูงอายุ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคลและมุ่งเน้นใหท้ ุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชวี ิต ตลอดจนสามารถประกอบ อาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
19 สามารถเผชญิ สถานการณ์ต่างๆที่เกิดข้นึ ในชวี ิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และเตรยี มพร้อมสำหรับการปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ใน อนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเนือ้ หาสำคัญต่างๆ เช่นการอบรมจิตอาสาการให้ความรู้เพื่อการป้องการการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COMID-19) การ อบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิตการอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การ ปลูกฝงั และการสร้างคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ ความปลอดภัย ในชวี ิตและทรัพยส์ นิ ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพฒั นาทกั ษะชีวิต การจดั ต้งั ชมรม/ชุมนมุ การอบรมส่งเสริมความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ เป็นต้น 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการใน รูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชน นักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรมโดยจัดกระบวนการให้ บคุ คลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลย่ี นเรียนรู้รว่ มกนั สร้างกระบวนการจิตสาธารณะการสร้างจิตสาํ นึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธแิ ละเสรภี าพและรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมืองท่ีดภี ายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมการเป็นจิตอาสาการบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการนำ้ การรับมือกับสาธารณภัยการอนุรักษ์พลังงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มการช่วยเหลือซง่ึ กนั และกัน ในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งผา่ นกระบวนการเรียนรูต้ ลอดชีวิต ในรปู แบบ ต่างๆให้กับประชาชนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ ความเสี่ยง อย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดุลและยัง่ ยืน 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการอา่ นและพัฒนาศักยภาพ การเรยี นรู้ ใหเ้ กดิ ข้ึนในสังคมไทย ให้เกดิ ขนึ้ อยา่ งกว้างขวางและท่วั ถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตำบล หอ้ งสมดุ ประชาชนทกุ แห่งให้ มกี ารบริการท่ีทนั สมยั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ นการสร้างเครือข่ายสง่ เสริมการอา่ นจัดหนว่ ย บริการห้องสมุดเคลอ่ื นทห่ี ้องสมดุ ชาวตลาดพร้อมหนังสอื และอปุ กรณ์เพ่อื จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ท่ี หลากหลายใหบ้ ริการกับประชาชนในพ้นื ทตี่ า่ งๆอยา่ งทั่วถึงสมำ่ เสมอรวมทั้ง เสรมิ สรา้ งความพร้อมในด้านบคุ ลากรส่ือ อุปกรณ์เพื่อสนบั สนนุ การอ่านและการจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การ อา่ น อย่างหลากหลายรูปแบบ 2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ ประชาชนเป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการ ประจำท้องถิ่นโดย จัดทำและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้าง แรงบันดาลใจด้าน วิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ผ่านการ
20 กระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ควบคู่กับเทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์รวมทงั้ สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี บรบิ ทของ ชุมชนและประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลกเพื่อให้ประชาชนมีความรูแ้ ละสามารถนําความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ ในการดำเนินชีวิตการพัฒนาอาชีพการรักษาสิ่งแวดล้อมการบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมี ความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและ รุนแรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อส่งเสริม การ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่หี ลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เชน่ พพิ ธิ ภัณฑ์ ศูนย์ เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมดุ รวมถงึ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ เปน็ ต้น วัตถุประสงคโ์ ครงการ 2.1 เพ่อื สร้างความตระหนักและสำนึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของสถาบนั พระมหากษัตริย์ 2.2 เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้าร่วมกจิ กรรม ได้มโี อกาสเรยี นรู้การปฏิบัตงิ านตามแนวพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9 2.3 เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารว่ มกจิ กรรมได้เรยี นรู้วิถีชีวิต โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถ พ่ึงพาตนเองได้ โดยไดก้ ำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการคือ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมาย มีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การ น้อมนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชีวิตประจำวัน และการความรูค้ วามเข้าใจ และสามารถนำความรูไ้ ปใช้ ในการดำรงชวี ิตในประจำวนั ได้ ขอบเขตของโครงการ 1. ด้านหลกั สตู รเน้ือหา เป็นการประเมินผลเกี่ยวกับความเหมาะสมของวัตถุประสงค์ของโครงการจุดมุ่งหมายของหลักสูตรกิจกรรมที่จัดมี ความเหมาะสมสอดคล้องกับหลักสูตรและเนื้อหามสี ื่อประกอบการเรยี นร้วู ิทยากรผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียนมีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายโดยเน้นที่การปฏบิ ัติจริงรวมทั้งความพึงพอใจของ ผเู้ รยี นเพอ่ื บรรลุเปา้ หมายสำคัญของการจัดการอบรม 1.1 ความรคู้ วามเขา้ ใจ 1.2 ปฏบิ ัติได้นำไปใช้ได้ 1.3 ความพึงพอใจ
21 2. ด้านระยะเวลา จดั กิจกรรมระหว่าง ไตรมาสที่ 1 เดือน ตุลาคม 2563 ถงึ ไตรมาสที่ 4 เดือน กันยายน 2564 3. ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการจัดกิจกรรมคร้ังน้ี ไดม้ ีการประชาสมั พนั ธก์ ารจดั กจิ กรรม ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมจากกลุม่ ประชาชนทว่ั ไป จำนวน 168 คน 4.ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ ผลจากการประเมินครั้งนี้ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมประชาชนกลุม่ เป้าหมาย มีทักษะ ความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน มีความปลอดภัยในการทำงาน และ สามารถนำความร้ไู ปใช้ ในการดำเนินชวี ิตประจำวันได้
22 ตอนท่ี 2 การจดั กิจกรรมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1. สำรวจความต้องการพน้ื ฐาน กศน.อำเภอป่าซาง ได้จัดทำแผนงานและโครงการการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อแก้ไข ปัญหาและสอดคล้องความต้องการของผเู้ รียน เสนอต่อศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอป่า ซาง เพ่อื ขออนุมัตโิ ครงการและจัดกจิ กรรมให้กบั กล่มุ เป้าหมายตามกำหนดการ 2. การดำเนนิ การจดั กิจกรรม การจดั การศกึ ษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6.1 ผลการดำเนนิ งาน 6.1.1 งบประมาณทีใ่ ช้ 67,200.- บาท 6.1.2 เปา้ หมาย/ผลการดำเนินงาน/วันทจี่ ดั กจิ กรรม/สถานที่ ท่ี กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการ งบประมาณ สถานท่ี ดำเนินงาน ไตรมาสท่ี 1-2 1 โครงการพฒั นาพนื้ ทต่ี ้นแบบการพัฒนา 8 15 3600 แหลง่ อนรุ ักษ์โคขาวลำพนู บ้านไรป่ า่ คา หมู่ 13 ต.ทา่ คณุ ภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ตมุ้ อ.ปา่ ซาง จ.ลำพนู ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.ตำบลทา่ ตุ้ม 8 15 3600 45 หมู่ 5 ต.ปา่ ซาง อ.ป่า 2 โครงการพฒั นาพื้นทต่ี น้ แบบการพัฒนา ซาง จ.ลำพนู คณุ ภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.ตำบลป่าซาง 3 โครงการพฒั นาพ้ืนทต่ี น้ แบบการพฒั นา 8 15 3600 ศูนยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกจิ คณุ ภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ พอเพียง หมู่ 2 ต.นคร ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เจดีย์ อ.ป่าซาง จ.ลำพูน กศน.ตำบลนครเจดีย์
4 โครงการพัฒนาพน้ื ที่ตน้ แบบการพฒั นา 8 23 คณุ ภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ 8 ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” 8 15 3600 นางอำนวย บญุ รัตน์ กศน.ตำบลนำ้ ดิบ 8 บ้านเลขท่ี 46/1 หมู่ 5 8 ต.นำ้ ดบิ อ.ปา่ ซาง 5 โครงการพฒั นาพื้นท่ีตน้ แบบการพัฒนา 8 จ.ลำพนู คณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” 15 3600 นายสายฟ้า บุญตอม หมู่ 3 กศน.ตำบลบา้ นเรอื น ต.บา้ นเรอื น อ.ป่าซาง จ.ลำพนู 6 โครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี ้นแบบการพัฒนา คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ 15 3600 ศนู ยเ์ รยี นร้เู ศรษฐกจิ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” พอเพียง หมู่ 1 ต.ปาก กศน.ตำบลปากบ่อง บอ่ ง อ.ปา่ ซาง จ.ลำพูน 7 โครงการพัฒนาพื้นที่ตน้ แบบการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ 15 3600 ศนู ยเ์ รยี นรูเ้ ศรษฐกิจ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” พอเพียง หมู่ 1 ต.มะกอก กศน.ตำบลมะกอก อ.ป่าซาง จ.ลำพนู 8 โครงการพฒั นาพื้นท่ตี น้ แบบการพัฒนา 15 3600 โคกหนองนาโมเดลบ้านไร่ คณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ น้อย หม่ทู ่ี 7 ตำบลม่วง ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” นอ้ ย อำเภอป่าซาง จังหวัด กศน.ตำบลมว่ งน้อย ลำพูน 9 โครงการพฒั นาพ้นื ที่ต้นแบบการพัฒนา 15 3600 โคกหนองนาโมเดลบ้าน คุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ หนองเงือก หมทู่ ี่ 5 ตำบล ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” แม่แรง อำเภอป่าซาง กศน.ตำบลแม่แรง จังหวดั ลำพูน
24 กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลการ งบประมาณ สถานท่ี ดำเนนิ งาน ไตรมาสท่ี 3-4 1 กจิ กรรมการปลูกพชื ผกั สวนครัว 6 15 1,600 กศน.ตำบลน้ำดบิ 2 กจิ กรรมการทำปยุ๋ หมัก 6 15 1,600 กศน.ตำบลนครเจดีย์ 3 กจิ กรรมการปลูกพืชผักสวนครัว 6 15 1,600 กศน.ตำบลบ้านเรอื น 4 กจิ กรรมเพาะเห็ดนางฟ้า 6 15 1,600 โคกหนองนา ตำบลมว่ ง 5 กิจกรรมสรา้ งแหลง่ เรียนรโู้ คกหนองนา น้อย โมเดล การทำปุย๋ หมัก 6 15 1,600 บ้านหนองเงือก หมู่ที่ 5 6 โครงการกระบวนการเรยี นร้ตู ามศาสตร์ ตำบลแม่แรง พระราชาส่กู ารพัฒนาท่ียั่งยนื วิชาการ 6 15 1,600 ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ นไร่ เลย้ี งกบในบ่อซีเมนต์ ป่าคา ตำบลทา่ ตมุ้ 7 กิจกรรมสวนผกั คนเมือง 8 กิจกรรมการปลูกผกั สวนครัว 6 15 1,600 กศน.ตำบลป่าซาง 9 กิจกรรมการปลูกผักบนแปลงเพาะ 6 15 1,600 กศน.ตำบลมะกอก 6 15 1,600 กศน.ตำบลปากบ่อง 3. การประเมนิ ผล การประเมินผลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรม จำนวน 5 ชั่วโมง ด้วยวิธีการกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพื่อจะนำไปใช้ในการประเมินผลของการจัดกิจกรรม ดังกลา่ ว และนำผลไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ พัฒนา เพ่ือใช้ในการจดั กิจกรรมครงั้ ตอ่ ไป 4. การนิเทศติดตามผล นิเทศติดตามหลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จแล้ว ติดตามผลโดยวิธีการไปเย่ียมบ้าน พูดคุยสร้างความคุ้นเคย สังเกตให้คำแนะนำรวมถึงสอบถามปัญหาและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ในเรื่องของอาชีพ ถึงประโยชน์ที่ได้รับ และมีการนำความรแู้ ละทักษะจากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใช้และเผยแพร่โดยการแนะนำให้คนในครอบครัวและชุมชน ตอ่ ไป
25 ตอนท่ี 3 สรุปผลการดำเนนิ งาน 1. สภาพการดำเนนิ งาน กจิ กรรมประชาชนกลุ่มเปา้ หมาย มที ักษะ ความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั การน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ในชวี ติ ประจำวัน และมคี วามร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั การเลยี้ งกบในบอ่ ซเี มนต์ ไดอ้ ย่างถูกต้อง มคี วามปลอดภยั ในการ ทำงาน และสามารถนำความรู้ไปใช้ ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั ได้ 2. ผลการดำเนนิ งาน 2.1 จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมจากกล่มุ ประชาชนทัว่ ไป จำนวน 168 คน 2.2 ความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะท่ีได้รับจากการเขา้ ร่วมโครงการ ตารางที่ 1 จำนวนร้อยละของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ความเขา้ ใจและทักษะท่ีได้รบั คะแนน จำนวน (คน) ร้อยละ ตำ่ กวา่ ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม - - มากกวา่ ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม - - มากกวา่ ร้อยละ 60 ของคะแนนเตม็ - - มากกว่า ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 18 10.71 89.29 มากกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ 150 100 รวม 168 2.3 ความพงึ พอใจผู้เข้าร่วมโครงการ ตารางท่ี 2 ความคิดเหน็ เก่ียวกบั ความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการ รายการคำถาม จำนวน (รอ้ ยละ) ผู้ตอบ รวม 1. ดา้ นหลักสตู ร มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ 168 2. ดา้ นสือ่ และแหล่งเรียนรู้ 159 - 168 3. ดา้ นการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 162 9- - - 168 4. ดา้ นคุณภาพครูและผสู้ อน 157 - 168 5. ดา้ นคณุ ภาพผรู้ บั บริการ 161 6- - - 168 160 - 168 รวม (เฉลี่ย) 799 11 - - - 100 ร้อยละ 94.44 - 7- - 8- - 47 - - 5.56 - -
26 2.4 การนำไปใช้ประโยชน์ ตารางท่ี 3 ความคดิ เหน็ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการเกย่ี วกับการนำไปใช้ประโยชน์ รายการคำถาม จำนวน (รอ้ ยละ) ผตู้ อบ นอ้ ยท่ีสดุ รวม มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย - - 168 1. ลดรายจ่าย 159 9 0 - - 168 - 168 2. ประกอบอาชีพใหม่ 157 11 0 - 100 3. ต่อยอดอาชีพเดิม 144 24 0 - 91.27 8.73 0 - รวม (รอ้ ยละ) ตารางที่ 4 ความคิดเห็นของผเู้ ข้ารว่ มโครงการเก่ียวกับการนำไปใชป้ ระโยชน์จนเป็นตัวอย่างทดี่ ี จำนวน (ร้อยละ) ผู้ตอบ รายการคำถาม มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย รวม กลาง ท่สี ุด 1. นำเอาความรู้ไปประกอบอาชพี 154 12 - - - 168 จนเกิดรายไดเ้ พิ่มขึ้น 2. เผยแพร่ความรู้แก่คนในชมุ ชน 155 13 - - - 168 สงั คมได้ 3. ปฎบิ ัตติ นเป็นแบบอย่างที่ดี จน 158 20 - - - 168 เปน็ ทย่ี อมรับจากคนในสงั คม รวม (เฉลย่ี ) 467 4 - - - 504 รอ้ ยละ 92.66 7.34 - - - 100 3. ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ ตารางท่ี 4 ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ขอ้ คิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ จำนวน รอ้ ยละ
27 ตารางที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์ ผลการ เป้าหมายการบรรลุ บรรลุ ไม่บรรลุ ดำเนนิ งาน หมายเหตุ √ 1. ผเู้ รียนทคี่ าดวา่ จะมคี วามรู้ ร้อยละ 87 ของผ้เู รยี นท่ี ร้อยละ ความสามารถตาม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ √ วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร คาดว่าจะมีความรู้ 89.29 ความสามารถตาม √ วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร ระดบั มากขนึ้ ไป √ 2. ผเู้ รยี นทีม่ คี วามคาดหมาย ร้อยละ 60 ของผู้เรียนที่ ร้อยละ วา่ จะมกี ารนำความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ มีการนำความรู้ที่ไดไ้ ปใช้ ประโยชน์ ประโยชน์ในระดับดมี าก 91.27 ข้นึ ไป 3. ผู้เรียนท่เี ป็นตวั อยา่ งทดี่ ี ร้อยละ 14 ของผู้เรยี นท่ี ร้อยละ หรอื ต้นแบบในการนำความรู้ เป็นตัวอย่างทด่ี ี หรือ ไปใช้ ต้นแบบในการนำความรู้ 92.66 ไปใช้ในระดับดมี ากข้นึ ไป 4. ผเู้ รยี นมีความพงึ พอใจ รอ้ ยละ 80 มีความพึง ร้อยละ หลงั จากเข้ารว่ มกจิ กรรม พอใจหลังจากเขา้ ร่วม กจิ กรรมในระดบั ดมี ากขน้ึ 94.44 ไป
28 3. ขอ้ เสนอแนะ 1. จุดเด่นของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมครง้ั น้ี กิจกรรมการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มี ทักษะ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เน้นให้ผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายได้มีการเรียนรู้โดยการฝึกทักษะการปฏิบัติมากกว่า การเรียนด้วยทฤษฎี จดุ ที่ควรพัฒนาของแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมครง้ั น้ี กลุ่มเปา้ หมายที่ได้รว่ มกันดำเนินงานอยา่ งต่อเนื่อง โดย ชมุ ชนสามารถบริหารจัดการเองสามารถ พึ่งพาตนเองได้ โดยไมม่ ีงบประมาณจากหน่วยงาน ในการสนบั สนนุ มกี ารระดมทุนและทรัพยากรจาก ชมุ ชนรว่ มกนั และความ สามคั คีของกลมุ่ มีการแต่งตั้งคณะทำงาน บริหารจดั การ กลมุ่ และสามารถ เรยี นรูแ้ ก้ไขปญั หาตามสภาพแวดล้อม ของการทำงานร่วมกนั 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นาแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมคร้ังต่อไป 2.1 เพิม่ เตมิ ความรดู้ า้ นทฤษฎี และทกั ษะ ในการจัดทำหลักสูตร ให้กบั ครู กศน. เพอ่ื จดั ทำดว้ ยความ มน่ั ใจและ สามารถวางแผนจัดกจิ กรรมไดอ้ ย่างเป็นระบบ มองเห็นภาพการดำเนนิ งาน และเปา้ หมายการจดั การศกึ ษา 2.2 งบประมาณในการจัดการศึกษามจี ำนวนจำกดั ไม่สอดคลอ้ งกับหลักสูตรและระยะเวลาในการจัด กจิ กรรม
29 แบบ กศ.ตน.26 (๑) แบบรายงานผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอปา่ ซาง 1. การศึกษาตอ่ เนื่องการศกึ ษาเรยี นรปู้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง จำนวน..5...ชว่ั โมง 2. ระยะเวลาดำเนนิ การ จัดกจิ กรรมระหว่าง ไตรมาสที่ 1 เดอื น ตลุ าคม 2563 ถึง ไตรมาสที่ 4 เดือน กันยายน 2564 3. อนมุ ตั ิเบกิ จา่ ยจากงบประมาณ การศกึ ษาเรียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง รหสั 05400010 จำนวน 67,200.บาท 4. วิธกี ารสำรวจความต้องการเรยี น ดำเนินการอยา่ งไร (/) ประชาคม ( ) แนะแนว ( ) สำรวจความตอ้ งการ ( ) อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................................................ 5. จำนวนผู้เรยี นและผผู้ ่านการเรียน/อบรม จำแนกตามอายแุ ละเพศ เพศ ต่ำกวา่ 15 ปี 15-39 ปี 40-59 ปี 60 ปขี ึ้นไป รวม รวมท้งั สิน้ อายุ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผูเ้ รียน - - - 2 8 40 - - 126 42 168 168 จำนวนผู้ผา่ นการฝกึ อบรม - - - 2 8 40 - - 126 42 9. จำนวนผู้เรยี นและผูผ้ า่ นการฝกึ อบรม จำแนกตามกลมุ่ อาชีพและเพศ เพศ รบั พนกั งาน ค้าขาย เกษตรกรรม รับจา้ ง อืน่ ๆ โปรด รวม รวม อายุ ราชการ รัฐวสิ าหกิจ ระบุ ท้ังสิ้น ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ -- -- 113 40 -2 -- -- 126 42 168 -- 113 40 -2 -- 126 42 168 จำนวนผเู้ รียน -- -- -- จำนวนผู้ผ่านการฝกึ อบรม - - 10. จำนวนผู้เรียนและผผู้ า่ นการฝึกอบรม จำแนกตามกลมุ่ เปา้ หมายและเพศ เพศ ผนู้ ำ ผู้สูอายุ ทหารกอง แรงงาน แรงงาน เกษตรกร อสม. กลมุ่ รวม รวม อายุ ทอ้ งถ่ิน ประจำกา ไทย ต่างด้าว สตรี ท้งั ส้นิ ร จำนวนผูเ้ รยี น ชญ ชญ ช ญ ช ญช ญ ช ญ 168 จำนวนผ้ผู ่านการฝึกอบรม -- ช ญช ญ ช ญ -- 13 - - - - - 126 42 168 -- -- 13 - - - - - 126 42 - -- - - 2 - -- - - 2
30 11. จำนวนผ้เู รียนและผู้ผา่ นการฝกึ อบรม แยกตามระดับการศกึ ษาและเพศ (สอดคล้องกบั แบบ กศ.ตน. 22) เพศ ต่ำกวา่ ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย อนุ ปรญิ ญา สงู กว่า รวม รวม อายุ ป.4 ปรญิ ญา ตรี ปรญิ ญา ท้งั ส้ิน ช ญช ญ ช ญ ชญ ชญ จำนวนผู้เรียน ชญ - -3- 6 2 4- ชญชญ ตรี 126 42 168 จำนวนผู้ผ่านการฝกึ อบรม -- --3- 6 2 4- ---- 126 42 168 -- ---- ชญ -- -- 12. การติดตามผู้ผา่ นการฝึกอบรม 12.1 มกี ารตดิ ตามผ้ผู ่านการฝกึ อบรม ( ) ไม่มี เพราะ.................................................................................................................................................. ( / ) มี ดำเนนิ การอยา่ งไร..มีการทำกจิ กรรมอย่างตอ่ เน่ือง 12.2 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจในการจดั โครงการ อย่ใู นระดับใด....ดมี าก.......... 12.3 ผ้ผู ่านการฝึกอบรมไดน้ ำความรู้ไปใชจ้ รงิ เพิ่มรายได.้ ..23 คน ลดรายจ่าย.....134 คน นำไปประกอบอาชีพ.. 11..คน พฒั นาคุณภาพชีวิต..- ..คน ใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน.์ .... .คน อ่ืน ๆ ระบ.ุ ...คน 13. ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ 13.1 ปญั หา อุปสรรค (/ ) ไมม่ ี ( ) มี (โปรดระบ)ุ ............................ 13.2 ข้อเสนอแนะ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
31 แบบประเมินความพึงพอใจ ที่ กิจกรรม มากท่ีสดุ ระดับความพึงพอใจ นอ้ ยทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย ด้านหลกั สูตร 161 ทา่ นมีสว่ นรว่ มในการเสนอความตอ้ งการและวางแผนการจดั 7 163 1 กจิ กรรมตามหลกั สตู รนี้ 5 เน้อื หาของหลักสตู ร มคี วามเหมาะสมและตรงกับความต้องการของ 324 12 2 ท่าน 156 157 12 - ดา้ นส่ือและแหล่งเรียนรู้ 157 11 3 สอ่ื /วสั ดอุ ุปกรณป์ ระกอบกจิ กรรมการเรยี นร้มู ีอยา่ งหลากหลาย 153 11 4 ทา่ นไดใ้ ชท้ รัพยากร แหล่งเรยี นรู้และภมู ิปญั ญา 623 15 - 5 ท่านได้รับการแนะนำใหใ้ ช้แหลง่ เรยี นร้แู ละภูมปิ ญั ญา 49 6 สอ่ื /วัสดุ อปุ กรณ์ การเรยี นรตู้ รงกบั ความต้องการ 147 146 21 ด้านการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 153 22 7 ผสู้ อนมที ักษะและเทคนคิ การถา่ ยทอดความรู้ 446 15 8 ท่านสามารถเรยี นรู้และไดฝ้ ึกทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิ 58 9 มกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ท่สี อดคลอ้ ง 156 157 12 ด้านคุณภาพครูและผสู้ อน 159 11 10 ผสู้ อนมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 168 9 11 ผู้สอนรับผิดชอบการสอนครบตรงตามเวลาที่ 640 - 12 ผู้สอนมีปฏิสมั พันธท์ ่ดี ตี ่อผเู้ รยี น 32 13 ผู้สอนปฏิบตั ิตอ่ ผู้เรยี นดว้ ยความเสมอภาค 156 12 ดา้ นคุณภาพผูร้ ับบรกิ าร 14 ทา่ นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเน้ือหาของกจิ กรรม 15 ทา่ นสามารถนำความรูท้ ีไ่ ดร้ ับไปใช้ประโยชนใ์ นดา้ น
32 - การพัฒนาอาชีพเพอื่ เพ่ิมรายได้ 156 12 - การหาความรเู้ พม่ิ เตมิ 158 10 - การนำความรไู้ ปเผยแพรไ่ ด้ 155 13 625 8 รวม 2658 159 คิดเป็นรอ้ ยละ 94.36 5.64 สรุปผลความพึงพอใจ ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 168 คน มีความพงึ พอใจโดยจำแนกตามระดับ ดงั น้ี ระดับมากท่ีสุด จำนวน 157 คน ระดับมาก จำนวน 11 คน ระดบั ปานกลาง จำนวน - คน ระดับน้อย จำนวน - คน น้อยทีส่ ุด จำนวน - คน คิดค่าร้อยละ ความพงึ พอใจระดบั มากขึ้นไป = ระดับมากขนึ้ ไปจำนวน 157 คน X 100 = 93.45 จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถาม 168 คน สรปุ ผล คือ โครงการ/ กจิ กรรมนีผ้ ูท้ ่เี ข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพงึ พอใจระดบั มากข้ึนไป อยู่ในเกณฑร์ ้อยละ 93.45
33
34 รปู ภาพประกอบกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ โครงการส่งเสริมการสร้างสุขภาพและนันทนาการให้กับผู้สูงอายุตำบลบ้านเรือน การทำอาหารเพื่อสุขภาพ (ข้าวต้ม มดั ) ณ อบต. บา้ นเรอื น การผลิตเจลล้างมอื แอลกอฮอล์ ณ บ้านศรชี ุม ม.4 ตำบลบา้ นเรอื น กิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพผู้สูงอายุ หลกั สตู รอบรมผู้สูงวัยห่างไกลภาวะซมึ เศร้า ณ รพสต.ตำบลแมแ่ รง
35 กจิ กรรม การผลิตเจลล้างมือแอลกอฮอล์ ณ บ้านดอนตอง ตำบลแมแ่ รง กจิ กรรมให้ความร้เู ก่ยี วกับความปลอดภัยในชีวิตทรพั ย์สนิ และความปลอดภัยในทอ้ งถนน ณ ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ น ไรป่ า่ คา ม.13 ตำบลทา่ ตุ้ม กจิ กรรม การผลติ เจลลา้ งมือแอลกอฮอล์ ณ รพ.สต.บา้ นมงคลชยั ตำบลทา่ ต้มุ
36 กจิ กรรมอบรมให้ความร้เู กี่ยวกบั การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของการติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID-19) ณ รพ. สต.ห้วยอ้อ ม.2 ตำบลน้ำดิบ การผลิตเจลล้างมือแอลกอฮอล์ ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้านนำด้ ิบเหนอื ต.น้ำดิบ กจิ กรรมสง่ เสรมิ ด้านการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ณ ศาลาเอนกประสงค์บา้ นนำ้ ยอ้ ย ม.10 ตำบลนครเจดีย์
37 กจิ กรรมการผลติ เจลล้างมือแอลกอฮอล์ ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้านหนองสมณใต้ ตำบลนครเจดีย์ กจิ กกรมอบรมใหค้ วามรูเ้ รื่อง ชวี ติ วถิ ใี หม่ (New normal) ปลอดภยั จากโควิด-19 ณ รพ.สต.ปากบอ่ ง กิจกรรมการผลติ เจลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ ณ รพ.สต.ปากบ่อง
38 กิจกรรมรณรงคป์ ้องกนั และดูแลสขุ ภาพจากภัยฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน PM 2.5 ณ ศูนยด์ แู ลผสู้ งู อายุ และผพู้ ิการ กจิ กรรมการผลติ เจลล้างมอื แอลกอฮอล์ ณ กศน.ตำบลปา่ ซาง กจิ กกรมอบรมใหค้ วามรเู้ รื่อง ชีวิตวถิ ใี หม่ (New normal) ปลอดภยั จากโควิด-19 ณ บ้านหนังสอื ชมุ ชนบ้านมะกอก ม.4 ต.มะกอก
39 กจิ กรรมการผลติ เจลล้างมอื แอลกอฮอล์ ณ บ้านพระบาท ม.6 ตำบลมะกอก โครงการปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม ลดเสีย่ ง โรค และส่งเสรมิ การออกกำลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ ณ บา้ นไรน่ อ้ ย กจิ กรรมการผลิตเจลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ ณ ศาลาเอนกประสงค์บา้ นไร่น้อย ม.1 ต.ม่วงนอ้ ย
40 ภาพกิจกรรม การศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน
41
42 ภาพประกอบกิจกรรม กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4
43 ไตรมาส 3 - 4
คณะผจู้ ดั ทำ ท่ปี รกึ ษา ฟองศักด์ิ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอปา่ ซาง ครนิ ชยั ครชู ำนาญการพเิ ศษ 1. นายสมชาย อปุ ระโจง ครชู ำนาญการพเิ ศษ 2. นางฝนทอง ปญั ญาวงค์ ครผู ูช้ ว่ ย 3. นางพินิจ 4. นางสาวจันทร์ศิริ ครูอาสาสมัคร กศน. ครอู าสาสมัคร กศน. ผสู้ นับสนนุ ข้อมูล อัมพรวจิ ิตร ครอู าสาสมัคร กศน. อินทะโย ครู กศน.ตำบลปากบอ่ ง 1. นายภานุพงศ์ กันทะตา ครู กศน.ตำบลป่าซาง 2 .นางสาวสณฑิญา แกว้ ทพิ ย์ ครู กศน.ตำบลบา้ นเรือน 3. นางสาวบุษบา ศริ จิ ันทร์บตุ ร ครู กศน.ตำบลนครเจดีย์ 4. นายศภุ กานต์ คำเงิน ครู กศน.ตำบลนำ้ ดบิ 5. นางสาวเหมือนฝนั วงค์เศษ ครู กศน.ตำบลมะกอก 6. นางสาวอรพรรณ กนั ทาทรัพย์ ครู กศน.ตำบลม่วงน้อย 7. นางผอ่ งพรรณ บวั หลวง ครู กศน.ตำบลแม่แรง 8. นางสาวรงุ่ ทิวา พงค์กลาง ครู กศน.ตำบลทา่ ตุ้ม 9. นางสาวอนตุ รา สานตา 10.นางสาวปองกมล ไชยยอง ครอู าสาสมคั ร กศน. 11.นายพีระพนั ธ์ 12. นางสาวอรพินธ์ ผรู้ วบรวมและจัดพมิ พ์/รปู เลม่ นายภานุพงศ์ อัมพรวจิ ติ ร
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: