แบบรายงานการดาเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ สงั กัดสานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
แบบรายงานการดาเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ สงั กัดสานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก คำนำ เอกสารฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพื่อรายงานผลการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ และเป็นเอกสารประกอบการคัดเลือกสถานศึกษาเพ่ือเข้ารับรางวัลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยมีรายละเอียดตามแบบรายงานการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (รน.๑) จานวน ๒หัวข้อ ดังน้ี ๑. ข้อมูลสถานศึกษา ๒. รายงานผลการบริหารจัดการและการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของสถานศึกษา (เป็นผลงานยอ้ นหลังไม่เกนิ 3 ปี) ครอบคลุมท้ัง 5 ประเด็น และเอกสารหลักฐานประกอบ/ภาคผนวก จานวน ๘ หวั ข้อ โดยมีเอกสารและรายละเอียดประกอบการพิจารณาดังแนบ ดงั น้นั หวงั เป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะสามารถใชป้ ระกอบการพิจารณาของคณะกรรมการในการประกอบการคัดเลอื กสถานศึกษาเพ่อื เขา้ รับรางวลั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นไดเ้ ป็นอย่างดี ( นางวลิ าวัลย์ ปาลี ) ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
ข สำรบัญ หน้ำคำนำ กสำรบญั ขแบบรำยงำนกำรดำเนินงำนระบบกำรดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นของสถำนศึกษำ (รน.๑) 11. ข้อมลู สถานศึกษา 1๒. รายงานผลการบริหารจัดการและการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ 1สถานศึกษา (เปน็ ผลงานย้อนหลังไม่เกิน 3 ป)ี ครอบคลุมทงั้ 5 ประเด็น ๑) การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาท่ีสะท้อน ๒การดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง 3 ปี ให้เห็นถึงแนวคิดและวิธีการที่สอดคล้องต่อสภาพปัญหาและบรบิ ทของสถานศึกษา ๒) การดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นในสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๓ ๓) การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกีย่ วข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 10ของสถานศกึ ษา ๔) การส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานส่งผลต่อ 11ประสิทธิภาพระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ๕) ความสาเรจ็ ของการดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน 11ภำคผนวก ๑๑ ๑. แผนภูมกิ ารบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนของสถานศกึ ษา ๑6 2. หลักฐานประกอบที่แสดงให้เห็นว่านักเรียนทุกคนได้รับการดแู ลช่วยเหลือ และคุ้มครอง ๑7อย่างทั่วถึงและใกล้ชิด ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวมสูงขึ้นนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีทักษะชีวิต ปลอดจากการออกกลางคัน และปลิดยาเสพตดิ รวมทงั้ อบายมุขท้ังปวง 3. หลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่า ครูได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการ ๒5ปฏิบัติงานการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และสะท้อนให้เห็นถึงขวัญกาลังใจและคุณภาพการปฏิบตั งิ านของครู 4. หลักฐานประกออบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องในการดูแล ๒6ชว่ ยเหลือนักเรยี นของสถานศึกษา 5. หลักฐานประกอบการดาเนินงานตามสภาพความสาเร็จของระบบการดูแลช่วยเหลือ 47นักเรียน 6. หลักฐานประกอบการส่งเสริม สนับสนุน เสริมสร้างขวัญกาลังใจ ติดตาม นิเทศ และ 51ประเมินผลการดาเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนของสถานศกึ ษาตามสภาพจริง 7. ผลการท่สี ะท้อนความสาเรจ็ ของสถานศึกษาในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นองค์ 51รวมทุกดา้ น 8. ผลงานของสถานศึกษาท่ีเกิดจากการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มี 55คณุ ภาพสูงเพียงพอที่จะสามารถนาไปเผยแพรไ่ ด้
รน.๑ แบบรายงานการดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นของสถานศึกษา สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานคาชแี้ จง ๑. สถานศกึ ษารายงานผลการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ๒. สถานศึกษาบันทกึ ขอ้ มูลรายละเอยี ดในแบบรายงานให้ถกู ตอ้ งครบถ้วน พรอ้ มท้ังแนบเอกสาร หลกั ฐานประกอบ๑. ขอ้ มลู สถานศึกษา ชอื่ สถานศึกษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ สังกัด สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สถานท่ตี ้ัง เลขที่ ๙๙ หมู่ ๑๐ ตาบลชา่ งเคิง่ อาเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ๕๐๒๗๐ โทรศพั ท์ ๐๕๓ – ๑๐๖๙๓๓ เปิดสอนระดบั ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ - มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ จานวนนักเรียน ๘๔๔ คน จานวนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๘๙ คน ชอ่ื ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา นางวลิ าวลั ย์ ปาลี โทรศพั ท์ ๐๘๗ – ๑๘๐๕๕๙๕๒. ให้สถานศึกษาเขียนรายงานผลการบริหารจัดการและการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี นของสถานศกึ ษา (เป็นผลงานย้อนหลังไม่เกิน ๓ ปี) ครอบคลุมทั้ง ๕ ประเดน็ ต่อไปนี้ (๑) การบริหารจัดการระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นของสถานศึกษาท่ีสะทอ้ นการดาเนินงานอย่าง ต่อเนอื่ ง ๓ ปี ให้เหน็ ถึงแนวคดิ และวิธกี ารทีส่ อดคล้องตอ่ สภาพปัญหาและบรบิ ทของสถานศึกษา (๒) การดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นในสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (๓) การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ สถานศึกษา (๔) การส่งเสรมิ สนับสนนุ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานส่งผลตอ่ ประสิทธิภาพระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรยี น (๕) ความสาเร็จของการดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนขอรับรองวา่ ขอ้ มลู ข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ(ลงชอื่ ) (นางวลิ าวัลย์ ปาลี)ผูอ้ านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา //
หน้า ๒๑) การบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาที่สะท้อนการดาเนินงานอย่างต่อเนอ่ื ง ๓ ปี ให้เห็นถงึ แนวคิดและวธิ ีการท่ีสอดคล้องต่อสภาพปัญหาและบริบทของสถานศกึ ษา ด้วยสภาวะของโลกปัจจุบันทาให้สถานการณ์ของเด็กได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการกระทาท่ีส่งผลให้พฤติกรรม ความคิด และทัศนคติของเด็กเปลี่ยนแปลงไปในทางทีอ่ าจเป็นโทษแก่ตัวเดก็ เอง และในปัจจบุ นั มีความซบั ซ้อนและเกดิ ปญั หาที่รอการแกไ้ ขมากยง่ิ ขนึ้ ดงั น้ันแนวทางในการพฒั นาแกไ้ ขเด็กและเยาวชนในระบบของโรงเรยี น ดว้ ยระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน จึงเปน็แนวทางที่จะช่วยให้เด็กได้รับโอกาสพัฒนาตนเองให้พ้นสภาพปัญหาท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆท่เี กิดขนึ้ ได้ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ได้นาระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนมาใช้เพอื่ การสง่ เสรมิ พัฒนาป้องกัน และแก้ไขปัญหา เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและคุณลักษณะที่พึงประสงค์มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่เข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะในการดารงชีวิต และสามารถรอดพ้นจากวกิ ฤติท้ังปวง ซึ่งทางโรงเรียนมกี ารดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ดังน้ี ๑.๑) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มนี โยบายในการดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนอย่างชัดเจน จะเห็นได้จากแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ซ่ึงระบบดูแล ถือว่าเป็นจุดเน้นของสถานศึกษาเนื่องดว้ ยบริบทของสถานศึกษาซง่ึ เปน็ โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง และเปน็ โรงเรยี นประจา อยใู่ นเขตชมุ ชนท่ีมีปัญหายาเสพติดในพนื้ ที่และพน้ื ทโ่ี ดยรอบ ๑.๒) ผู้บริหารมีการจัดประชุมครู เพื่อกาหนดทิศทาง กลยุทธ์ และวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานซงึ่ ตอ้ งคานึงถงึ บริบทของสถานศกึ ษาท่ีเป็นโรงเรียนประจา ชมุ ชน และผปู้ กครอง โดยมีการจดั การบรหิ ารงานออกเป็น ๑๐ กลุ่มงาน เพื่อการบริหารจัดการได้อย่างท่ัวถึง จึงมีการวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหา ศักยภาพของสถานศึกษาและบริบทของชุมชน โดยการวางแผนการจัดทาโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ของระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น รวมทงั้ กาหนดโครงสร้างบรหิ ารงานและแตง่ ต้ังคณะกรรมการการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ๑.๓) สร้างความตระหนักให้คณะครูและบุคลาการท่ีเก่ียวข้องทุกคน ให้เห็นคุณค่าและความจาเป็นของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยในการประชุมก่อนเปิดภาคเรียน จะมีการนาผลของการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของการศึกษารายกรณีในแต่ละปีการศึกษา เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาและประเมินผลสาเร็จในการช่วยเหลอื นกั เรียนในกล่มุ การศกึ ษารายกรณแี ละวางเป้าหมายในการดาเนนิ งานต่อไป ๑.๔) วางแผนและดาเนินงานตามระบบท่ีวางไว้ โดยทางโรงเรียนออกคาส่ังแต่งตั้งกรรมการการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือกาหนดบทบาทหน้าที่ และการมีส่วนร่วมอย่างชัดเจนดังน้ี - คณะกรรมการฝา่ ยอานวยการ (ทมี นา) ประกอบดว้ ย ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ซ่ึงมีหน้าที่ นเิ ทศกากับตดิ ตาม ใหค้ าปรึกษา คาแนะนา เพื่อใหก้ ารดาเนินการสาเรจ็ ลุล่วงไป - คณะกรรมการฝ่ายดาเนินงาน (ทีมทา) ประกอบด้วย คณะกรรมการทีมทาระดับช้ันประถมศึกษา คณะกรรมการทีมทาระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น และคณะกรรมการทีมทาระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ครูแนะแนวและครูท่ีปรึกษา) ซึ่งมีหน้าที่ ดาเนินงานตามกระบวนการที่โรงเรียนได้กาหนด
หน้า ๓ - คณะกรรมการฝ่ายสนบั สนุน (ทีมประสาน) ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูแนะแนวกรรมการสถานศกึ ษา กรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง และบุคลากรทเี่ ก่ียวขอ้ ง ซง่ึ มหี น้าท่ี ประสานงานระหว่างคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง สนับสนุน ส่งเสริม ป้องกันแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี พร้อมท้ังจัดทาเอกสาร เคร่ืองมือที่ใช้ในการดาเนินงาน รายงานผลการดาเนินงานเม่อื สิน้ สดุ กจิ กรรม โดยดาเนินงานตามข้ันตอนของงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยจัดประชุมคณะกรรมการฝ่ายตา่ ง ๆ ร่วมกบั ครูแนะแนวและครูท่ีปรึกษา เพอื่ ดาเนนิ การในทศิ ทางเดยี วกันท้งั ๕ ขนั้ ตอน ๑.๕) โรงเรียนได้วิเคราะห์ผู้เรียนจาก ระเบียนสะสม SDQ เอกสารการเยี่ยมบ้าน ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ (ICT) ของโรงเรยี น และเอกสารต่าง ๆ จากนั้นได้จัดทาเป็นข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนในการดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน๒) การดาเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นในสถานศึกษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มกี ระบวนการและขนั้ ตอนการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ดงั นี้ ๑. การรจู้ กั นกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๒. การคัดกรองนักเรียนกลุ่มปกติ กลุม่ เสีย่ ง กลุ่มมีปัญหา๓. การสง่ เสริมและพัฒนานกั เรยี น ๔. การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา นักเรียน ได้ ชว่ ยเหลอื ไม่ได้ ๕. การสง่ ต่อ
หน้า ๔ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มวี ิธีการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทัง้ ๕ ขัน้ ตอนดงั น้ี ๒.๑) การรู้จกั นักเรียนเป็นรายบคุ คล โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้จดั ทาฐานข้อมูลนกั เรยี นทกุ คน โดยการบนั ทึกข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) และเอกสารต่าง ๆ ท่ีได้จากการทากิจวัตรประจาวันของนกั เรยี น การร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น การออกเย่ียมบ้านนักเรียน ตามสภาพท่ีแท้จริงของนักเรียน เพ่ือนามาคัดกรองและแบ่งตามประเภท ๒.๑.๑) การจัดทาระเบียนสะสม ให้นักเรียนกรอกข้อมูลรายบุคคลและนาส่งงานระบบดูชว่ ยเหลือนักเรยี น ๒.๑.๒) การประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) ให้นักเรียนกรอกข้อมูลประเมินตนเอง หลังจากน้ันครูกรอกข้อมูลประเมินนักเรียน และผู้ปกครองกรอกข้อมูลเพ่ือประเมินนักเรียน หลังจากนั้นประมวลผลด้วยโปรแกรม SDQ เพือ่ นาผลประเมนิ ใช้ในการคัดกรองนักเรียน ซึง่ ทางโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้ดาเนนิ การดังกล่าว ดงั นี้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้ดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหาด้านสุขภาพจิต โดยงานแนะแนวการศึกษาต่อและอาชีพ ฯ เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการวางแผนการคัดกรองผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยใช้แบบประเมินจุดแข็งจุดอ่อนของกรมสุขภาพจิต (SDQ : Strengths andDifficulties Questionaire) เปน็ เคร่ืองมือในการคัดกรองผู้เรียนเบ้อื งตน้ แบบประเมนิ ชดุ น้จี ะมีผลการประเมนิ จาก 3 ส่วนไดแ้ ก่ นักเรียนประเมนิ ตนเอง , ครปู ระเมินนกั เรียนและผู้ปกครองประเมนิ นักเรยี น ๒.๑.๒.๑) ขั้นตอนในการประเมนิ ๑) ครูแนะแนวประชุมชี้แจงครูประจาช้ันและครูเรือนนอนเร่ืองการใช้แบบประเมินจุดแข็งจุดออ่ นของกรมสขุ ภาพจติ ๒) ครูประจาชั้นสังเกตและทาความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ในระยะเวลาอย่างน้อย 6เดือน เพื่อจะไดร้ ูจ้ ักนักเรียนใหด้ ีขน้ึ และประเมนิ นกั เรยี นในห้องเรยี นของตนเอง ๓) ครูเรือนนอนสังเกตและทาความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ในระยะเวลาอย่างน้อย 6เดือน เพือ่ จะไดร้ จู้ กั นักเรยี นให้ดีขึ้น และประเมนิ นักเรยี นในเรือนนอนของตนเอง ๔) ครแู นะแนวแจกแบบประเมนิ จดุ แข็งจุดออ่ นให้นักเรียนประเมนิ ตนเองในชวั่ โมงกิจกรรมแนะแนว ๕) ครปู ระจาชนั้ และครูเรือนนอนนาส่งผลการประเมนิ ท่ีงานแนะแนว ๖) งานแนะแนวนาขอ้ มลู ทไ่ี ด้รบั การประเมนิ จาก 3 ส่วนกรอกลงในโปรแกรมประมวลผล ๗) นาผลท่ีได้มาจดั เป็นกลมุ่ นกั เรยี นดงั น้ี นักเรียนท่ีมีผลการประเมินอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมปกติ จานวน 751 คิด เป็นร้อยละ 89.84 นักเรียนท่ีมีผลการประเมินอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมเส่ียง จานวน 40 คน เป็นร้อยละ 4.78 โดยไดจ้ าแนกเป็น - ด้านอารมณ์ จานวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.03 - ด้านปัญหาพฤติกรรมเกเร จานวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.72 - ด้านพฤติกรรมไม่นงิ่ -สมาธิสนั้ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.08 - ดา้ นความสัมพนั ธก์ ับเพื่อน จานวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.98
หน้า ๕ นักเรียนที่มีผลการประเมินอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมมีปัญหา จานวน 45 คน เป็นรอ้ ยละ 5.38 โดยไดจ้ าแนกเป็น - ดา้ นอารมณ์ จานวน 19 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.27 - ดา้ นปญั หาพฤติกรรมเกเร จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.72 - ด้านพฤตกิ รรมไมน่ ง่ิ -สมาธสิ ั้น จานวน 14 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.68 - ด้านความสมั พนั ธ์กับเพื่อน จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.71 ๘) งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะแจ้งผลการประเมินจุดแข็งจุดอ่อนต่อครูประจาเพ่อื ใหร้ ับทราบขอ้ มูลและร่วมให้ความชว่ ยเหลือนักเรยี น ๙) นักเรยี นกล่มุ ดงั กล่าวทางงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นจะแบ่งการจดั กิจกรรมเป็น2 ลักษณะ ๙.๑) กลุ่มปกติ โรงเรียนได้จัดทาโครงการและกิจกรรม เพื่อการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่านพัฒนาการเขียน , โครงการส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และเขียน ,โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน , กิจกรรมแนะแนว , กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี , กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ , กจิ กรรมส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน , กิจกรรมทักษะชีวิต ๙.๒) กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา โรงเรียนได้จัดทาโครงการและกิจกรรม เพ่ือการป้องกันและช่วยเหลือนักเรยี น ได้แก่ โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน , กิจกรรมการศึกษาเพ่อื การมงี านทา , กิจกรรมระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ,กจิ กรรมพฒั นาวินยั นักเรียน , กิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม , กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพและอนามยั , กจิ กรรม To Be Number One. ๑๐) นักเรียนกลุ่มดังกล่าวจะเข้ากระบวนการให้ความช่วยเหลือโดยผ่านโครงการและกจิ กรรมของกล่มุ งานต่างๆ และได้รบั การดแู ลดา้ นพฤตกิ รรมอย่างใกลช้ ดิ จากครูประจาช้ันและครูเรือนนอนซึ่งเปรยี บเสมอื นกับเป็นพ่อแมผ่ ู้ปกครองของนกั เรียน คอยติดตามและสังเกตการเปลย่ี นแปลงทางด้านพฤติกรรม ๑๑) หลังจากนกั เรยี นได้รับความชว่ ยเหลือจากงานระบบดแู ลช่วยเหลือตา่ งๆเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว งานแนะแนวจะดาเนินการประเมนิ จุดแข็งจดุ อ่อนของนกั เรียนกลุ่มนซี้ ้าอกี คร้ังหน่ึง จากการดาเนินงานในปีการศึกษา 2560 หลังจากท่ีนักเรียนกลุ่มห่วงใย และกลุ่มใส่ใจจานวน 85 คน ได้รบั การช่วยเหลอื ตามขนั้ ตอนต่างๆ แลว้ พบว่านกั เรียนกลุ่มดังกล่าวมผี ลการประเมินจุดแข็งจุดอ่อนอยู่ในระดบั ปกติทกุ คน (อา้ งองิ จากภาคผนวกขอ้ ๔ หนา้ ๒๘ – ๔๐ ) ๒.๑.๓) การเยี่ยมบ้าน ดาเนินการโดยให้คณะครูที่ปรึกษาในทุกระดับชั้นออกเย่ียมบ้านนักเรียนปกี ารศึกษาละ ๑ ครง้ั หรือมากกว่าแล้วแตก่ รณี เน่ืองนกั เรยี นสว่ นใหญ่เป็นอาศัยอยพู่ ้ืนทสี่ ูง ทาใหก้ ารเดนิ ทางเกิดความยากลาบาก จึงทาให้การออกเย่ียมมีความถี่น้อย แต่หากพบว่านักเรียนมีพฤติกรรมผิดระเบียบโรงเรียนมากเกินไป ก็จะดาเนนิ การออกเยีย่ มบา้ นบ่อยครั้ง ท้งั น้กี ารออกเยยี่ มบา้ นในแตล่ ะครั้ง จะมีการบนั ทึกข้อมูลเสมอ โดยครูท่ีปรึกษาและครูระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจัดทาเอกสารการสัมภาษณ์ผู้ปกครองในเรื่องต่าง ๆ ทั้งในครอบครัวและชุมชน เพ่ือเป็นข้อมูลในการดาเนินงานระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนรวมทั้งพบปะผู้ปกครองและร่วมหารือถึงปัญหาต่าง ๆ โดยในการเย่ียมบ้านนักเรียนนั้นทางโรงเรียนได้รับทราบถงึ สภาพปัญหาท่เี กิดข้ึน สามารถจาแนกเป็นประเภทปญั หาดังนี้
ปญั หา หน้า ๖1. ด้านการเรยี น 2558 2559 25601.1 กลุ่มปกติ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ1.2 กลุ่มเส่ยี ง1.3 กลุ่มมปี ญั หา 259 91.84 250 88.34 286 88.54 17 6.03 19 6.71 22 6.81 รวม 6 2.13 14 4.95 15 4.652. ด้านสุขภาพ 282 100 283 100 323 1002.1 กลุ่มปกติ1.2 กลุ่มเสีย่ ง 271 97.83 278 98.23 320 99.071.3 กลมุ่ มีปญั หา 4 1.44 3 1.06 1 0.31 2 0.73 2 0.71 2 0.62 รวม 277 100 283 100 323 1003. ดา้ นเศรษฐกิจ2.1 กลุ่มปกติ 173 61.35 156 55.12 287 88.851.2 กลุ่มเสย่ี ง 102 36.17 123 43.46 29 8.981.3 กลุ่มมีปญั หา 7 2.48 4 1.42 7 2.17 282 100 283 100 323 100 รวม4. ดา้ นสวัสดภิ าพและความปลอดภัย 275 97.52 272 96.11 317 96.652.1 กลมุ่ ปกติ 6 2.13 6 2.12 2 0.611.2 กล่มุ เสยี่ ง 1 0.35 5 1.77 4 2.751.3 กลุ่มมปี ญั หา 282 100 283 100 328 100 รวม 253 89.72 265 93.64 290 89.785. ด้านพฤติกรรมการใช้สารเสพตดิ 26 9.22 17 6.01 32 9.912.1 กลุ่มปกติ 3 1.06 1 0.35 1 0.311.2 กลุ่มเส่ยี ง 282 100 283 100 323 1001.3 กลุ่มมีปัญหา รวม
หนา้ ๗แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ส ภ า พ ปั ญ ห า ท่ี พ บ ข อ ง นั ก เ รี ย น ระหว่างปี 2558-2560 2558 2559 256038.65% 44.88%8.16% 11.66% 11.46% 2.17% 1.77% 0.93% 11.15% 2.48% 3.89% 3.36% 10.28% 6.36% 10.22% (อ้างองิ จากภาคผนวกข้อ 4 หนา้ 41 - 48 )แผนการแก้ไขปญั หา 1) ปัญหาดา้ นการเรยี น ๑.๑) จัดกจิ กรรมในห้องเรยี น ๑.๒) จดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร ๑.๓) จดั กิจกรรมซอ่ มเสริม ๑.๔) จดั กิจกรรมเพ่อื นช่วยเพ่ือน ๒) ด้านสขุ ภาพ 2.1) ตดิ ต่อสื่อสารกบั ผูป้ กครอง
หน้า ๘ 2.2) ดูแลให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นในโรงเรียนโดยครูอนามัยโรงเรียน หากเกิน กาลงั ความสามรถในการดูแลจะส่งต่อโรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานกุ ูล 2.3) ดแู ลด้านโภชนาการ ใหน้ กั เรียนรบั ประทานอาหารท่มี ีประโยชน์ 3) ด้านเศรษฐกจิ 3.1) จัดหาทุนการศึกษาสาหรบั นกั เรยี นทม่ี ีความประพฤติดีแต่ฐานะยากจนเป็นพิเศษ 3.2) ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน เช่น ปลกู ผัก ,เลย้ี งสัตว์ เปน็ ตน้ 3.3) จัดอบรมอาชีพระยะสัน้ เช่น ตัดผมชาย , เสริมสวย , นวดแผนไทย เป็นตน้ 4) ด้านสวสั ดิภาพและความปลอดภัย 4.1) อาคารเรียน หอนอน มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิด อันตรายตอ่ นกั เรยี น 4.2) มียามรักษาการณ์ ดูแลความปลอดภัยตลอด 24 ชว่ั โมง 4.3) มคี รูหอนอนคอยดแู ลและให้ความช่วยเหลือตลอดเวลา 4.4) มคี รเู วรยามวกิ าลดูแลความเรยี บร้อย และความปลอดภัย 4.5) มีระบบรกั ษาความปลอดภัยโดยการตดิ ตงั้ กลอ้ งวงจรปิด 4.6) ชมุ ชนให้ความชว่ ยเหลอื ในการสอดส่องดแู ลพฤติกรรมของนักเรียน 5) ดา้ นพฤตกิ รรมการใช้สารเสพตดิ 5.1) มีการสุ่มตรวจสารเสพติดในกลุ่มผู้ทมี่ ีพฤติกรรมเสย่ี งต่อการใชส้ ารเสพติด 5.2) อบรมใหค้ วามรู้ และสร้างความตระหนักถึงโทษและภัยของสารเสพตดิ ท่ีส่งผล กระทบตอ่ ร่างกาย , จติ ใจ , สังคม , สตปิ ํญญา ) 5.3) สง่ เสริมใหเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมด้านกีฬา ดนตรี และศิลปะเพื่อลดพฤติกรรมท่เี ส่ียง ตอ่ การใช้สารเสพติด 5.4) ส่งปรับพฤติกรรมในโรงเรียนที่อยู่ในเครือข่ายสถานศึกษาเดียวกัน (โรงเรียน การศึกษาสงเคราะห์ เช่น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 ลาพูน , โรงเรียนศึกษา สงเคราะห์เชียงใหม่ เปน็ ต้น ) 5.3) ส่งต่อสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในกรณีท่ีเกินความสามารถท่ีทางโรงเรียนจะให้ ความชว่ ยเหลอื ได้ ๒.๑.๔) บันทึกข้อมูลสุขภาพ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้เชิญ เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าหน้าท่ีจากสาธารณสุขอาเภอ มาตรวจสุขภาพ สว่ นสงู น้าหนกั คา่ สายตาของนกั เรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ประจาทุกภาคเรียน และบันทึกข้อมูลลงในสมุดตรวจสุขภาพของนักเรียน ท้ังนี้ทางโรงเรียนยังได้จัดสถานท่ีสาหรบั การปฐมพยาบาลแกน่ ักเรยี น (ห้องพยาบาลโรงเรยี น) โดยมสี าธารณสุขประจาการอยู่ ๒.๑.๕) การสงั เกตพฤตกิ รรมอืน่ ๆ มีนักเรยี นแกนนาในแตล่ ะช้ันเรียนสงั เกตพฤติกรรมของเพื่อนนอกเวลาเรียน รวมถึงครทู ี่ปรึกษา ครูผสู้ อน ครหู อนอนและงานกิจการนักเรียน บันทึกมูลการมาโรงเรียนของนักเรียนโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) โดยบันทึกจานวน ๗ ช่วง (๐๕.๐๐ น. ช่วงกายบริหาร,๐๗.๐๐ น. ช่วงรบั ประทานอาหารเช้า, ๐๘.๐๐ น. ช่วงทากิจกรรมไตรรงค,์ ๑๒.๐๐ น. ชว่ งรบั ประทานอาหารกลางวัน, ๑๗.๐๐ น. ช่วงรับประทานอาหารเย็น, ๒๐.๐๐ น. ช่วงรวมหอนอน และ ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.ช่วงเรียน) เมื่อนักเรียนไม่มาเรียน ทางฝ่ายกิจการนักเรียนจะแจ้งให้ครูที่ปรึกษาและครูหอนอน เพื่อที่จะได้
หน้า ๙ติดตามนักเรียนต่อไป รวมทั้งครูประจาวิชาจะสารวจข้อมูลในการมาเรียนของนักเรียนและพฤติกรรมในช้ันเรียนดว้ ย ทางระบบกท็ าการหักคะแนนความประพฤติ ๒.๒) การคัดกรองนักเรยี น โดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกบั นักเรียน เบื้องต้น จากข้อ ๒.๑) แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม ดังน้ี๑) กลุ่มปกติ คือ นักเรียนที่ได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนแล้ว อยู่ในเกณฑข์ องกลุม่ ปกติ ๒) กลมุ่ เส่ยี ง/มปี ัญหา คอื นกั เรียนท่จี ดั อยู่ในเกณฑข์ องกลุ่มเส่ียง/มีปัญหาตามเกณฑ์การคดั กรองของโรงเรียน (อ้างองิ จากภาคผนวกข้อ ๔ หนา้ ๒8 - 40) ซึ่งโรงเรยี นต้องให้ความช่วยเหลือ ปอ้ งกันหรือแก้ไขปัญหาตามแต่กรณี (ด้านการเรยี น ด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสารเสพติด ด้านการคุ้มครอง การตดิ เกมส์และดา้ นการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร) แลว้ รายงานขอ้ สง่ มูลต่อผู้บริหารสถานศึกษาและสานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ เพื่อดาเนินการในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๒.๓) การสง่ เสรมิ และพฒั นานกั เรยี น การดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ดาเนนิ การเอาใจใส่นักเรียนอย่างเท่าเทียมกัน แต่สาหรบั นกั เรียนท่ีอย่ใู นกลุ่มปกติจะได้รับการส่งเสริมพฒั นาให้ดียง่ิ ขนึ้ ตาม และสาหรับกลุ่มเสี่ยง/มีปญั หานัน้ จะไดร้ ับการดูแลอย่างใกล้ชิดและหาวิธีการช่วยเหลือทั้งการป้องกันและการแกไ้ ขปัญหา โดยไม่ปล่อยปละละเลยจนกลายเป็นปญั หาของสงั คม และการสรา้ งภูมคิ ้มุ กันที่ดีแก่นักเรยี น ทั้งนท้ี างโรงเรยี นไดจ้ ดั กิจกรรมโฮมรมู และจัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น กีฬา ดนตรี นาฏศิลป์ และกิจกรรมเพ่ือสาธารณประโยชน์เพ่อื ช่วยปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาท่จี ะเกิดขน้ึ ๒.๔) การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หานกั เรียน ๒.๔๑) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้จัดคาส่ังโรงเรียน เรื่องการแต่ต้ังครูที่ปรึกษาครหู อนอน ครูแนะแนว เพอ่ื ให้นักเรยี นมีท่ีปรึกษา มีครูแนะแนวคอ่ ยชี้แนวทางท่ีดีให้ และเพื่อนนักเรยี นเป็นที่ปรึกษาเบอ้ื งตน้ (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๒ หน้า 17 - 20 ) ๒.๔.๒) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหากิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น การออกเยี่ยมบ้านนักเรียน การจัดงานวันรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด กิจกรรมคุณธรรมจรยิ ธรรม กิจกรรมทกั ษะชีวิต กิจกรรมดา้ นดนตรี-กีฬา กิจกรรมจิตอาสา/บาเพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมวันภาษาไทย สัปดาห์ห้องสมุด กิจกรรมในห้องเรียน กิจกรรมชมรม TO BE NUMBER ONE กิจกรรมซ่อมเสรมิ ศูนยเ์ พอ่ื นใจวัยร่นุ โดยกิจกรรมต่าง ๆ กจิ กรรมกฬี าภายใน กิจกรรมเปดิ บ้าน ฯลฯ (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๒ หนา้ 20 - 24 ) ๒.๔.๓) จดั กจิ กรรมยามเช้า (กายบรหิ ารและสวดมนต์เช้า) เพ่ือเสริมสร้างวินัย คุณธรรมและจริยธรรม โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้เชิญคณะครูและวิทยากร จากหน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน ผนู้ าท้องถ่ิน และผู้นาทางศาสนามาบรรยาย/สาธิต ให้แกน่ ักเรยี นจนได้รับความรู้ทุกหอนอน/วนั ๒.๔.๔) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มีการประสานงานกับชุมชนจัดโครงการ/กจิ กรรมต่าง ๆ รวมทั้งกิจกรรมทางพุทธศาสนา และร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ตารวจผู้ประสานงานประจาโรงเรียนในการตรวจปัสสาวะนักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพ่ือปลูกฝังให้นักเรียนมีจิตสาธารณะและมีระเบียบวินยั
หน้า ๑๐ ๒.๕) การสง่ ต่อ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ให้ความช่วยเหลือและดูแลนักเรียนที่มีปัญหาความเสีย่ งในด้านต่าง ๆ โดยการส่งต่อท้ังภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรยี น สาหรับภายนอกส่งต่อไปยังหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งทีส่ ามารถชว่ ยเหลอื ได้ - นักเรยี นทม่ี ปี ญั หา ดา้ นยาเสพตดิ สง่ ตอ่ ใหก้ ับโรงพยาบาลและสาธารณสุข อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ เพื่อเข้ารบั การบาบดั - นักเรียนท่ีมีปัญหาด้านสุขภาพส่งต่อให้กับโรงพยาบาล อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเขา้ รับการรกั ษาตอ่ ไป จากการดาเนินงานอยา่ งตอ่ เน่อื งทาใหน้ กั เรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ท่มี พี ฤติกรรมไม่เหมาะสมลดลง และสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นโรงเรยี นกลุ่มปกติมีคณุ ลักษณะของผ้เู รยี นทเ่ี หมาะสมยง่ิ ขนึ้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้ใช้นวัตกรรมในการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นโดยจัดทาโปรแกรมระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อดาเนินงานสอดคล้องท้ัง ๕ ข้ันตอนอย่างเป็นระบบครบวงจร ซ่ึงครูหรือผู้ที่เก่ียวข้องสามารถติดตาม ตรวจสอบ ได้อย่างรวดเร็ว สาหรับนกั เรียนก็สามารถเข้าไปตรวจสอบคะแนนความประพฤตขิ องตนเองได้ สร้างความตระหนักให้นักเรียน มีพฤตกิ รรมเส่ยี งลดลง ทง้ั นท้ี างโรงเรียนยงั ได้บูรณาการกิจกรรมเสริมทกั ษะชวี ิต กิจกรรมด้านวชิ าการทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ เพื่อเสริมทกั ษะและพฤตกิ รรมเชิงบวกใหแ้ กผ่ เู้ รยี น๓) การมสี ่วนร่วมของภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคส่วนทีเ่ กี่ยวขอ้ งในการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนของสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน โดยมีการทาบันทึกข้อตกลง(MOU) กบั หน่วยงานต่าง ๆ ตามกรอบความร่วมมือ ดังนี้สาธารณสขุ อาเภอแมแ่ จ่ม สถานตี ารวจภูธรอาเภอแมแ่ จ่มการทาบนั ทึกขอ้ ตกลง(MOU) ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑มณฑลทหารบกท่ี ๓๓ ครหู อนอน ครทู ป่ี รกึ ษา นอกจากนี้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการดูแลชm่วยuเหลือนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มีภาคีเครือข่ายในการร่วมมือการดาเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและบุคคลภายนอก เช่น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ผู้ปกครอง องค์กรต่าง ๆ และเชิญเป็นกรรมการ เชิญประชมุ ปรกึ ษา ขอความร่วมมือ ขอความคิดเห็น เพื่อให้คาปรกึ ษา ข้อเสนอแนะ ขอความร่วมมอื อานวยความสะดวกในการประสานงาน ใหข้ อ้ มูลที่เป็นประโยชน์ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ สรา้ งความสัมพนั ธ์รระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารและรว่ มกิจกรรมของโรงเรียนต่าง ๆ ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มปี ระธานและกรรมการดาเนินการ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นและเพื่อพัฒนาโรงเรียนและนกั เรียนที่มีปัญหาทุก
หนา้ ๑๑ด้าน โดยกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้ร่วมกันกาหนด และมีการให้ท้องถ่ินเข้ามาให้ความรู้สอนลูกหลานและใช้ทรัพยากรท้องถิ่นที่มีโดยเน้นถึงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรว่ มใช้ภูมิปญั ญาจัดหาทุนกรศึกษาอย่างต่อเนอ่ื งให้นักเรียนทกุ กปีโดยมีกิจกรรมดงั น้ี ๑.๑) จัดประชุมภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง เช่น กรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานกรรมการเครือข่ายผ้ปู กครอง ผปู้ กครอง ฯลฯ ๑.๒) การร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดกิจกรรมครูตารวจมาสอนเกี่ยวกับยาเสพติดและการป้องกันและชว่ ยเหลอื นักเรียนมาสอน นอกจากนี้ยังมคี รพู ระมาสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ๑.๓) จัดทาการบันทึกข้อตกลง (MOU) ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงานภายนอกและหน่วยงานใน เร่ืองการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อให้โรงเรียนเป็นสถานท่ีปลอดยาเสพติดและอบายมขุ (อ้างองิ จากภาคผนวกข้อ ๔ หนา้ 26 - 27 )๔) การส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานส่งผลต่อประสิทธภิ าพระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น การส่งเสริม สนับสนุน ติดตาม และประเมินผลประเมินผลเป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนางานซ่ึงจะช่วยส่งเสริมและให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีจะใช้ในการปรับปรุงพัฒนางานระบบการดู แลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ มกี ารวางแผนในการกากบั ตดิ ตาม การทางานของครูประจาชัน้ ครูทป่ี รกึ ษาให้รับรู้ ทาความเข้าใจเก่ียวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น และร่วมกันแกป้ ญั หาท่เี กิดข้นึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดงั นี้ ๔.๑) จัดให้มีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการทางานของครูประจาชั้น ครูที่ปรึกษาไปพรอ้ มกับการนเิ ทศการจัดการเรียนการสอนของครู (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๒ หน้า 17 และขอ้ ๖ หนา้ 51 ) ๔.๒) จัดให้สนับสนนุ มีส่ิงอานวยความสะดวกแก่ครูประจาชนั้ ครูทป่ี รึกษาในการดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนและใหข้ วญั กาลงั ใจ เช่นยกยอ่ ง ให้รางวลั ความดี ความชอบ ๔.๓) บนั ทกึ หลกั ฐานการปฏิบัติงาน และจดั ทารายงานประเมนิ ผล โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้มีการการพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการปฏิบัติงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการส่งครูและบุคคลากรเข้ารับการอบรม และประชุมเชงิปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั งิ านระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนอยา่ งต่อเน่อื ง จนได้รบั โลเ่ ชิดชูเกียรตเิ สมา ป.ป.ส โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ นอกจากนท้ี างโรงเรียนยงั ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคเหนือ สังกัดสานักบรหิ ารงานการศึกษา เปน็ ประจาทกุ ปีการศกึ ษา๕) ความสาเรจ็ ของการดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน จากการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๓๑อยา่ งตอ่ เนื่อง ๓ ปี (ปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) ประสบความสาเรจ็ ดงั นี้ ๕.๑) นักเรยี น นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม ป้องกันและแก้ปัญหาอย่างมีระบบโดยมวี ิธกี ารและเคร่ืองมือสาหรับครูประจาชั้นหรือครูท่ีปรึกษาและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึง
หน้า ๑๒ประสงค์ ปลอดภัยจากสารเสพติด ซึ่งทางโรงเรียนได้นาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเข้ามาช่วยแก้ไขปญั หาของนักเรยี นในการศกึ ษารายกรณจี นประสบความสาเร็จ ดังนี้- เด็กชายชัยณรงค์ วงศ์ดารงวิวัฒน์ ได้รับเกียรติบัตรรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย /ระดบั ประกาศนบี ัตรวชิ าชีพ วันตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ โลก (ทาดีเพ่อื พอ่ สานต่อก้ปัญหายาเสพตดิ ) จังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี ๒๕๖๐ ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ จากหน่วยงานศูนย์อานวยการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด จงั หวัดเชียงใหม่ ไดร้ ับเกยี รติบัตรเขา้ ร่วมการแขง่ ขันกฬี าชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทยและนานาชาติ ชิงถ้วยพระราชทาน คร้ังที่ ๖๓ ประจาปี ๒๕๖๐ ระหว่างวันที่๑๐ – ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้ไว้ ณ วันท่ี ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ จาก กรมพลศึกษากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬารว่ มกบั จังหวัดเลย และไดร้ บั เกยี รติบัตรเข้าร่วมการแข่งขนั กฬี าชาวไทยภูเขาแหง่ ประเทศไทย ครงั้ ที่ ๒๙ ประจาปี ๒๕๖๐ ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ จาก กรมพลศึกษากระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬาร่วมกับ จงั หวัดเลย (อ้างอิงจากภาคผนวกข้อ ๕.๒ หน้า 49 - 50 )- นางสาวพิกุล กเู้ กยี รตกิ ุญชร ได้รบั รางวลั ผลปฏิบัติท่เี ป็นเลศิ ระดบั ประเทศ ปี ๒๕๕๙ ด้านพฒั นาการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ให้ไว้ ณ วันที่ ๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ศูนย์สถานศกึ ษาพอเพียง มูลนธิ ยิ วุ สถริ คณุ (อา้ งองิ จากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หนา้ 51 )- นางสาวนภา กาไว นางสาวพรทิพย์ ขวัญมณีกานต์ นางสาวพิกุล กู้เกียรติกุญชรได้รับรางวัล ต้นแบบคนดีศรีเชียงใหม่ประจาปี ๒๕๕๙ ให้ไว้ ณ วันท่ี ๒๔ กันยายน ๒๕๕๙ จังหวัดเชียงใหม่(อา้ งอิงจากภาคผนวกข้อ ๕.๒ หน้า 50 )- เด็กหญงิ กุลธารา สิรปิ ญั ญามนกี ุล ได้รับรางวลั ชนะเลิศ การแข่งขนั กรีฑาสาหรบั เด็ก Kid’sAthletics Thailand ๒๐๑๖ จากหนว่ ยงานสมาคมกรฑี าแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ รว่ มกับ สสส.(อ้างอิงจากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หนา้ 52 )- เด็กหญิงมณิภา สิทธ์ิคงเกียรติ ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางกายด้วยกรีฑาสาหรับเด็ก Kid’sAthletics Thailand ๒๐๑๖ ร่นุ อายุ ๑๐ ปี จากหน่วยงานสมาคมกรฑี าแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ร่วมกับ สสส. (อา้ งองิ จากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หน้า 52 )- เด็กชายชัยณรงค์ วงศ์ดารงวิวัฒน์ ได้รับรางวัล ชนะเลิศ การแข่งขันว่ิง ๓,๐๐๐ เมตร ในการแข่งขันกีฬานักเรียนนกั ศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ สสส. ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดบั ที่1 การแข่งขันกีฬาฟุตบอล ๕ คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วันต่อต้านยาเสพติดโลก จังหวัดเชียงใหม่จากหน่วยงานศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันว่ิงมินิมาราธอนต้านภยั ยาเสพตดิ อาเภอแม่แจม่ ปี ๒๕๕๙ (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หนา้ 52 )- นางสาวระพีพร กิตติเดชอมร ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 2 การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายวันต่อ ต้านยาเสพติดโลกจังหวัดเชียงใหม่ จากหน่วยงานศูนย์อานวยการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติดจงั หวดั เชยี งใหม่ (อ้างองิ จากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หน้า 52 )- นางสาวนิตยา ยุรนันท์สกุล ได้รับชนะเลิศ การแข่งขัน วิ่งยางครามมินิมาราธอน รุ่นอายุไม่เกิน ๑๙ ปีหญิง ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จากหน่วยงานเทศบาลตาบลยางครามอาเภอดอยหล่อ (อ้างอิงจากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หน้า 52 )๕.๒) ครูครูทุกคน และผู้ท่ีเก่ียวข้องมีความเข้าใจหลักการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพจนประสบความสาเร็จ ซ่ึงครูท่ีมีผลงานการปฏิบัติงานในนาระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นมาจัดการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษาและได้รับโล่ รางวัล ดังนี้
หนา้ ๑๓ - นางสาวจิตตนาถ เทพวงศ์ ได้รับเกียรติบัตรเชิดชู รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่นระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา ๒๕๕๙ จากหน่วยงานกระทรวงศกึ ษาธิการ - นางสาวเชาวนี บุญรัง ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือฝึกทักษะการปรับพฤติกรรมให้กับครูผู้ดูแลเด็กวัยเรียนเส่ียง โครงการพัฒนาระบบดูแลเด็กท่ีมีปัญหาทางการเรียน โดยครู- หมอ- พอ่ แม่ ในจังหวดั เชียงใหม่ ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๒๕ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ (อา้ งองิ จากภาคผนวกขอ้ ๓หนา้ ๒5 ) - นายนิกร ไชยบุตร ได้รับเกียรติบัตรเข้าร่วม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นประจา ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จาก สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษร่วมกับกลุ่มสถานศกึ ษา สังกัดสานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม ๖ (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๓ หน้า ๒5 ) - นายนิกร ไชยบุตร ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติ ๑ ตารวจ ๑ โรงเรียน (ฝ่ายตรวจพิสูจน์)นายรัตนวัฒน์ เลิศนันทรัตน์ ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติ ๑ ตารวจ 1โรงเรียน (ฝ่ายป้องกัน) นางสาวเชาวนี บุญรังได้รับเข็มเชิดชูเกียรติ ๑ ตารวจ ๑ โรงเรียน (ฝ่ายปกครอง) ให้ไว้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จากหน่วยงานตารวจภูธรจงั หวัดเชียงใหม่ (อ้างอิงจากภาคผนวกขอ้ ๕.๓ หน้า 50 ) - นางสาวปัณชดา ไชยมงคล ได้รับรางวัล ต้นแบบคนดีศรีเชียงใหม่ ประจาปี ๒๕๕๙ โครงการคนดศี รเี ชยี งใหม่ (เจ้าคณะ จังหวงั เชยี งใหม่) (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๕.๓ หน้า 50 ) - นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง ได้รับรางวัลผลปฏิบัติท่ีเป็นเลิศระดับประเทศ ปี ๒๕๕๙ด้านพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ไว้ ณ วันท่ี ๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ศูนย์สถานศกึ ษาพอเพยี ง มลู นธิ ยิ ุวสถริ คุณ (อ้างองิ จากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หนา้ 52 ) - นางสาวเมทินี คาฟู ได้เป็นครูผู้ควบคุมนักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ การประกวดสมดุ เลม่ เล็กหัวข้อ “มรดกทะเลไทย” (ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๔-๖) โครงการ “เปดิ โลกมรดกทะเลไทยในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี” (อ้างอิงจากภาคผนวกข้อ ๗.๒หนา้ 53 ) - นายอนุชิต รัตนเริงวิทย์กุลได้รับการคัดเลือกเป็นครูดีเด่นเน่ืองในวันครูประจาปี ๒๕๕๙สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษร่วมกับกลุ่มสถานศึกษาสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม ๖(อ้างอิงจากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หน้า 53 ) - นางสาวอรณัชชา เจริญสขุ ได้รบั การคดั เลอื กเป็นครูดีเดน่ กลมุ่ สาระสุขศกึ ษาและพลศกึ ษาเนอ่ื งในวนั ครปู ระจาปี ๒๕๕๙ สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษรว่ มกบั กลุ่มสถานศึกษา สังกัดสานกับรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ ๖ (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หน้า 53 ) ๕.๓) โรงเรยี น โรงเรียนมีการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารโรงเรยี น ครู ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ พัฒนา ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หา เพ่อื ให้นกั เรียนไดพ้ ฒั นาเตม็ตามศักยภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะชีวิตที่ดีในการดารงชีวิตอย่างมีความสุขและปลอดภัยซ่ึงส่งผลให้โรงเรียนจนไดร้ ับรางวลั ดังน้ี
หน้า ๑๔ - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับได้รับโล่และเกียรติบัตรเชิดชู รางวัลเสมา ป.ป.ส.ประเภทผลงานดีเด่นระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา ๒๕๕๙จากหน่วยงานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (อ้างอิงจากภาคผนวกข้อ ๕.๑ หนา้ 49 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับเกียรติบัตร เพ่ือแสดงว่า ได้รับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ ระดับทอง จากหน่วยงานกรมอนามยั (อา้ งองิ จากภาคผนวกข้อ ๕.๑ หน้า 49 ) - โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ไดร้ ับโลเ่ กียรติคณุ \" สถานศึกษาพอเพียงท่ีมีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศปี ๒๕๕๙ \" จากหน่วยงาน ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ (อ้างอิงจากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หน้า 54 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ จากการแข่งขัน สสส.-IAAF Kid ,sAthletics จากหน่วยงาน สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ สสส. (อ้างอิงจากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หนา้ 54 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รางวัล ชนะเลิศ การแข่งขันกรีฑาสาหรับเด็ก kid”sAthletics Thailand ๒๐๑๖ รุ่นอายุไม่เกิน ๘ ปี จากหน่วยงาน สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ ร่วมกบั สสส. (อ้างองิ จากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หนา้ 54 ) - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารพี ระราชทานรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๓การแข่งขันหุ่นยนต์ Beam รายการ Beam : Protoboard ชิงแชมป์ประเทศไทย คร้ังท่ี ๕ จากหน่วยงานสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (อ้างองิ จากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หนา้ 54 ) - สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพระราชทาน รางวัลชมเชย อันดับ ๒ การประกวดภาพถ่ายระดับโรงเรียน \"รักษ์น้า ใส่ใจส่ิงแวดล้อม\" ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ จากหน่วยงานสถาบันวิจัยทรัพยากรทางนา้ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (อ้างอิงจากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หน้า 54 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ชนะเลิศ การแข่งขันกรีฑานักเรียนจังหวัดเชียงใหม่ประเภทถ้วยรวม ชาย รุ่นอายุ ไม่เกิน ๑๘ ปี กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา จ.เชียงใหม่ร่วมกับสถาบันการพลศึกษาวทิ ยาเขตเชียงใหม่ (อ้างองิ จากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หน้า 54 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ จากการแข่งขัน สสส.-IAAF Kid ,sAthletics สมาคมกรีฑาแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ สสส. (อ้างอิงจากภาคผนวกขอ้ ๗.๒หน้า 55 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ชนะเลิศ การแข่งขันกรีฑาสาหรับเด็ก kid”s AthleticsThailand ๒๐๑๖ รุ่นอายุไม่เกิน ๘ ปี สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ สสส.(อ้างองิ จากภาคผนวกขอ้ ๗.๒ หนา้ 55 ) - โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น โรงเรียนวิถีพุทธดีเด่นจงั หวดั เชยี งใหม่ สานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ (อา้ งอิงจากภาคผนวกข้อ ๗.๒ หนา้ 55 )
หน้า ๑๕ภาคผนวก
หน้า ๑๖๑. แผนภูมิการบรหิ ารจัดการระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนของสถานศึกษานโยบาย/กฎหมายท่ี กาหนดทิศทาง/กลยุทธ์ - วเิ คราะห์สภาพปญั หา เกย่ี วขอ้ ง - ศกั ยภาพของ สถานศึกษา - บริบทชุมชน กาหนดมาตรฐาน คณะกรรมการดาเนนิ งาน การวางระบบและแผนการดาเนินงาน - ทมี นา - ทมี ทา - ทีมประสาน ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. การรจู้ ักนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๒. การคดั กรองนกั เรียน ๓. การสง่ เสริมและพัฒนานกั เรียน ๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหานกั เรยี น ๕. การสง่ ตอ่ นิเทศ กากับ ติดตามและประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ /พฒั นาเปน็ นวตั กรรม การดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนของสถานศกึ ษา
หน้า ๑๗ ๒. หลักฐานประกอบท่ีแสดงให้เห็นว่านักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือ และคุ้มครองอย่างทั่วถึงและใกล้ชิด ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวมสูงขึ้น นักเรียนมีคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคต์ ามหลกั สตู ร มีทักษะชวี ิต ปลอดจากการออกกลางคนั และปลดิ ยาเสพตดิ รวมทงั้อบายมขุ ท้ังปวงแบบรายงานผลการออกเยย่ี มบ้าน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ แบบรายงานผลการออกเยย่ี มบา้ น ปีการศึกษา ๒๕๕๙คาสั่งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ที่ ๑๔๘/๒๕๖๑ เร่อื ง แตง่ ตัง้ อาจารยท์ ปี่ รึกษาระดบั ชั้นปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ คาสัง่ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ที่ ๑๐๗/๒๕๖๐ เร่อื ง แต่งตั้งอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาระดับชน้ั ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐
หน้า ๑๘คาสง่ั โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ท่ี ๑๔๘/๒๕๕๙ เรอ่ื ง แตง่ ตัง้ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาระดบั ชั้นปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ คาสั่งโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ที่ ๔๓๘/๒๕๖๐ เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดประชุมผู้ปกครองนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ คาส่ังโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ที่ ๔๓๘/๒๕๕๙ เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการการจดั ประชมุ ผปู้ กครองนกั เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๙
หน้า ๑๙ คาส่งั โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ท่ี ๙๘/๒๕๖๑เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการครูหอนอนและครูผู้ชว่ ยครูหอนอน ปีการศึกษา ๒๕๖๑ คาสั่งโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ท่ี ๒๓๕/๒๕๖๐เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการครูหอนอนและครูผู้ช่วยครหู อนอน ปีการศึกษา ๒๕๖๐ คาส่ังโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ท่ี ๕/๒๕๕๙ เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการครูหอนอนและครูผู้ช่วยครหู อนอน ปีการศึกษา ๒๕๕๙
หนา้ ๒๐คาสั่งโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ท่ี ๙๙/๒๕๖๑ เรอ่ื ง แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานระบบการดแู ล ช่วยเหลอื นักเรยี นและครทู ปี่ รึกษาประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑ คาสงั่ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ที่ ๒๖๗/๒๕๖๐ เรือ่ ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งานระบบ การดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน และ ครทู ี่ปรึกษาประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ คาส่งั โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ท่ี ๑๒๗/๒๕๕๙ เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งานระบบ การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน และ ครูท่ีปรกึ ษาประจาปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ การออกเยย่ี มบา้ นนักเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐
หนา้ ๒๑ กิจกรรมลกู เสือตา้ นภัยยาเสพตดิ การเข้าค่ายคุณธรรม ณ วดั เหลา่ ปา่ ตาล กิจกรรมทาบญุ ตกั บาตรวันสาคญั ทางศาสนา พธิ พี รรพชาสามเณร จานวน ๙๒ รูปถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วนั ท่ี ๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ รว่ มเดินรณรงค์ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ ร่วมกบั หนว่ ยงานชมุ ชน นักเรยี นเขา้ ร่วมแขง่ ขนั วง่ิ มินมิ าราธอน
หน้า ๒๒วิทยากรอบรมให้ความรู้เร่อื งยาเสพติดให้กบั นักเรียนแกนนาเจ้าหน้าที่ใหค้ วามร้เู รอ่ื งการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ใหก้ บั นักเรียน คา่ ยอบรมภาวะผู้นาใหก้ ับนกั เรยี นสภานกั เรยี น คา่ ยทกั ษะชีวติ ให้นักเรยี นกจิ กรรมสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นทาความดีแล้วมกี ารบันทึกลงในสมดุ
หน้า ๒๓นักเรียนเข้ารว่ มแขง่ ขันกฬี าต้านยาเสพติด ณ วทิ ยาลยั พลศกึ ษาการแขง่ ขนั กีฬาสีภายในโรงเรยี นกิจกรรมชมรมดนตรีพื้นเมือง กิจกรรมชมรมดรุ ยิ างค์ กิจกรรมชมรมดนตรีสากล กิจกรรมชมรมนาฏศิลป์
หนา้ ๒๔กิจกรรมจิตอาสา/บาเพญ็ ประโยชน์ ครู บุคลากร และนักเรยี นรว่ มบริจาคโลหิตจติ อาสาช่วยกันวาดลายผา้ ซิ่นตีนจกบนผนังโรงทอผ้าตีนจกชมุ ชนนักเรียนจติ อาสาพัฒนาโรงพยาบาล นักเรยี นมีการดาเนินกิจกรรม วนั ต่อตา้ นยาเสพติด ๒๖ มิถนุ ายนของทุกปี การประกวดร้องเพลง การเดนิ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การแข่งกฬี าตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ การจัดบอรด์ ให้ความรูแ้ ละการให้ความรูใ้ นกล่มุ เพอื่ น (กิจกรรม TO BE NUMBER ONE) กิจกรรมนักเรียน YOUTH COUNSELOR : YC (กิจกรรม TO BE NUMBER ONE)
หน้า ๒๕๓. หลกั ฐานทแี่ สดงให้เห็นว่า ครไู ดร้ ับการพัฒนาให้มคี วามรู้ความเข้าใจและทกั ษะในการปฏิบัตงิ านการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน และสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ขวญั กาลงั ใจและคุณภาพการปฏบิ ตั ิงานของครู ไดร้ ับเกียรติบตั รผา่ นการอบรมเชิงปฏบิ ัติการเพอ่ื ฝกึ ทักษะการปรับพฤตกิ รรมใหก้ บั ครผู ู้ดแู ลเด็กวยั เรยี นเสีย่ ง โครงการพัฒนาระบบดแู ลเดก็ ท่มี ีปัญหาทางการเรยี น โดย ครู- หมอ- พอ่ แม่ ในจังหวดั เชียงใหม่ ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รบั เกยี รติบัตรเข้ารว่ ม โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นประจา ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จาก สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษร่วมกบั กลมุ่ สถานศึกษา สังกดั สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมุ่ ๖ การส่งเสริม สนับสนนุ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น จากกลุ่มเครือขา่ ยสง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ภาคเหนอื สงั กดั สานกั บรหิ ารงานการศึกษา
หน้า ๒๖๔. หลกั ฐานประกออบการมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคส่วนที่เกย่ี วขอ้ งในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นของสถานศึกษา การบันทึกข้อตกลง (MOU) ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงานภายนอกและหน่วยงานในเรือ่ งการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ เพอ่ื ให้โรงเรยี นเปน็ สถานท่ีปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ดงั นี้๑. บันทกึ ขอ้ ตกลง (MOU) ความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรียนกบั หนว่ ยงานภายนอก ๑.๑ ระหวา่ ง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ กับ สานักงานสาธารณสขุ อาเภอแม่แจ่ม ๑.๒ ระหว่าง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ กบั สถานีตารวจภธู รอาเภอแม่แจ่ม ๑.๓ ระหว่าง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ กับ มณฑลทหารบกท่ี ๓๓ จังหวดั เชยี งใหม่
หน้า ๒๗๒. บนั ทกึ ขอ้ ตกลง (MOU) ความร่วมมอื ระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงานภายนอก ๒.๑ ระหว่าง โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ กับ ครหู อนอนจานวน ๑๕ หอนอน ๒.๒ ระหวา่ ง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ กบั ครทู ี่ปรกึ ษาจานวน ๒๘ ห้อง การจดั ทาขอ้ มูลนกั เรยี นรายบคุ คลโดยแบบประเมนิ SDQ การจดั ทาขอ้ มูลนกั เรยี นรายบุคคล
หนา้ ๒๘ การแปลผล SDQ ของแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (ทางโรงเรียนได้ประเมนิ ตง้ั แต่ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖) กำรแปลผล SDQ ของแบบประเมนิ พฤตกิ รรมเด็ก (สำหรับนักเรียน) ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 1/2 ปีกำรศึกษำ 2559หอ้ ง เลข เลข ชื่อ - นำมสกลุ 1. ด้ำนอำรมณ์ 2. ควำมประพฤติ 3. พฤติกรรมอยู่ไม่นงิ่ 4. สัมพนั ธ์กับเพือ่ น 5. สัมพนั ธ์ทำงสังคม รวมคะแนน 4 ด้ำนแรก ที่ ประจำตัว เพศ รวม แปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล 6 เส่ยี ง/มีปัญหา 4 เสย่ี ง/มีปัญหา 5 มีจุดแขง็ 19 เสยี่ ง/มีปญั หาม.1/2 1 2638 เดก็ ชายมีศรี มงคลเลศิ นภา ชาย 6 ปกติ 3 ปกติ 5 ปกติ 5 เสยี่ ง/มีปัญหา 5 มีจุดแข็ง 20 เส่ียง/มีปญั หาม.1/2 2 2641 เดก็ ชายสเุ นตร กลุ ถาวรยศ ชาย 5 ปกติ 5 ปกติ 7 เสีย่ ง/มีปญั หา 6 เสยี่ ง/มีปญั หา 7 มีจุดแข็ง 21 เสย่ี ง/มีปัญหาม.1/2 3 2642 เดก็ ชายเอกชยั พงศบ์ รสิ ทุ ธ์ิ ชาย 5 ปกติ 3 ปกติ 5 ปกติ 3 ปกติ 5 มีจุดแขง็ 15 ปกติม.1/2 4 2653 เดก็ หญิงมณกิ า แซเ่ ฮ้อ หญิง 5 ปกติ 2 ปกติ 3 ปกติ 3 ปกติ 5 มีจุดแข็ง 14 ปกติม.1/2 5 2654 เดก็ หญิงรสสคุ นธ์ ศวิ กรศลิ ป์ หญิง 4 ปกติ 4 ปกติ 2 ปกติ 1 ปกติ 7 มีจุดแขง็ 6 ปกติม.1/2 6 2655 เดก็ หญิงวชั รยี ์ มฤคมาศ หญิง 0 ปกติ 3 ปกติ 1 ปกติ 1 ปกติ 4 มีจุดแขง็ 7 ปกติม.1/2 7 2661 เดก็ หญิงสดุ ทวิ า บรรจงวรฉัตร หญิง 4 ปกติ 1 ปกติ 1 ปกติ 3 ปกติ 5 มีจุดแขง็ 5 ปกติม.1/2 8 3435 เดก็ หญิงศฤิ มล บารมีสรรเสรญิ หญิง 0 ปกติ 1 ปกติ 2 ปกติ 3 ปกติ 5 มีจุดแข็ง 10 ปกติม.1/2 9 3850 เดก็ ชายณฐั พล กอุ อ ชาย 3 ปกติ 2 ปกติ 4 ปกติ 2 ปกติ 4 มีจุดแข็ง 10 ปกติม.1/2 10 3851 เดก็ ชายปวชิ ฟองตา ชาย 1 ปกติ 3 ปกติ 2 ปกติ 6 เส่ียง/มีปัญหา 3 ไม่มีจุดแขง็ 18 เสยี่ ง/มีปัญหาม.1/2 11 3852 เดก็ ชายพรี วสั ลลี าพนาสวสั ด์ิ ชาย 8 เสี่ยง/มีปญั หา 2 ปกติ 4 ปกติ 4 เส่ยี ง/มีปญั หา 3 ไม่มีจุดแข็ง 18 เสย่ี ง/มีปญั หาม.1/2 12 3853 เดก็ ชายวรวทิ ย์ คาอา้ ย ชาย 5 ปกติ 5 ปกติ 2 ปกติ 6 เสยี่ ง/มีปัญหา 8 มีจุดแข็ง 12 ปกติม.1/2 13 3854 เดก็ ชายวรัทยา ศภุ พนาแจ่มไพร ชาย 2 ปกติ 2 ปกติ 6 เส่ยี ง/มีปัญหา 5 เสย่ี ง/มีปญั หา 5 มีจุดแขง็ 12 ปกติม.1/2 14 3855 เดก็ ชายวมิ ล มาลกี ารณุ กจิ ชาย 1 ปกติ 0 ปกติ 4 ปกติ 2 ปกติ 2 ไม่มีจุดแข็ง 9 ปกติม.1/2 15 3857 เดก็ ชายอนชุ า คมุ้ พนาลยั สถิต ชาย 1 ปกติ 2 ปกติ 5 ปกติ 2 ปกติ 9 มีจุดแข็ง 16 ปกติม.1/2 16 3858 เดก็ หญิงขวญั ชวี า คณุ าวชั ระกลุ หญิง 8 เสย่ี ง/มีปญั หา 1 ปกติ 4 ปกติ 2 ปกติ 6 มีจุดแขง็ 13 ปกติม.1/2 17 3859 เดก็ หญิงจารวี พงศไ์ พรสถาพร หญิง 4 ปกติ 3 ปกติ 1 ปกติ 3 ปกติ 8 มีจุดแข็ง 16 ปกติม.1/2 18 3860 เดก็ หญิงจิรภัทร แกว้ มูล หญิง 9 เสี่ยง/มีปญั หา 3 ปกติ 3 ปกติ 0 ปกติ 9 มีจุดแขง็ 7 ปกติม.1/2 19 3861 เดก็ หญิงชนิสา เลศิ วงศร์ ม่ เย็น หญิง 2 ปกติ 2 ปกติ 3 ปกติ 1 ปกติ 4 มีจุดแขง็ 10 ปกติม.1/2 20 3862 เดก็ หญิงชาริณี ธญั ญาบริบรู ณ์ หญิง 3 ปกติ 3 ปกติ 3 ปกติ 1 ปกติ 5 มีจุดแขง็ 12 ปกติม.1/2 21 3863 เดก็ หญิงชวิ าพร ชลทชี ยั มงคล หญิง 6 ปกติ 2 ปกติ 2 ปกติ 3 ปกติ 5 มีจุดแขง็ 13 ปกติม.1/2 22 3864 เดก็ หญิงณชิ า สทิ ธมิ ีชานาญ หญิง 5 ปกติ 3 ปกติ 2 ปกติ 2 ปกติ 4 มีจุดแขง็ 10 ปกติม.1/2 23 3866 เดก็ หญิงนิตยา อนรุ กั ษพ์ นาวารี หญิง 2 ปกติ 4 ปกติ 5 ปกติ 1 ปกติ 6 มีจุดแขง็ 12 ปกติม.1/2 24 3867 เดก็ หญิงนิยะดา สะอาดนติ ิ หญิง 5 ปกติ 1 ปกติ 2 ปกติ 2 ปกติ 6 มีจุดแข็ง 9 ปกติม.1/2 25 3868 เดก็ หญิงนุชจรี ใจตอ้ื หญิง 2 ปกติ 3 ปกติ 2 ปกติ 2 ปกติ 4 มีจุดแขง็ 11 ปกติม.1/2 26 3869 เดก็ หญิงปนดั ดา แจ่มแจ้ง หญิง 4 ปกติ 3 ปกติ 2 ปกติ 3 ปกติ 7 มีจุดแขง็ 10 ปกติม.1/2 27 3870 เดก็ หญิงพรครี ี ย่ิงสนิ สาขา หญิง 3 ปกติ 2 ปกติ 7 เสี่ยง/มีปัญหา 7 เสีย่ ง/มีปญั หา 3 ไม่มีจุดแข็ง 21 เสี่ยง/มีปญั หาม.1/2 28 3871 เดก็ หญิงพรนภัส ศกั ดคิ์ งแกน่ สาร หญิง 6 ปกติ 1 ปกติ 1 ปกติ 2 ปกติ 7 มีจุดแขง็ 7 ปกติม.1/2 29 3872 เดก็ หญิงพรลภัส สริ ิวสนั ตก์ ลุ หญิง 1 ปกติ 3 ปกติ 3 ปกติ 1 ปกติ 6 มีจุดแขง็ 13 ปกติม.1/2 30 3873 เดก็ หญิงวภิ าดา สริ ิสชุ ากลุ หญิง 6 ปกติ 3 ปกติ 2 ปกติ 1 ปกติ 8 มีจุดแขง็ 9 ปกติม.1/2 31 3874 เดก็ หญิงศศธิ ร บญุ นิธอิ าภา หญิง 5 ปกติ 1 ปกติ 3 ปกติ 1 ปกติ 6 มีจุดแขง็ 10 ปกติม.1/2 32 3875 เดก็ หญิงสรณยี ์ ดอยพนาสขุ หญิง 3 ปกติ 3 ปกติ 5 ปกติ 5 เสยี่ ง/มีปัญหา 4 มีจุดแขง็ 22 เสย่ี ง/มีปญั หาม.1/2 33 3876 เดก็ หญิงสทุ ธดิ า ชวลติ สกลุ วงศ์ หญิง 7 เส่ียง/มีปญั หา 5 ปกติ 5 ปกติ 5 เส่ยี ง/มีปัญหา 4 มีจุดแขง็ 22 เส่ยี ง/มีปัญหาม.1/2 34 3877 เดก็ หญิงสภุ านิกา เพชรธารา หญิง 7 เสี่ยง/มีปัญหา 5 ปกติ 2 ปกติ 2 ปกติ 3 ไม่มีจุดแข็ง 8 ปกติม.1/2 35 3878 เดก็ หญิงอรพนิ รัตนอรัญเขต หญิง 2 ปกติ 2 ปกติ
หนา้ ๒๙
หนา้ ๓๐
หนา้ ๓๑
หนา้ ๓๒
หนา้ ๓๓
หนา้ ๓๔
หนา้ ๓๕
หนา้ ๓๖
หนา้ ๓๗
หนา้ ๓๘
หนา้ ๓๙
หนา้ ๔๐รายชอ่ื นักเรียนกล่มุ เส่ียง การส่มุ ตรวจปสั สาวะนกั เรียนกลุม่ เสี่ยงโดยครูแกนนา รายงานผลการสารวจการใช้ยาเสพติดการตรวจปสั สาวะนกั เรียนกลุ่มเส่ยี งโดยเจ้าหน้าท่ีตารวจและเจ้าหนา้ ทก่ี รมการปกครองอาเภอแม่แจ่ม
หนา้ ๔๑ สรุปการออกเย่ียมบ้านนกั เรยี น ประจาปกี ารศกึ ษา 2558โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่จานวนนกั เรยี นทง้ั หมด 282 คน ชาย 90 คน หญิง 192 คนข้อท่ี รายการ รวม(คน) รอ้ ยละ 1 บ้านที่อาศัย 275 97.51 1.1 บา้ นตนเอง - - 1.2 บ้านพกั /บา้ นเชา่ 7 1.3 อาศัยอยู่กบั ผอู้ ื่น 2.48 67 2 ลกั ษณะบา้ น 125 23.75 2.1 บา้ นชนั้ เดยี ว 44.32 2.2 บ้านสองช้นั - 2.3 ลกั ษณะแบบอื่น - 13 3 สภาพแวดล้อมของบ้าน 171 4.60 3.1 ดี 98 60.63 3.2 พอใช้ 34.75 3.3 ไม่ดี 11 46 3.90 4 ระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียน 48 16.31 4.1 0-20 กิโลเมตร 132 17.02 4.2 20-40 กโิ ลเมตร 45 46.80 4.3 40-60 กิโลเมตร 15.95 4.4 60-80 กิโลเมตร 196 4.5 มากกว่า 80 กิโลเมตร 81 69.50 5 28.72 5 นกั เรยี นมาโรงเรียน 1.77 5.1 รถจกั รยานยนต์ 269 5.2 รถยนต์ 4 95.39 5.3 อ่ินๆ 6 1.41 2 2.12 6 สถานภาพของบดิ ามารดา 1 0.70 6.1 บดิ ามารดาอยู่ด้วยกนั 0.35 6.2 บดิ ามารดาหย่าร้างกนั 6.3 บดิ าถงึ แก่กรรม 6.4 มารดาถึงแก่กรรม 6.5 บิดาและมารดาถงึ แก่กรรม
ขอ้ ที่ รายการ รวม(คน) หนา้ ๔๒ 7 นกั เรียนอาศยั อยู่กับ - ร้อยละ 7.1 ตามลาพงั 273 7.2 บิดามารดา 2 - 7.3 บิดา 6 96.80 7.4 มารดา 1 0.70 7.5 ญาติ เป็น.......................... 2.12 250 0.35 8 อาชพี ของผปู้ กครอง - 8.1 เกษตรกร - 88.65 8.2 ค้าขาย 32 - 8.3 รับราชการ - - 8.4 รับจ้าง 8.5 อ่ืน ๆ 249 11.34 33 - 9 รายได้ของครอบครัว ผู้ปกครองมีรายได้ตอ่ ปี ประมาณ - 9.1 นอ้ ยกวา่ 24,000 บาท - 88.29 9.2 24,000– 60,000 บาท 11.70 9.3 60,000-120,000 บาท 173 9.4 มากกวา่ 120,000 บาท 102 - 7 -10 รายไดก้ ับการใชจ้ า่ ยในครอบครัว 10.1 เพยี งพอ 2 61.34 10.2 ไมเ่ พียงพอในบางครัง้ 280 36.17 10.3 ขัดสน 2.48 411 โรคประจาตัวของนกั เรียน 278 0.70 11.1 มี (……………………………………………………) 99.29 11.2 ไม่มี 212 70 1.4112 โรคประจาตัวของผูป้ กครอง - 98.58 12.1 มี (…………………………………….………………) - 12.2 ไม่มี 75.17 38 24.8213 บคุ คลในครอบครวั ทม่ี ีการใช้สารเสพตดิ 244 13.1 บุหร่ี - 12.2 สรุ า 44 - 12.3 ยาบา้ 215 12.4 อน่ื ๆ 17 13.47 86.5214 ด้านความสามารถพเิ ศษของนักเรียน 14.1 มี (……………………………………………………) 15.60 14.2 ไม่มี 76.24 26.015 ด้านการเรียน 15.1 ผลการเรยี น 3.01 ข้ึนไป 15.2 ผลการเรยี น 2.00 - 3.00 15.3 ผลการเรียนตา่ กวา่ 2.00
หน้า ๔๓ สรุปการออกเย่ยี มบา้ นนกั เรียน ประจาปกี ารศกึ ษา 2559โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชียงใหม่จานวนนกั เรียนทัง้ หมด 283 คน ชาย 74 คน หญงิ 209 คนข้อท่ี รายการ รวม(คน) รอ้ ยละ 1 บา้ นท่อี าศยั 277 97.87 1.1 บ้านตนเอง - - 1.2 บ้านพกั /บา้ นเชา่ 6 1.3 อาศัยอยกู่ บั ผู้อื่น 2.12 191 2 ลักษณะบ้าน 92 67.49 2.1 บ้านช้ันเดียว - 32.50 2.2 บา้ นสองช้ัน 2.3 ลกั ษณะแบบอ่นื 95 - 163 3 สภาพแวดลอ้ มของบา้ น 25 33.56 3.1 ดี 57.59 3.2 พอใช้ 9 8.83 3.3 ไม่ดี 48 152 3.18 4 ระยะทางจากบา้ นถึงโรงเรยี น 69 16.96 4.1 0-20 กโิ ลเมตร 5 53.71 4.2 20-40 กิโลเมตร 24.38 4.3 40-60 กิโลเมตร 188 1.77 4.4 60-80 กโิ ลเมตร 92 4.5 มากกว่า 80 กโิ ลเมตร 3 66.43 32.50 5 นักเรยี นมาโรงเรียน 261 1.06 5.1 รถจกั รยานยนต์ 11 5.2 รถยนต์ 6 92.22 5.3 อ่ืนๆ 5 3.88 - 2.12 6 สถานภาพของบิดามารดา 1.77 6.1 บดิ ามารดาอยู่ด้วยกัน - 6.2 บิดามารดาหย่าร้างกัน 269 - 6.3 บิดาถึงแก่กรรม 6.4 มารดาถงึ แก่กรรม - 6.5 บดิ าและมารดาถึงแกก่ รรม 95.05 7 นักเรียนอาศยั อยกู่ บั 7.1 ตามลาพัง 7.2 บิดามารดา
ขอ้ ที่ รายการ รวม(คน) หน้า ๔๔ 7.3 บิดา 6 ร้อยละ 7.4 มารดา 3 7.5 ญาติ เป็น.......................... 5 2.12 8 อาชพี ของผ้ปู กครอง 1.06 8.1 เกษตรกร 235 1.77 8.2 ค้าขาย - 8.3 รับราชการ - 83.03 8.4 รบั จ้าง 48 - 8.5 อื่น ๆ - - 9 รายไดข้ องครอบครวั ผูป้ กครองมรี ายไดต้ อ่ ปี ประมาณ 9.1 นอ้ ยกว่า 24,000 บาท 236 16.97 9.2 24,000– 60,000 บาท 34 - 9.3 60,000-120,000 บาท 13 9.4 มากกว่า 120,000 บาท - 83.3910 รายได้กับการใชจ้ ่ายในครอบครวั 12.01 10.1 เพยี งพอ 156 4.60 10.2 ไมเ่ พียงพอในบางครง้ั 123 10.3 ขัดสน 4 -11 โรคประจาตวั ของนักเรียน 11.1 มี (……………………………………………………) 2 55.12 11.2 ไมม่ ี 281 43.4612 โรคประจาตวั ของผปู้ กครอง 1.41 12.1 มี (…………………………………….………………) 3 12.2 ไมม่ ี 280 0.7013 บคุ คลในครอบครวั ทมี่ ีการใชส้ ารเสพติด 99.29 13.1 บุหร่ี 121 12.2 สุรา 79 1.06 12.3 ยาบ้า 1 98.93 12.4 อนื่ ๆ -14 ดา้ นความสามารถพเิ ศษของนกั เรยี น 42.75 14.1 มี (……………………………………………………) 27 27.91 14.2 ไมม่ ี 256 0.3515 ด้านการเรียน 15.1 ผลการเรยี น 3.01 ขึ้นไป 54 - 15.2 ผลการเรียน 2.00 - 3.00 196 15.3 ผลการเรยี นต่ากวา่ 2.00 19 9.54 15.4 ตดิ 0 ร มส 14 90.46 19.08 69.25 6.71 4.94
หน้า ๔๕ สรุปการออกเยี่ยมบา้ นนกั เรียน ประจาปกี ารศกึ ษา 2560โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชียงใหม่จานวนนกั เรยี นทงั้ หมด 323 คน ชาย 133 คน หญงิ 210 คนข้อท่ี รายการ รวม(คน) ร้อยละ 1 บ้านท่อี าศัย 319 98.76 1.1 บา้ นตนเอง - - 1.2 บ้านพกั /บ้านเชา่ 4 1.3 อาศัยอยกู่ ับผู้อ่นื 1.23 126 2 ลักษณะบ้าน 197 39.00 2.1 บ้านชนั้ เดยี ว 60.99 2.2 บ้านสองชัน้ - 2.3 ลกั ษณะแบบอนื่ - 20 3 สภาพแวดลอ้ มของบา้ น 231 6.19 3.1 ดี 72 71.51 3.2 พอใช้ 8.35 3.3 ไมด่ ี 11 56 3.40 4 ระยะทางจากบา้ นถึงโรงเรียน 155 17.33 4.1 0-20 กโิ ลเมตร 85 47.98 4.2 20-40 กิโลเมตร 16 26.31 4.3 40-60 กิโลเมตร 4.95 4.4 60-80 กิโลเมตร 228 4.5 มากกวา่ 80 กโิ ลเมตร 86 70.58 9 26.62 5 นกั เรยี นมาโรงเรียน 2.78 5.1 รถจกั รยานยนต์ 315 5.2 รถยนต์ 5 97.52 5.3 อน่ิ ๆ 2 1.54 1 0.61 6 สถานภาพของบิดามารดา - 0.30 6.1 บดิ ามารดาอยู่ด้วยกัน 6.2 บดิ ามารดาหยา่ รา้ งกนั - 6.3 บิดาถงึ แกก่ รรม 6.4 มารดาถึงแก่กรรม 6.5 บดิ าและมารดาถงึ แกก่ รรม
ข้อท่ี รายการ รวม(คน) หน้า ๔๖ 7 นักเรียนอาศัยอยกู่ ับ - รอ้ ยละ 7.1 ตามลาพงั 314 7.2 บิดามารดา 2 0 7.3 บิดา 5 97.21 7.4 มารดา 2 0.61 7.5 ญาติ เป็น.......................... 1.54 316 0.61 8 อาชีพของผู้ปกครอง - 8.1 เกษตรกร - 97.21 8.2 ค้าขาย 7 0 8.3 รับราชการ - 0 8.4 รับจา้ ง 8.5 อ่ืน ๆ 236 2.16 87 0 9 รายได้ของครอบครวั ผปู้ กครองมีรายไดต้ ่อปี ประมาณ - 9.1 นอ้ ยกวา่ 24,000 บาท - 73.06 9.2 24,000– 60,000 บาท 26.93 9.3 60,000-120,000 บาท 173 9.4 มากกวา่ 120,000 บาท 143 0 7 010 รายได้กบั การใช้จ่ายในครอบครัว 10.1 เพียงพอ 2 53.56 10.2 ไมเ่ พียงพอในบางคร้งั 321 44.27 10.3 ขัดสน 2.16 111 โรคประจาตัวของนักเรียน 322 0.61 11.1 มี (……………………………………………………) 99.38 11.2 ไม่มี 22 10 0.3012 โรคประจาตัวของผ้ปู กครอง 1 99.69 12.1 มี (…………………………………….………………) 12.2 ไมม่ ี 175 6.81 148 3.0913 บุคคลในครอบครัวท่ีมีการใช้สารเสพตดิ 0.30 13.1 บุหรี่ 140 54.17 12.2 สรุ า 146 12.3 ยาบ้า 22 54.17 12.4 อน่ื ๆ 15 45.82014 ดา้ นความสามารถพเิ ศษของนักเรียน 43.34 14.1 มี (……………………………………………………) 45.20 14.2 ไมม่ ี 6.81 4.6415 ดา้ นการเรยี น 15.1 ผลการเรียน 3.01 ขึ้นไป 15.2 ผลการเรียน 2.00 - 3.00 15.3 ผลการเรยี นตา่ กวา่ 2.00 15.4 ติด 0 ร มส
Search