ชื่อรายงานวิจัยในช้ันเรียน : การแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Learning Together : LT)ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ทก่ี ล่าวถึงแนวการจัดการศกึ ษาในมาตรา22 ว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด ” (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.2542 : 12)คณิตศาสตร์เป็นศาสตร์แห่งการคิด และเป็นเครื่องมอื สาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของสมอง ในด้านทักษะและกระบวนการคิด ซึ่งประกอบด้วยการสรา้ งความคดิ รวบยอด หลกั การทางคณติ ศาสตร์ การใหเ้ หตผุ ล การพสิ ูจน์ การคดิ คานวณ การแกป้ ญั หา การสอื่ สารหรอื การส่ือความหมาย การนาความรู้ทางคณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นเครอื่ งมือในการเรียนรู้ของสาขาวิชาอื่น หรือใช้เป็นเทคนิคในการแก้ปัญหา (สุวร กาญจนมยูร. 2543 : 39) คณิตศาสตร์ยังมีบทบาททส่ี าคญั ยง่ิ ต่อการพัฒนาความคดิ ของมนุษย์ ทาใหม้ นษุ ยม์ ีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระเบียบมีแบบแผนสามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถ่ีถ้วนรอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมท้ังยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตประจาวันและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนามนุษย์ให้สมบูรณ์มีความสมดุลทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมณ์ สามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 1) ซึ่งสอดคล้องกับคากล่าวของ ยุพิน พิพิธกุล (2539: 2 – 3) ท่ีว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่จาเป็นอย่างยิ่ง เป็นวิชาที่เก่ียวกับความคิดมีรูปแบบ มีโครงสร้าง ช่วยให้คนเป็นผู้มีเหตุผล และเป็นศิลปะอย่างหนึ่งเช่นเดียวกับศิลปะอ่ืน ๆ ความงามของคณิตศาสตร์ก็คือ ความมีระเบียบ และความกลมกลืน คณิตศาสตร์ยังเป็นวิชาที่ทาให้เป็นคนใฝ่รู้จึงเป็นรากฐานแห่งความเจริญของเทคโนโลยดี ้านตา่ ง ๆ ด้วยความสาคัญของวชิ าคณิตศาสตรด์ ังกล่าว จงึ จาเปน็ อย่างย่ิงท่ีจะต้องให้ความสาคัญต่อ การจัดการเรียนการสอนในทุกระดับช้ัน ดังน้ันหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 สถานศกึ ษาต้องพัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้ความสามารถและมีทกั ษะตามมาตรฐานการเรียนรู้เม่ือผ้เู รียนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 12 ปแี ล้ว ผ้เู รยี นจะต้องมคี วามรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระคณิตศาสตร์ มีทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ ตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ และสามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนสามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงดังนั้นการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ควรคานึงถึงผู้เรียนเป็นสาคัญการจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมต้องสอดคล้องกับวฒุ ภิ าวะความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากการฝึกปฏิบัติ ฝึกให้นักเรียนคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหากิจกรรมการเรียนการสอนต้องผสมผสานสาระท้ังทางด้านเน้ือหาและด้านทักษะกระบวนการ ตลอดจนปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงามถูกต้องและเหมาะสมใหแ้ ก่ผูเ้ รียนผ้สู อนควรคานงึ ถงึ ความสนใจ ความถนัด และความแตกตา่ งของผู้เรียน การจดั สาระการเรียนรู้ จึงควรจัดให้มีหลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรมีหลากหลายไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ร่วมกันท้ังชั้นเรียน เป็นกลุ่มย่อย เป็นรายบุคคล สถานที่จัดก็ควรมีทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการจัดให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวทิ ยาการตา่ ง ๆ ท่ีอยใู่ นชุมชน หรือในทอ้ งถ่นิ และจดั ให้สอดคล้องกับเนือ้ หาวชิ า มีความเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
การจัดกจิ กรรมการเรียนต้องใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรดู้ ว้ ยตนเองได้ลงมอื ปฏิบัติจรงิ ผู้สอนควรฝึกให้ผเู้ รียนคิดเป็นทาเป็น และรู้จักการบูรณาการความรู้ต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ใหม่รวมถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักประเมินผลงาน ปรับปรุงงาน ตลอดจนสามารถนาความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ( กรมวิชาการ,กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 188-189) จากผลการสังเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไมช่ อบวิชาคณิตศาสตร์เพราะเน้ือหามีแต่ตัวเลขและสัญลักษณ์ ความรู้พ้นื ฐานจากการเรียนในเน้ือหาคณิตศาสตร์บางเรื่อง นักเรียนไม่ได้นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ทาให้นักเรียนขาดประสบการณ์ตรง(วิริยะ บญุ ยนิวาสน์. 2537 : 26 – 27 ) และวิชาคณิตศาสตรท์ น่ี ักเรียนกาลงั ศึกษาอยู่ในโรงเรียนขณะน้ี จึงไม่ใช่เน้ือหาใหม่ แต่เป็นเน้ือหาท่ีได้มีการคิดค้นขึ้นมาต้ังแต่สมัยโบราณและได้รับการพัฒนาให้มีความลึกซึ้งมากขึ้นจนกระทั่งถึงปัจจุบัน การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันจะแตกต่างจากในอดีตซง่ึ ครูเป็นผู้บอก ครูเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน แต่ในปัจจุบันบทบาทของครูเปลี่ยนไป ครูเป็นผู้ที่คอยช้ีแนะ ให้ความช่วยเหลือให้นักเรียนทุกคนพัฒนา ไปตามความรู้ความสามารถของตนและนักเรียนเป็นศูนย์กลางของการจัดการเรียนการสอน โดยคานึงถึงตัวนักเรยี นเป็นสาคัญ มีการใช้สื่อท่ีเป็นรปู ธรรม มีการทดลอง และศึกษาค้นคว้าดว้ ยตัวเอง (สริ พิ ร ทพิ ยค์ ง. 2545 : 13) สือ่ การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เปน็ ส่อื การเรียนการสอนที่สร้างข้ึนเพ่ือจะใช้รปู ธรรมอธบิ ายนามธรรม เราสามารถสร้างไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางและประดิษฐ์ใช้ไดด้ ว้ ยตนเองส่ือการเรียนการสอนนั้นจะเป็นอย่างไรกไ็ ด้ที่สามารถทาให้นักเรยี นเกิดการเรียนรู้ ซึ่งส่ือการเรียนการสอนมีอย่มู ากมาย เชน่ วัสดปุ ระกอบการสอนประเภทส่งิ พมิ พ์ วัสดุประดิษฐ์ วสั ดุถาวร อุปกรณป์ ระเภทเครื่องมือการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ฯลฯ (ยุพนิ พพิ ิธกลุ . 2546 : 52 – 53) เอกสารประกอบการเรยี นการสอน จัดเปน็ สื่อการสอนแบบหน่ึงในรูปของสิ่งพิมพ์โดยมีจุดประสงค์เพ่ือช่วยสอนและส่งเสริมการเรียนการสอนตามระดับความรู้ของเนื้อหาสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมในช่วงระยะเวลา 1 ภาคเรียน (ปริญญา ฤทธิ์เจริญ.2541 : 34)ดังน้ันเอกสารประกอบ การเรียนการสอนจึงเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของนักเรียนและเป็นเครื่องมือการสอนของครูในกระบวนการถา่ ยทอดความรูใ้ หน้ กั เรียน ซ่งึ สุนนั ทา สุนทรประเสรฐิ (2547 : 17) กล่าววา่ เอกสารประกอบการเรียนการสอน จัดทาข้ึนเพื่อใช้ประกอบการสอนของครู หรือประกอบการเรียนของนกั เรียนในวิชาใดวิชาหน่ึง ควรมีหัวข้อเร่ือง จุดประสงค์ เน้ือหาสาระและกิจกรรมเพอื่ จะส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดการเรยี นรตู้ ามที่หลกั สูตรกาหนด จากสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ที่กล่าวมา ผู้ศึกษาในฐานะครูผู้สอนวิชาคณติ ศาสตร์ ไดต้ ระหนักถึงความสาคัญในการปรับปรุง และพฒั นาการเรยี นการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จึงสนใจท่ีจะศึกษาและพัฒนาเอกสารประกอบการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้และมีความสนใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงขึ้น และสร้างเจตคติท่ีดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์แก่นักเรียน รวมทั้งพัฒนาทกั ษะการคดิ คานวณในวชิ าคณติ ศาสตร์ เพื่อเปน็ พน้ื ฐานในการเรียนระดับท่สี งู ขึน้คาถามการวิจยั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณติ ศาสตร์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมือ (Learning Together : LT) หรือไม่
วัตถุประสงค์ เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Learning Together : LT) สาหรบั นกั เรยี น โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 1. พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 2. สาระสาคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 3. เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั วิชาคณิตศาสตร์ 4. เอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกับสอ่ื และนวตั กรรมทางการศึกษา 5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 6. การจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการจัดการเรยี นร้แู บบรว่ มมือ (Learning Together : LT) 7. งานวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ งวิธีการวจิ ัย ประชากร ประชากรในการวิจยั ครงั้ นี้ ได้แก่ นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 เครื่องมือในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ 1. แผนการจัดการเรยี นรู้ทใี่ ช้กระบวนการจดั การเรยี นร้แู บบร่วมมอื (Learning Together : LT) 2. สอื่ และนวตั กรรม เร่ืองความนา่ จะเป็น 3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (LearningTogether : LT) 2. ครจู ัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมอื (Learning Together: LT) และใหส้ ่ือ/นวัตกรรมเป็นเอกสารประกอบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (LearningTogether : LT) 4. ครูบันทึกการจัดกิจกรรม ข้อบกพร่องที่พบขณะจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Learning Together : LT)
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: