Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 9

หน่วยที่ 9

Published by นายพงศ์ดนัย ใจตรง, 2018-08-29 00:32:11

Description: เครือข่ายไร้สาย

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 9

เครอื ขา่ ยไร้สาย

1. ความหมายของเครอื ขา่ ยไร้สายตอบ เครอื ขา่ ยแลนไร้สายแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คอื1.WPAN(Wireless Personal Area Network) เป็นระบบเครอื ขา่ ยไร้สายส่วนบุคคล ปจั จุบนั มอี ยูส่ องระบบทร่ี องรบั การทางานส่วนบุคคล คอืIR(Infra-Red) และ Bluetooth การท างานจะครอบคลุมบรเิวณการสอ่ื สารทค่ี ่อนขา้ งจากดั เช่น อนิ ฟาเรด ระยะประมาณไมเ่ กนิ 3 เมตร และบลูทูธ ระยะไมเ่ กนิ 10เมตร2. WLAN (Wireless Local Area Network) เป็นระบบเครอื ขา่ ยท้องถน่ิ ทใ่ีชง้ านในพน้ื ทใี่ดพน้ื ทห่ี นง่ึ ในระยะใกล้ ภายในหนว่ ยงานหรอื อาคารเดยี วกนั เช่นสานกั งาน บรษิ ทั หรอื สถานทจี่ ดั นทิ รรศการ3. WMAN (Wireless Metropolitan Area Network) เป็นระบบเครอื ขา่ ยสาหรบั เมอื งใหญ่ๆ มรี ะบบเครอื ขา่ ยทหี่ ลากหลายมกั ใชเ้ ชอื่ มต่อสอื่ สารกนัระหว่างอาคารต่างๆภายในเมอื ง

4. WWAN (Wireless Wide Area Network) เป็นระบบเครอื ขายไร้สายขนาดใหญ่สาหรบั เมอื งหรอื ประเทศซง่ึ มกั มกี ารใชง้ านผา่ นดาวเทยี มขา้ มประเทศ2. สอื่ กลางประเภทไร้สายตอบ สอื่ กลางประเภทไร้สาย (Wireless Media)การสอ่ื สารขอ้ มูลแบบไร้สายนส้ี ามารถส่งขอ้ มูลได้ทุกทศิ ทางโดยมอี ากาศเป็นตวั กลางในการสอ่ื สาร1) คลน่ื วทิ ยุ (Radio Wave)วธิ ี การสอ่ื สารประเภทนจ้ี ะใชก้ ารส่งคลนื่ ไปในอากาศ เพอื่ สง่ ไปยงั เครอ่ื งรบั วทิ ยุโดยรวมกบั คลนื่ เสยี งมีความถเ่ีสยี งทเ่ีป็นรปู แบบของคลน่ื ไฟฟ้ า ดงั นน้ั การส่งวทิ ยุกระจายเสยี งจงึ ไมต่ ้องใชส้ ายสง่ ขอ้ มูล และยงัสามารถส่งคลน่ื สญั ญาณไปได้ระยะไกลซงึ่ จะอยู่ในช่วงความถรี่ ะหว่าง 104- 109เฮริ ตซ์ ดงั นน้ัเครอ่ื งรบั วทิ ยุจะต้องปรบั ช่องความถใี่หก้ บั คลน่ื วทิ ยุทสี่ ่งมา ทาใหส้ ามารถรบั ขอ้ มูลได้อย่างชดั เจน2) สญั ญาณไมโครเวฟ (Microwave)เป็นสอ่ื กลางในการสอื่ สารทมี่ คี วามเรว็ สูง สง่ ขอ้ มูลโดยอาศยั สญั ญาณไมโครเวฟ ซงึ่ เป็นสญั ญาณคลนื่แม่เหลก็ ไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกบั ขอ้ มูลทตี่ ้องการส่ง และจะต้องมสี ถานที ท่ี าหน้าทส่ี ่งและรบั ขอ้ มูล และเนอื่ งจากสญั ญาณไมโครเวฟจะเดนิ ทางเป็นเสน้ ตรง ไมส่ ามารถเลย้ี วหรอื โค้งตามขอบโลกทม่ี คี วามโค้งได้จงึ ต้องมกี ารตง้ั สถานรี บั - สง่ ขอ้ มูลเป็นระยะๆ และส่งขอ้ มูลต่อกนั เป็นทอดๆ ระหว่างสถานตี ่อสถานีจนกว่าจะถงึ สถานปี ลายทาง และแต่ละสถานจี ะตง้ั อยู่ในทสี่ ูง ซงึ่ จะอยู่ในช่วงความถ1ี่ 08- 1012 เฮริ ตซ์

3) แสงอนิ ฟราเรด (Infrared)คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้ าทมี่ คี วามถอี่ ยู่ในช่วง 1011– 1014 เฮริ ตซ์ หรอื ความยาวคลน่ื 10-3– 10-6 เมตร เรยี กว่า รงั สี อนิ ฟราเรด หรอื เรยี กอกี อย่างหนง่ึ ว่า คลน่ื ความถส่ี นั้(Millimeter waves)ซง่ึ จะมยี ่านความถคี่ าบเกยี่ วกบั ย่านความถข่ี องคลน่ื ไมโครเวฟอยู่บา้ ง วตั ถุร้อน จะแผร่ งั สอี นิ ฟราเรดทมี่ คี วามยาวคลน่ื สนั้ กว่า 10-4 เมตรออกมา ประสาทสมั ผสั ทางผวิ หนงั ของมนุษย์สามารถรบั รงั สอี นิ ฟราเรด ล าแสงอนิ ฟราเรดเดนิ ทางเป็นเสน้ ตรงไม่สามารถผา่ นวตั ถุทบึ แสง และสามารถสะทอ้ นแสงในวสั ดุผวิ เรยี บได้เหมอื นกบั แสงทวั่ ไปใชม้ ากในการสอ่ื สาร ระยะใกล้4) ดาวเทยี ม (satilite)ได้รบั การพฒั นาขน้ึ มาเพอ่ื หลกี เลย่ี งขอ้ จากดั ของสถานรี บั - สง่ ไมโครเวฟบนผวิ โลกวตั ถุประสงค์ในการสร้างดาวเทยี มเพอ่ื เป็นสถานรี บั - ส่งสญั ญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสญั ญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสญั ญาณดาวเทยี มจะต้องมสี ถานภี าคพน้ื ดนิ คอยทาหนา้ ที่รบั และสง่ สญั ญาณขน้ึ ไปบนดาวเทยี มทโ่ีคจรอยู่สูงจากพน้ื โลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทยี มเหลา่ นนั้ จะเคลอ่ื นทด่ี ้วยความเรว็ ทเ่ีท่ากบั การหมุนของโลก จงึ เสมอื นกบั ดาวเทยี มนน้ั อยู่นงิ่ อยู่กบั ท่ีขณะทโี่ลกหมุนรอบตวั เอง ทาใหก้ ารส่งสญั ญาณไมโครเวฟจากสถานหี นง่ึ ขน้ึ ไปบนดาวเทยี มและการกระจายสญั ญาณ จากดาวเทยี มลงมายงั สถานตี ามจุดต่างๆ บนผวิ โลกเป็นไปอย่างแมน่ ยาดาวเทยี มสามารถโคจรอยู่ได้ โดยอาศยั พลงั งานทไี่ด้มาจากการเปลยี่ นพลงั งานแสงอาทติ ย์ ด้วยแผงโซลาร์ (solar panel)

5) บลูทูธ (Bluetooth)ระบบสอ่ื สารของอุปกรณ์อเิลค็ โทรนคิ แบบสองทาง ด้วยคลน่ื วทิ ยุระยะสน้ั (Short-Range RadioLinks) โดยปราศจากการใชส้ ายเคเบล้ิ หรอื สายสญั ญาณเชอื่ มต่อ และไม่จาเป็นจะต้องใชก้ ารเดนิ ทางแบบเสน้ ตรงเหมอื นกบั อนิ ฟราเรด ซงึ่ ถอื ว่าเพม่ิ ความสะดวกมากกว่าการเชอ่ื มต่อแบบอนิ ฟราเรด ทใี่ชใ้ นการเชอ่ื มต่อระหว่างโทรศพั ท์มอื ถอื กบั อุปกรณ์ ในโทรศพั ท์เคลอื่ นทรี่ ่นุ ก่อนๆ และในการวจิ ยั ไมไ่ ด้มุ่งเฉพาะการส่งขอ้ มูลเพยี งอย่างเดยี วแต่ยงั ศกึ ษาถงึ การส่งขอ้ มูลทเ่ีป็นเสยี ง เพอื่ ใชส้ าหรบั Headset บนโทรศพั ท์มอื ถอื ด้วยเทคโนโลยี บลูทูธ เป็นเทคโนโลยสี าหรบั การเชอ่ื มต่ออุปกรณ์แบบไร้สายทนี่ ่าจบั ตามองเป็นอย่าง ยง่ิ ในปจั จุบนั ทงั้ ในเรอื่ งความสะดวกในการใช้งานสาหรบั ผูใ้ ชท้ วั่ ไป และประสทิ ธภิ าพในการทางาน เนอ่ื งจาก เทคโนโลยี บลูทูธ มรี าคาถูก ใชพ้ ลงั งานนอ้ ย และใช้เทคโนโลยี short – range ซง่ึ ในอนาคต จะถูกนามาใชใ้ นการพฒั นา เพอื่ นาไปสู่การแทนทอ่ี ุปกรณ์ต่างๆ ท่ีใชส้ าย เคเบลิ เช่น Headset สาหรบั โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี เป็นต้น เทคโนโลยกี ารเชอ่ื มโยงหรอื การสอื่ สารแบบใหมท่ ี่ถูกคดิ ค้นขน้ึ เป็นเทคโนโลยขี องอนิ เตอร์เฟซทางคลน่ื วทิ ยุ ตงั้ อยู่บนพน้ื ฐานของการสอ่ื สารระยะใกลท้ ปี่ ลอดภยั ผา่ นช่องสญั ญาณความถี่ 2.4 Ghz โดยทถ่ี ูกพฒั นาขน้ึ เพอื่ ลดขอ้ จากดั ของการใชส้ ายเคเบลิ ในการเชอื่ มโยงโดยมีความเรว็ ในการเชอ่ื มโยงสูงสุดท่ี 1 mbp ระยะครอบคลุม 10 เมตร เทคโนโลยกี ารส่งคลนื่ วทิ ยุของบลูทูธจะใชก้ ารกระโดดเปลยี่ นความถ่ี (Frequency hop) เพราะว่าเทคโนโลยนี เ้ีหมาะทจ่ี ะใชก้ บั การสง่ คลน่ื วทิ ยุทม่ี กี าลงั ส่งต่าและ ราคาถูก โดยจะแบง่ ออกเป็นหลายช่องความถขึ่ นาดเลก็ ในระหว่างทม่ี กี ารเปลย่ี นช่องความถท่ึ ไ่ีมแ่ นน่ อนทาให้สามารถหลกี หนสี ญั ญารบกวนทเ่ีขา้ มาแทรกแซงได้ ซงึ่ อุปกรณ์ทจี่ ะได้รบั การยอมรบั ว่าเป็นเทคโนโลยบี ลูทูธ ต้องผา่ นการทดสอบจาก Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสยี ก่อนเพอ่ื ยนื ยนั ว่ามนัสามารถทจ่ี ะทางานร่วมกบั อุปกรณ์บลูทูธตวั อน่ื ๆ และอนิ เตอร์เนต็ ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook