Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore health assessment Dr. Kultida

health assessment Dr. Kultida

Published by kitsanaporn.t, 2018-07-05 03:52:40

Description: ดร.กุลธิดา พานิชกุล

Search

Read the Text Version

การเคาะ (Percussion) ต่อ.....การเคาะ อาจเคาะด้วยมือ หรือใช้เครื่องมือ เช่น ใช้ฆ้อนยาง(Hammer) เคาะบนเอน็ (tendon) ต่างๆ เพ่ือดูปฏกิ ริ ิยาตอบสนอง(reflex) ของแขนขาการใช้มือเคาะ เป็ นการเคาะเพื่อฟังเสียง และแปลเสียงทไ่ี ด้ยนิ น้ันว่าโปร่งหรือทบึการแปลผลอาศัยหลกั การของเสียงท่เี คาะผ่านตวั กลางทม่ี ีความหนาแน่นแตกต่างกนั เสียงสะท้อนทีไ่ ด้ยนิ จะโปร่ง/ ทึบแตกต่างกนัตัวอย่าง 1) ในภาวะท่มี นี า้ ในช่องท้อง (ascites) จะเคาะได้ยนิ เสียงทบึ (dullness) เรียก shifting dullness เพราะเคาะผ่านของเหลว

การเคาะ (Percussion) ต่อ.....ตวั อย่าง (ต่อ) 2) เคาะผ่านเนื้อปอด โดยเฉพาะบริเวณถุงลมในภาวะ ปกติ จะได้ยนิ เสียงโปร่ง (resonance) เป็ นต้น เสียงทไี่ ด้จากการเคาะจะแตกต่างกนั ตามความหนาแน่น (Intensity) ของสิ่งทที่ าให้เกดิ เสียง เรียงตามลาดบั จากน้อยไปมาก คือ เสียง โปร่ง (Tympany) เสียงก้อง (Resonance) เสียงทบึ (Dullness) และ เสียงราบ (Flatness) – Tympany เป็ นเสียงทีเ่ กดิ จากการเคาะบริเวณกระเพาะอาหาร หรือ พบท่วั ๆไปทห่ี น้าท้องในรายทมี่ ีแก๊สมากในกระเพาะอาหาร

การเคาะ (Percussion) ต่อ.....– Rcsonance เป็ นเสียงที่เกดิ จากการเคาะปอดทีป่ กติ– Dullness เป็ นเสียงทเ่ี กดิ จากการเคาะตรงตาแหน่งของตบั– Flatness เป็ นสิ่งทีเ่ กดิ จากการเคาะบริเวณขาอ่อนการเคาะควรสังเกตการเปลยี่ นแปลงของเสียงจากบริเวณหน่ึงไปอีกบริเวณหนึ่ง ถ้าเป็ นไปได้ควรเคาะจากบริเวณท่เี สียงโปร่งไปหาบริเวณทเี่ สียงทบึ จะทาให้รู้ขนาดหรือขอบของอวยั วะทที่ าให้เกดิเสียงทบึ

การฟัง (Auscultation)

การฟัง (Auscultation) ใช้ฟังบริเวณช่องอกและช่องท้อง โดย.....➢ ช่องอกจะฟังเสียงของหัวใจและปอด➢ ส่วนในช่องท้องจะฟังเสียงการทางานของกระเพาะอาหาร และลาไส้ การฟังจะต้องสังเกตเกยี่ วกบั ความถี่ (Frequency) ความหนาแน่นหรือความดงั (Intensity) ระยะเวลา (Duration) และคุณภาพ (Quality)

การฟัง (Auscultation) ต่อ....... • ใช้เครื่องมือฟังบริเวณช่องอกและช่องท้อง • Bell ใช้ฟังเสียงตา่ เช่นเสียงฟ่ ูของหัวใจ (murmur) • Diaphragmใช้ฟังเสียงสูง เช่น เสียง breath sound

Respiratory Systemใช้เทคนิคดู คลา เคาะ ฟัง

เทคนิคการฟังปอดhttps://meded.ucsd.edu/clinicalmed/lung.htm#Sounds

แนะนา website เรียนรู้ด้วยตนเองhttps://meded.ucsd.edu/clinicalmed/lung.htm

ทดสอบดู ดูคลา คลาเคาะ เคาะฟัง ฟัง



การตรวจทางห้องปฏิบัติ/ การตรวจพเิ ศษ

แนวคดิ และหลกั การส่งตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร และการตรวจพเิ ศษทาไมต้องส่งตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ ารและการตรวจพเิ ศษ? ยืนยนั การวนิ ิจฉัยโรค ถา้ การซกั ประวตั ิและการตรวจร่างกายไม่ สามารถใหข้ อ้ มูลเพียงพอในการวินิจฉยั ได้ หรือใหข้ อ้ มูลไม่ ครบถว้ น สนับสนุนการวนิ ิจฉัยโรคเบื้องต้น การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการจะ ช่วยสนบั สนุนการวนิ ิจฉยั โรค เช่น ผปู้ ่ วยที่มีอาการความดนั โลหิต สูง ผลตรวจปัสสาวะพบมีความถ่วงจาเพาะสูง มีโปรตีนและเมด็ เลือดแดง กส็ ามารถสนบั สนุนวา่ น่าจะเป็นโรคไตอกั เสบชนิด เฉียบพลนั (Acute glomerulonephritis)

แนวคดิ และหลกั การส่งตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการฯ (ต่อ) ตดิ ตามผลการรักษาพยาบาลและการดาเนินของโรค ช่วยตดั สินใจ ในการรักษาโรคว่าควรจะเพม่ิ /ลดจานวนยา หรือต้องเปลย่ี นยาที่ใช้ รักษา หรือช่วยในการประเมนิ ความรุนแรงของโรค เช่น – โรคไข้เลือดออก ต้องตดิ ตามระดบั ค่า Hematocrit และ เกร็ดเลือด เพ่ือ ป้องกนั ภาวะช็อค ประเมนิ ความก้าวหน้าของโรคและประเมนิ ประสิทธิผลการรักษา – ผู้ป่ วยปอดบวม (Pneumonia) ต้องติดตามผลเอก็ ซเรย์ทรวงอก (Chest X-Ray) เป็ นระยะๆเพื่อประเมินว่าภาวะปอดบวมมีมากขนึ้ หรือลดลง ซึ่งช่วยสะท้อนถงึ ความก้าวหน้าของโรคและประเมนิ ผลการรักษาได้

แนวคดิ และหลกั การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ (ต่อ)ในบุคคลกล่มุ เส่ียง การตรวจฯ ทาเพ่ือช่วยในการคดั กรองโรค เช่นการตรวจหาระดบั ไขมนั / นา้ ตาลในเลือด การตรวจ pap smearเพ่ือค้นหามะเร็งปากมดลูก การตรวจ mammogram เพ่ือค้นหามะเร็งเต้านม

แบบฝึ กหัดวนิ ิจฉัยแยกโรค case กรณศี ึกษา• หญงิ อายุ 40 ปี• CC. ปวดท้องน้อย ปัสสาวะแสบขดั

Questions ?


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook