Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book-แผนแม่บท final

e-book-แผนแม่บท final

Published by Sadanun Nun, 2021-12-07 17:02:17

Description: e-book-แผนแม่บท_removed

Search

Read the Text Version

แผนแม่บท กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ค�ำ นำ� พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคล่ืนความถี่และกำ�กับ การประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562 มาตรา 27 (1) และมาตรา 49 กำ�หนดใหค้ ณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.) จัดให้มีแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดำ�เนินการ ระยะ 5 ปี ซึ่งแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 - 2559) ได้ส้ินสุด ระยะเวลาบังคับใช้ไปแล้ว แต่เนื่องด้วยระยะเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่ใกล้เคียงกับการเปล่ียนผ่านกฎหมาย ว่าด้วยการจัดสรรคล่ืนความถ่ีและกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม รวมถึงมีแนวโน้มการเปล่ียนแปลงในข้อกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง กสทช. จึงได้มีการประกาศให้นำ� แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 1 มาใช้บังคับเป็นการชั่วคราว จนกว่าการจัดทำ� แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ฉบับใหม่จะแล้วเสร็จ ทั้งนี้ เพ่ือให้การพัฒนากิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ของประเทศเปน็ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกิจการโทรทศั น์ ฉบับท่ี 2 น้ี ไดค้ ำ�นึงถงึ การเปลีย่ นแปลงระบบนเิ วศ ของอุตสาหกรรม ตลอดจนความสอดคล้องกับกฎหมาย นโยบาย และสนองตอบแผนระดับชาติต่างๆ อาทิ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ กจิ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม พระราชบัญญัตกิ ารพฒั นาดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติการจัดทำ�ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ตลอดจนการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ เพื่อเปน็ กรอบแนวทางในการกำ�กับดูแลกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทศั น์เพ่อื รองรับสภาพการณ์ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไปของกิจการกระจายเสยี งและกิจการโทรทัศน์ในระยะตอ่ ไป ท้ังนี้ ทิศทางของแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 2 น้ี ได้มุ่งเน้นการพฒั นา กิจการวิทยุกระจายเสียงเพ่อื ยกระดับมาตรฐานการประกอบกิจการและเพ่มิ ทางเลือกให้กับประชาชนในการ รับบริการและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่จำ�เป็นพ้ืนฐานได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนากิจการ โทรทศั นข์ องประเทศใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทและเทคโนโลยที เ่ี ปลยี่ นแปลงไปโดยค�ำ นงึ ถงึ การใชท้ รพั ยากรใหเ้ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ตลอดจนการกำ�กับดูแลด้านเน้ือหา การคุ้มครองผู้บริโภคมิให้ถูกเอาเปรียบ และไดร้ บั บรกิ ารอยา่ งเปน็ ธรรม สง่ เสรมิ สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนใหส้ ามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ขา่ วสารทหี่ ลากหลายไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี ม โดยพฒั นาการใหบ้ รกิ ารและการก�ำ กบั ดแู ลใหม้ งุ่ สคู่ วามเปน็ ดจิ ทิ ลั ผา่ นการ นำ�เทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใ้ นการให้บริการและการก�ำ กับดแู ลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ ซ่ึงได้มีการก�ำ หนดประเด็น ยุทธศาสตร์และแนวทางการขับเคล่ือนท่ีเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และพันธกิจเพื่อนำ�ไปสู่เป้าประสงค์ เพ่ือให้ การด�ำ เนนิ งานของ กสทช. เปน็ ไปเพอื่ ประโยชนส์ งู สดุ ของประชาชน ความมนั่ คงของรฐั และประโยชนส์ าธารณะ ตามที่กฎหมายบัญญัติ รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมกระจายเสียงและโทรทัศน์ให้สามารถพัฒนา ไดอ้ ยา่ งยั่งยนื

สารบัญ ส่วนที่ 1 4 ภาพรวมแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ 1.1 สรปุ การดำ�เนินงานตามแผนแม่บทกจิ การกระจายเสยี ง 5 และกจิ การโทรทศั น์ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2555 - 2559) 1.2 สภาพแวดล้อมและผลกระทบในกจิ การกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ 9 1.3 ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายและแผนระดับชาติ 12 1.4 ความสัมพนั ธก์ ับรัฐบาล 12 ส่วนท่ี 2 หลักการพ้ืนฐาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ 14 และเป้าประสงค์ของแผนแม่บทกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) ส่วนที่ 3 18 ยุทธศาสตร์ภายใต้แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นากจิ การวิทยกุ ระจายเสียงในประเทศไทย 20 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การพฒั นากิจการโทรทศั น์ของประเทศใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทใหม่ 24 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การก�ำ กับดูแลด้านเนอื้ หา การคุม้ ครองผู้บริโภค และการสง่ เสรมิ 28 สทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การใหบ้ รกิ ารและการก�ำ กับดแู ลท่มี ุ่งสคู่ วามเปน็ ดจิ ิทลั 32 ส่วนท่ี 4 38 การขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล แผนแม่บทกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568)

ภาพรวมแผนแมบ่ ทกจิ การ กระจายเสียงและกิจการโทรทศั น์

5 ภาพรวมแผนแม่บทกิจการกระจายเสียงส่วน ่ีท 1 และกจิ การโทรทัศน์ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) 1.1 สรปุ การด�ำ เนนิ งานตามแผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี ง และกจิ การโทรทศั น์ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 - 2559) แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 1 ให้ความสำ�คัญกับการแก้ปัญหาเร่งด่วนในกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ท่ีมีผลสืบเนื่องมาแต่อดีต โดยเฉพาะเรื่อง ท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างกลไกท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าสู่ ระบบการอนุญาตประกอบกิจการประเภทต่างๆ ให้ถูกต้องตาม กฎหมาย นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการวางรากฐานในการกำ�กับดูแล กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ท่ีต้องเร่ิมจากการพัฒนา กฎเกณฑ์และกลไกการกำ�กับดูแล การวางรากฐานในการคุ้มครอง ผบู้ รโิ ภคและสง่ เสรมิ สทิ ธเิ สรภี าพในการสอื่ สาร ตลอดจนการบรกิ าร จัดการทรัพยากรคล่ืนความถี่ท่ีมีอยู่จำ�กัดอย่างมีประสิทธิภาพ โดยในชว่ งระยะเวลาการด�ำ เนนิ การตามแผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี ง และกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 1 ดังกล่าว ได้มีการดำ�เนินการเพ่ือให้ บรรลุวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดมาอย่างต่อเน่ืองโดยสรุปการ ดำ�เนนิ งานหลักได้ดงั นี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และการประกอบ กิจการกระจายเสียงและกจิ การโทรทศั น์ มีการจัดทำ�กำ�หนดลักษณะและประเภทกิจการกระจายเสียงและ กจิ การโทรทศั น์ รวมถงึ ก�ำ หนดหลกั เกณฑแ์ ละออกใบอนญุ าตใหใ้ ช้ คลน่ื ความถแ่ี ละการประกอบกจิ การโทรทศั น์ และการออกหลกั เกณฑ์ และใบอนญุ าตทดลองประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี งเพอ่ื เตรยี ม ความพรอ้ มของผปู้ ระกอบกจิ การใหเ้ ขา้ สรู่ ะบบใบอนญุ าต การจดั ท�ำ แผนความถวี่ ทิ ยสุ �ำ หรบั กจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี งในระบบ เอฟ.เอม็ . และ เอ.เอ็ม. และระบบดิจิทัล รวมถึงการจัดทำ�แผนความถี่วิทยุ สำ�หรับกิจการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิทัล ตลอดจนการ สนับสนุนผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงบริการชุมชนท่ีมีคุณภาพ การจัดทำ�ฐานข้อมูลการใช้คล่ืนความถ่ีและความจำ�เป็นในการ ถอื ครองคลน่ื ความถข่ี องสว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ หนว่ ยงานภาครฐั และการพฒั นาระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตรส์ �ำ หรบั กจิ การกระจายเสยี ง และกิจการโทรทัศน์เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบการพจิ ารณาออกใบอนญุ าตอีกดว้ ย

ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ6 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การกำ� กบั ดแู ลการประกอบกจิ การกระจายเสยี ง และกิจการโทรทัศน์ การกำ�กับดูแลการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทศั น์แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 1)การก�ำ กบั ดแู ลดา้ นผงั รายการและเนอื้ หา ให้มีคุณภาพและเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ สร้างเครือข่าย ภาคประชาชนทั่วประเทศเพื่อเฝ้าระวังและมีมาตรการลงโทษ สำ�หรับรายการที่มีเน้ือหาเข้าข่ายผิดกฎหมาย รวมท้ังมีมาตรการ จัดการเร่ืองร้องเรียนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2) การกำ�กับ ดูแลการใช้คลื่นความถ่ีและเคร่ืองวิทยุคมนาคม และด้านเทคนิค ท่ีเกี่ยวข้อง 3) การกำ�กับดูแลโดยการบังคับใช้กฎหมายมิให้เกิด การรบกวนการใช้คล่ืนความถี่ มีการตรวจค้นจับกุมการกระทำ� ที่เข้าข่ายผิดกฎหมายและเงื่อนไขใบอนุญาต 4) การส่งเสริม และก�ำ กบั ดูแลการแขง่ ขันผ่านการออกหลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ และแนวปฏิบัติ (Guideline) รวมถึงการสร้างเครือข่ายเพ่ือ ส่งเสริมการกำ�กับดูแลกันเองของสื่อ และ 5) การดำ�เนินการ เพื่อเตรียมความพร้อมในกรณีเกิดภัยพิบัติและเหตุฉุกเฉิน ยทุ ธศาสตรท์ ี่3การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคในกจิ การกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ มีหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง ผู้บริโภคต่างๆ โดยเฉพาะการกระทำ�ท่ีเป็นการเอาเปรียบ ผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ มีกลไก การรับเร่ืองร้องเรียน การสนับสนุนการรวมกลุ่มและสร้าง เครอื ขา่ ยผบู้ รโิ ภคในภมู ภิ าคตา่ งๆ ใหเ้ ขม้ แขง็ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เชน่ เครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง การสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจน การประสานงานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น สำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และสำ�นักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (สคบ.) เป็นต้น ในการกำ�กบั ดูแลเก่ียวกับการโฆษณาอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ท่ผี ิดกฎหมาย

7 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมเสรีภาพในการ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) สื่อสาร มีการส่งเสริมให้ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสเข้าถึง รับรู้ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารได้อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม ผ่านการจัดทำ�คำ�บรรยายแทนเสียง เสียงบรรยายภาพ และการจัดทำ�ต้นแบบบริการ โทรทัศน์ที่จัดให้มีล่ามภาษามือเต็มจอ การจัดตั้ง ศูนย์มีเดียชุมชน (Media Community Center) เพื่อการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนในพ้ืนท่ี ห่างไกล การส่งเสริมและสนับสนุนการรู้เท่าทันสื่อ ให้แก่กลุ่มผู้บริโภค รวมทั้งสนับสนุนให้มีการเรียน การสอนในเรอ่ื งการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื วทิ ยุ-โทรทศั น์ในระดบั อุดมศึกษา ตลอดจนส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้รับ ใบอนญุ าตประกอบกิจการเพอื่ สร้างความเข้มแขง็ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การพัฒนาคุณภาพการประกอบ กิจการ มีการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพบุคลากร ในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ให้ประกอบ วิชาชีพอย่างมีความรับผิดชอบ มีทักษะของการเป็น ผู้ประกาศท่ีมีคุณภาพ การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ผ่านการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการเตรียม ความพร้อมให้กับผู้ประกอบการผ่านการพัฒนาวิชาชีพ ในกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ เชน่ การพฒั นา ทักษะการผลิตรายการในกิจการกระจายเสียง และการ พัฒนาทักษะด้านเทคนิคในกิจการโทรทัศน์ ตลอดจน การส่งเสรมิ องคก์ รวชิ าชพี ผ่านกจิ กรรมต่างๆ รวมทั้งการ พฒั นาศกั ยภาพและเสรมิ สรา้ งจรยิ ธรรมผปู้ ระกอบกจิ การ

ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ8 ยทุ ธศาสตรท์ ี่6การเปลยี่ นผา่ นไปสกู่ ารรบั สง่ สญั ญาณ วทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ในระบบดิจิทลั มีการออกหลักเกณฑ์และแผนความถี่สำ�หรับกิจการ โทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิทัลและการจัดทำ� มาตรฐานทางเทคนคิ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ก�ำ กบั ดแู ลการใหบ้ รกิ าร โครงข่ายโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิทัล ติดตาม การขยายโครงข่ายและการติดตั้งสถานีวิทยุคมนาคม การออกตรวจวัดสัญญาณ และปรับปรุงฐานข้อมูล โครงสรา้ งพน้ื ฐานและโครงข่ายในระบบดิจิทัล ตลอดจน การออกใบอนญุ าตใหใ้ ชค้ ล่ืนความถีแ่ ละประกอบกจิ การ โทรทัศน์ภาคพ้ืนดินในระบบดิจิทัล ประเภทบริการ ทางธุรกิจระดบั ชาติและประเภทบรกิ ารสาธารณะ ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพ่ือไปสอู่ งคก์ รกำ�กับดูแลที่มีประสทิ ธภิ าพ มีการจัดทำ�แผนปฏิบัติการประจำ�ปี (Action Plan) ที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กร การติดตามประเมินผล ความคืบหน้าของแผนแม่บท การประเมินตนเอง (Self Assessment) จดั ท�ำ ระบบฐานขอ้ มูลส�ำ หรบั แผนพัฒนา บุคลากรรายบุคคลและการจัดหลักสูตรการพัฒนา บคุ ลากร การพฒั นาระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมท้ังได้มีการนำ�เครื่องมือการบริหารจัดการสมัยใหม่ มาใชเ้ พ่ือเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการดำ�เนินงาน

9 1.2 สภาพแวดลอ้ มและผลกระทบในกจิ การ สำ�หรับกิจการโทรทัศน์นั้น ที่ผ่านมาได้มี แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) กระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ การเปลี่ยนผ่านท่ีสำ�คัญคือการนำ�ผู้ประกอบ กิจการโทรทัศน์เข้าสู่ระบบใบอนุญาต และต้ังแต่ ภาพรวมทิศทางกิจการกระจายเสียงและ พ.ศ. 2557 มีการให้บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน กิจการโทรทัศน์ในประเทศไทยมีบริบทท่ีแตกต่าง ในระบบดจิ ทิ ลั (ทวี ดี จิ ทิ ลั )ถอื เปน็ การเปลยี่ นภมู ทิ ศั น์ ไปจากอดีตซ่ึงผู้บริโภคเข้าถึงเนื้อหาผ่านการ กิจการโทรทัศน์ของประเทศไทยจากโทรทัศน์ ออกอากาศทางโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง ภาคพนื้ ดนิ จ�ำ นวน6ชอ่ งรายการมาสู่24ชอ่ งรายการ แบบดั้งเดิม (Traditional Media) แต่ปัจจุบัน ทีวีดิจิทัลท่ีให้บริการทางธุรกิจระดับชาติ และอีก การเกดิ ขึ้นของบรกิ ารอนิ เทอร์เน็ตทำ�ให้พฤตกิ รรม 4 ช่องรายการทีวีสาธารณะ รวมทั้งหมดเป็น 28 และรปู แบบการรบั สารของผบู้ รโิ ภคเปลยี่ นแปลงไป ชอ่ งรายการ ในระบบทวี ดี จิ ทิ ลั เกดิ สภาพการแขง่ ขนั รับชมรับฟังโทรทัศน์และวิทยุผ่านโครงข่ายอื่นท่ี ทสี่ งู ในอตุ สาหกรรมทวี ดี จิ ทิ ลั สง่ ผลใหม้ ชี อ่ งรายการ มใิ ชโ่ ครงขา่ ยกระจายเสยี งหรอื โทรทศั น์ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ทขี่ อยกเลกิ ใบอนญุ าตไปกอ่ นจ�ำ นวน 2 ชอ่ งรายการ Over the Top (OTT) กนั มากข้ึน จงึ เป็นเร่ืองท่ี ในขณะทหี่ ลายชอ่ งรายการมกี ารสรา้ งความรว่ มมอื ทา้ ทายส�ำ หรบั องคก์ รก�ำ กบั ดแู ลทตี่ อ้ งปรบั แนวทาง ทางธุรกิจ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นใหม่ การกำ�กับดูแลให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เพื่อช่วยเสริมสร้างเงินทุนในการแข่งขัน ตลอดจน เทคโนโลยีและพฤติกรรมที่เปล่ียนแปลงไปของ ขยายธุรกิจไปสู่ช่องทางออนไลน์ เพื่อสร้าง ผู้บริโภค ความแขง็ แกรง่ ทางธุรกิจและเพิม่ ฐานผ้ชู ม ที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาด้านการกำ�กับดูแล กจิ การกระจายเสยี ง โดยการออกใบอนญุ าตทดลอง ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงเพื่อเตรียม ความพรอ้ มของผปู้ ระกอบกจิ การวทิ ยใุ หเ้ ขา้ สรู่ ะบบ ใบอนุญาต ตลอดจนออกมาตรฐานทางเทคนิค สำ�หรับการทดลองประกอบกิจการเพื่อให้การ ออกอากาศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และลด ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่สถานีวิทยุกระจายเสียง มีจำ�นวนมากเกินความสามารถทางเทคนิคที่จะ รองรับได้โดยไม่สร้างปัญหาคลื่นวิทยุทับซ้อนและ รบกวนกนั สง่ ผลกระทบตอ่ การรบั ฟงั ของประชาชน ทั่วไป ตลอดจนปัญหาคล่ืนรบกวนท่ีกระทบต่อ ความปลอดภัยเก่ียวกับการบินซึ่งถือเป็นเร่ืองที่ อาจเกิดอนั ตรายถึงชีวติ ของผู้ทไ่ี ดร้ ับผลกระทบได้

10 ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ จากสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กจิ การจ�ำ นวน 7 ชอ่ งรายการ ทไ่ี ดย้ น่ื ความประสงค์ และสภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมทีวีดิจิทัล ขอคืนใบอนุญาตทำ�ให้ปัจจุบันมีผู้ประกอบกิจการ ท่ีมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง กอปรกับการ ทีวีดิจิทัลประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีและการ เหลืออยู่จำ�นวน 15 ช่องรายการ อย่างไรก็ดี เข้าถึงอินเทอร์เน็ตท่ีมีเครือข่ายครอบคลุมมากขึ้น แม้จะมีผู้ประกอบการออกจากตลาดไปบางส่วน ในยุคดิจิทัล (Digital Disruption) ส่งผลกระทบ ก็ยังกล่าวได้ว่าภูมิทัศน์ของอุตสาหกรรมทีวี ต่ออุตสาหกรรมต่างๆ มากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะส่ือ ดิจิทัลยังคงไม่เปลี่ยนแปลงไปมากนัก เน่ืองจาก ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ที่ ผู้ประกอบการท่ีเหลืออยู่ยังคงต้องแข่งขันกัน ได้รับผลกระทบจากการหลอมรวมระหว่างกิจการ อยา่ งรนุ แรง ตอ้ งปรบั ตวั เพอ่ื ใหอ้ ยรู่ อดภายใตบ้ รบิ ท โทรคมนาคมกับกิจการกระจายเสียงและกิจการ การเกิดขน้ึ ของสอื่ ใหม่ โทรทัศน์ ก่อให้เกิดการขยายตัวของส่ือออนไลน์ จากที่กล่าวมาข้างต้น จึงถือเป็นความท้าทาย ซึ่งสะดวกในการรับชม ส่งผลต่อพฤติกรรมการ ของหน่วยงานกำ�กับดูแลที่ต้องส่งเสริมสนับสนุน รับชมรายการโทรทัศน์ของประชาชนทั่วไป ให้ผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ โดยแมท้ ผี่ า่ นมาคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) สามารถดำ�เนินกิจการต่อไปได้อย่างยั่งยืน ไดม้ กี ารออกมาตรการสง่ เสรมิ และบรรเทาผลกระทบ และเกิดการแข่งขันในอุตสาหกรรมอย่างเป็นธรรม ต่อกิจการทีวีดิจิทัลแต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา โดยคำ�นึงถึงการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับบริการ ของทีวีดิจิทัลท้ังระบบได้ จึงเป็นที่มาของคำ�สั่ง อย่างเป็นธรรมและส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของ หัวหน้า คสช. ที่ 4/2562 ซึ่งเปิดโอกาสให้ทีวี ประชาชนให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูล ดิจิทัลสามารถขอคนื ใบอนุญาตได้ โดยมีผูป้ ระกอบ ขา่ วสารไดห้ ลากหลายและเท่าเทยี มย่งิ ขึ้น

11 กสทช. ไดจ้ ดั ท�ำ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี ง ทั้งน้ี สำ�หรับผู้บริโภคนั้น ผู้บริโภคจะได้รับ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) และกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 2 เพ่ือตอบสนอง ความคุ้มครองมิให้ถูกเอาเปรียบและได้รับบริการ ความทา้ ทายดงั กลา่ ว โดยแนวทางในการด�ำ เนนิ งาน อยา่ งเปน็ ธรรม โดยมกี ารบรหิ ารจดั การเรอ่ื งรอ้ งเรยี น ตามแผนแมบ่ ทดงั กลา่ ว จะชว่ ยพฒั นาและยกระดบั ที่มีประสิทธิภาพยง่ิ ขนึ้ ประชาชนจะมีสิทธิเสรภี าพ มาตรฐานในการประกอบกิจการกระจายเสียง ในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร ลดการรบกวนการใช้คล่ืนความถ่ี ส่งเสริมให้ ทหี่ ลากหลายไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มยง่ิ ขน้ึ และผปู้ ระกอบ ประชาชนได้รบั บรกิ ารท่มี ีคุณภาพย่งิ ขน้ึ ตลอดจน วิชาชีพส่ือมวลชนก็จะสามารถทำ�หน้าท่ีตาม สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารท่ีจำ�เป็นพ้ืนฐาน จรยิ ธรรมแหง่ วชิ าชพี ของตนไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ ทา้ ยทสี่ ดุ ได้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของกิจการโทรทัศน์ ในสว่ นของหนว่ ยงานก�ำ กบั ดแู ลนนั้ การพฒั นาการ จะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้เหมาะสมกับ ให้บริการท่ีเกี่ยวข้องกับการอนุญาตสู่ระบบดิจิทัล สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป รวมถงึ จะเปน็ การ จะสามารถตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ รกิ าร ยกระดบั มาตรฐานกิจการโทรทัศน์ใหเ้ ปน็ ท่ียอมรบั ไดส้ ะดวกรวดเรว็ ยิ่งขนึ้ ตลอดจนสง่ เสรมิ การกำ�กับ นอกจากน้ี ยงั จะชว่ ยพฒั นาและสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ดูแลให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นผ่านการนำ�เทคโนโลยี โดยเสรีอย่างเป็นธรรมระหว่างผู้ประกอบกิจการ ดิจิทัลมาใช้งาน อีกด้วย

12 ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ 1.3 ความสอดคล้องกับนโยบายและแผน และกิจการโทรทัศน์ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี ระดบั ชาติ ท่ีเปล่ียนแปลงไปและเป็นไปตามสภาวะความ ต้องการในการใช้คล่ืนความถี่ในอุตสาหกรรมวิทยุ แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทศั น์ และค�ำ นงึ ถงึ มาตรฐานการประกอบกจิ การ โทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) ในภาพรวม และการเพิ่มช่องทางให้กับผู้ประกอบการในการ มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับนโยบายและ เลือกใช้เทคโนโลยีตามความเหมาะสม นอกจากนี้ แผนระดบั ชาติ มีความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรช์ าติ ยังให้ความสำ�คัญกับการปฏิรูป การรู้เท่าทันส่ือ 20 ปี ซึ่งถือเปน็ แผนระดับที่ 1 โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ของประชาชน ซง่ึ ถอื เปน็ วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการ ยุทธศาสตร์การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ คุ้มครองผู้บริโภคเพ่ือให้สามารถเลือกใช้ประโยชน์ บริหารจัดการภาครัฐ ซ่ึงให้ความสำ�คัญกับการ จากข้อมลู ข่าวสารไดอ้ ย่างมีคุณภาพ ใหบ้ รกิ ารประชาชนอยา่ งรวดเรว็ โปรง่ ใส ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 ความสมั พนั ธก์ บั รฐั บาล และน�ำ เทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชโ้ ดยปรบั เปลย่ี นเปน็ ดจิ ทิ ลั เพมิ่ ขน้ึ ตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ในการดำ�เนินการตามแผนแม่บทกิจการ นอกจากน้ี แผนแม่บทกิจการกระจายเสียง กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ฉบับนี้ มีทิศทาง และกิจการโทรทัศน์ ฉบับท่ี 2 น้ี ยังสนับสนุน การด�ำ เนนิ การทสี่ อดคลอ้ งและเชอื่ มโยงกบั นโยบาย แผนการปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะด้านสื่อสาร และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือ มวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในประเด็นการ เศรษฐกิจและสังคม และนโยบายที่คณะรัฐมนตรี ปฏิรูปโครงสร้างอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน แถลงไว้ต่อรฐั สภา และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยได้กำ�หนดทิศทาง และเป้าหมายของแผนแม่บทกิจการกระจายเสียง



หลักการพน้ื ฐาน วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ และเปา้ ประสงค์ของแผนแม่บทกิจการ กระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568)

15 ส่วน ่ีท 2 หลักการพน้ื ฐาน วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ และเป้าประสงค์ของแผนแม่บทกิจการ กระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) (พ.ศ. 2563 - 2568) อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 27 (1) และมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคล่นื ความถ่แี ละกำ�กับการประกอบ กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ซงึ่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรรคลน่ื ความถี่ และกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ กจิ การโทรคมนาคม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562 กสทช. จงึ จดั ใหม้ แี ผนแมบ่ ท กิจการกระจายเสียงและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) โดยกำ�หนดให้มีการบังคับใช้เป็นเวลา 5 ปี นับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป หลักการพ้ืนฐานในการจัดทำ�แผนแม่บท 2) แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการแข่งขัน กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ โดยเสรีอย่างเป็นธรรมในกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติองค์กร จัดสรรคลื่นความถี่และกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุ มุ่งเน้นการกำ�กับดูแลการประกอบกิจการ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม กระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั นเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั การผกู ขาด พ.ศ. 2553 และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เติม ทีอ่ ยา่ งน้อยตอ้ งคำ�นงึ หรอื ลด หรือจำ�กัดการแข่งขนั รวมถงึ ปอ้ งกันมิให้มกี าร ถึงแนวทางท่ีส�ำ คญั ดงั ตอ่ ไปน้ี ครอบงำ�ในลักษณะท่ีเป็นการจำ�กัดโอกาสในการรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเพิ่มความหลากหลายของข้อมูล 1) แนวทางการอนญุ าตให้ใชค้ ลนื่ ความถแ่ี ละการ ข่าวสารให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม อนุญาตประกอบกิจการ และทั่วถงึ มุ่งเน้นการบริหารจัดการคลื่นความถี่ให้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีการอนุญาตใช้คลื่น 3) มาตรการจัดให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้ใช้ ความถ่ีสำ�หรับการประกอบกิจการกระจายเสียงและ คลื่นความถ่ีเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสำ�หรับ กิจการโทรทัศน์ครอบคลุมทุกประเภทกิจการอย่างเสรี ภาคประชาชนในกิจการกระจายเสียงและกิจการ และเป็นธรรม และให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการใช้ โทรทศั น์ คลื่นความถี่ในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการอนุญาตประกอบกิจการ มุ่งส่งเสริมภาคส่วนที่เกี่ยวข้องท่ีมีความพร้อม กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ท้ังท่ีใช้คล่ืนความถี่ ให้สามารถขอรับการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และ และไมใ่ ชค้ ลนื่ ความถ่ี ครอบคลมุ ทกุ ประเภทกจิ การอยา่ ง ประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ เสรแี ละเปน็ ธรรม โดยค�ำ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของ เพ่ือประโยชน์สาธารณะหรือสำ�หรับภาคประชาชน ประชาชนและมลภาวะสิ่งแวดล้อมต่างๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น รวมถึงสนับสนุนผู้ประกอบกิจการในการให้บริการ จากการใชค้ ลื่นความถ่ี ไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ

16 กิจการกระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์ พัฒนากา้ วไกล สรา้ งสรรค์สังคม วิสัยทัศน์ เออ้ื ประโยชน์ทุกภาคสว่ น ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ พันธกิจ จดั สรรทรัพยากรการสอ่ื สารอย่างโปรง่ ใส เป็นธรรม ครอบคลมุ ในทกุ มิติ กำ�กบั ดแู ลใหม้ ีประสทิ ธภิ าพบนพนื้ ฐาน การแขง่ ขนั ท่ีเสรี เป็นธรรม เพอื่ ความม่นั คง และประโยชน์สาธารณะ คุม้ ครองประชาชนให้ไดร้ บั บริการ ท่ีมคี ณุ ภาพ ส่งเสริมสทิ ธิเสรภี าพของประชาชนในการ สื่อสารและเข้าถงึ ขอ้ มูลขา่ วสารที่หลากหลาย และมีคุณภาพอยา่ งเทา่ เทยี ม

17 กจิ การกระจายเสยี ง ประชาชนได้รับประโยชน์ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) และกจิ การโทรทัศน์ จากการอนญุ าตให้ใชค้ ลน่ื ความถี่ ไดร้ บั การพฒั นา และประกอบกิจการกระจายเสียง ไปสูค่ วามทันสมยั และกิจการโทรทัศน์อย่างมี ใช้ทรพั ยากร ประสิทธภิ าพ ทว่ั ถงึ เปน็ ธรรม อย่างค้มุ คา่ ประชาชนไดร้ ับการคุม้ ครอง 6 1 มใิ หถ้ ูกเอาเปรยี บจาก ผู้รบั ใบอนญุ าต ผ้ผู ลติ รายการ ผปู้ ระกอบกิจการกระจายเสียง และผูป้ ระกอบวชิ าชพี ในกจิ การ และกิจการโทรทศั น์ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ 2 ไดร้ บั การสง่ เสรมิ พฒั นา คุณภาพ มมี าตรฐาน เป้าประสงค์ 3 ทางจริยธรรม 54 ประชาชนมสี ทิ ธิ เสรภี าพในการเขา้ ถึง ขอ้ มูลข่าวสาร อยา่ งเทา่ เทยี ม ผ้ปู ระกอบกจิ การกระจายเสยี ง และกจิ การโทรทศั นส์ ามารถ แข่งขันอย่างเสรี เปน็ ธรรม เน้อื หามคี ณุ ภาพ หลากหลาย เชื่อถือได้ และเหมาะสม กบั กลุ่มเป้าหมาย

ยทุ ธศาสตรภ์ ายใต้แผนแม่บทกจิ การ กระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568)

19 ส่วน ่ีท 3 ยุทธศาสตร์ภายใต้แผนแมบ่ ทกจิ การ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) กระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ฉบับนี้ มุ่งเน้นและให้ความสำ�คัญกับการพัฒนากิจการวิทยุกระจายเสียง เพื่อยกระดับมาตรฐานกิจการกระจายเสียงและเพ่ิมทางเลือก ให้กับประชาชนในการรับบริการและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ จ�ำ เปน็ พนื้ ฐานไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง นอกจากน้ี ยงั มงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ การพฒั นา กจิ การโทรทศั นข์ องประเทศใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ททเี่ ปลย่ี นแปลงไป เพอ่ื ใหส้ ามารถก�ำ กบั ดแู ลไดส้ อดคลอ้ งกบั ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรม ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยคำ�นึงถึงการใช้ทรัพยากรในกิจการโทรทัศน์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด รวมทั้งให้ความสำ�คัญ กับการกำ�กับดูแลด้านเนื้อหาให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง ของสังคมและเทคโนโลยี มุ่งเน้นไปสู่การพัฒนาและสร้างกลไก ในการกำ�กับดูแลด้านเนื้อหาให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการ ส่งเสริมสนับสนุนเนื้อหาที่มีคุณภาพ สร้างสรรค์ หลากหลาย และเป็นประโยชนต์ อ่ สาธารณะใหม้ ากย่งิ ขน้ึ การค้มุ ครองผบู้ ริโภค มิให้ถูกเอาเปรียบและได้รับบริการอย่างเป็นธรรม ส่งเสริมสิทธิ เสรภี าพของประชาชนใหส้ ามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ข่าวสารท่ีหลากหลายได้อย่างเท่าเทียม ตลอดจนการให้บริการ และการกำ�กับดูแลท่ีมุ่งสู่ความเป็นดิจิทัลโดยนำ�เทคโนโลยีดิจิทัล มาใชใ้ นการให้บริการและการก�ำ กับดแู ลให้มปี ระสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน การพัฒนากจิ การ การพฒั นากิจการ การก�ำกบั ดูแล การให้บริการ วิทยกุ ระจายเสียง โทรทัศน์ของประเทศ ด้านเนือ้ หา การคมุ้ ครอง และการก�ำกับดูแล ในประเทศไทย ผูบ้ รโิ ภค และการสง่ เสริม ท่ีมงุ่ สู่ความเป็นดจิ ทิ ัล ให้เหมาะสมกบั บริบทใหม่ สทิ ธเิ สรภี าพของ ประชาชน

20 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นากจิ การวทิ ยุกระจายเสยี ง ในประเทศไทย การพัฒนากิจการวิทยุกระจายเสียง เพื่อยกระดับมาตรฐานกิจการกระจายเสียงให้เป็นท่ียอมรับ ลดการรบกวนการใช้คล่ืนความถี่ เพิ่มทางเลือกให้กับประชาชนในการรับบริการ รวมถึงให้ประชาชน สามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลข่าวสารทีจ่ ำ�เปน็ พ้นื ฐานไดอ้ ย่างตอ่ เนื่อง ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ วัตถุประสงค์ ปัจจัยความสำ�เร็จ 1) เพอ่ื ยกระดบั มาตรฐานกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง 1) ความพรอ้ มของบคุ ลากรเครอ่ื งมอื และระบบงาน 2) เพ่อื ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ทจ่ี �ำ เปน็ พน้ื ฐานไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2) ความร่วมมือท่ดี ีจากภาคส่วนท่เี ก่ยี วข้อง เช่น 3) เพ่ือเพ่ิมทางเลือกให้แก่ประชาชนในการ จากหน่วยงานอ่นื ท่เี ก่ยี วข้องกับกระบวนการ รบั บรกิ ารกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง บังคับใช้กฎหมาย จากภาคประชาสังคม ในการให้ข้อมูลผู้ท่ีอาจเข้าข่ายกระทำ�การ เป้าหมายของยุทธศาสตร์ ทผ่ี ิดกฎหมาย เปน็ ต้น 3) ความเข้าใจและการยอมรับของภาคส่วน 1) กิจการวิทยุกระจายเสียงมีมาตรฐานเป็นท่ี ที่เกี่ยวข้อง ยอมรบั 2) เพ่ือลดการรบกวนการใช้คล่ืนความถ่ีท่ีสร้าง ผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้อง 3) สร้างกระบวนการเปล่ียนผ่านให้ผู้ประกอบ กิจการตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติ องค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ีและกำ�กับการ ประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และท่ี แก้ไขเพิ่มเติมที่มีความจำ�เป็น 4) มกี ารทดลองโครงการน�ำ รอ่ งวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ในระบบดจิ ทิ ลั

21 ตัวชี้วัด กลยุทธ์ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) 1) การลดลงของการกระทำ�ความผิดด้านกิจการ 1) การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเขม้ งวด กระจายเสยี ง 2) การส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบกิจการวิทยุ 2) การเพ่ิมข้ึนของจำ�นวนผู้ประกอบการวิทยุ กระจายเสยี งทไ่ี ดม้ าตรฐาน กระจายเสียงที่ได้มาตรฐาน 3) การกำ�กับดูแลการใช้คล่นื ความถ่แี ละอุปกรณ์ 3) การลดลงของจำ�นวนการรบกวนการใช้คล่ืน ท่ีเก่ียวข้องให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดท่ีเป็น ความถท่ี เ่ี ขา้ ขา่ ยมผี ลกระทบตอ่ ความปลอดภยั มาตรฐาน อยา่ งทว่ั ถงึ รวดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพ ของชีวิตและทรัพย์สิน 4) ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า 4) ผปู้ ระกอบกจิ การตามมาตรา 83 แหง่ พระราช- ใหใ้ บอนุญาตวิทยุกระจายเสียงแก่ผู้ประกอบ บัญญัติองค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ีและกำ�กับ กิจการตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ องค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ีและกำ�กับการ โทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ท่ีมีความจำ�เป็น ได้รับ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และท่ี การพจิ ารณาใหใ้ บอนญุ าต แก้ไขเพิ่มเติมที่มีความจำ�เป็น 5) มีผลการทดลองจากโครงการนำ�ร่องวิทยุ 5) การอนุญาตทดลองวิทยุกระจายเสียงระบบ กระจายเสียงในระบบดิจทิ ลั ท่ชี ดั เจน ดจิ ทิ ลั 6) การสรา้ งความเขา้ ใจกบั ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

22 ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ แนวทางการดำ�เนินงาน 6) พิจารณาหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเงื่อนไข ความจ�ำ เปน็ ในการให้ใบอนุญาต 1) สร้างความเข้าใจกับภาคส่วนที่เก่ียวข้อง 7) ผรู้ บั อนญุ าตใหใ้ ชง้ านคลนื่ ความถเี่ พอื่ ประกอบ ถึงความจำ�เป็นในการดำ�เนินมาตรการที่ กิจการตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติ จะนำ�ไปสู่การยกระดับมาตรฐานกิจการ องค์กรจัดสรรคล่ืนความถ่ีและกำ�กับการ วิทยกุ ระจายเสยี ง ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ 2) ติดตาม ตรวจสอบ บังคับใช้ทางกฎหมาย โทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 กบั ผูก้ ระทำ�ความผดิ โดยเครง่ ครัด และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมท่ีมีความจำ�เป็น และ 3) พฒั นามาตรการเพอื่ สง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบกจิ การ ประสงค์จะให้บริการต่อ ย่ืนแผนประกอบ วิทยกุ ระจายเสยี งทไี่ ด้มาตรฐาน กจิ การกระจายเสยี งภายในเวลาที่กำ�หนด 4) ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานเคร่ืองวิทยุ 8) อนุญาตให้มีการทดลองทดสอบวิทยุกระจาย คมนาคมให้เป็นไปตามมาตรฐาน เพ่ือลด เสียงในระบบดิจิทัลเพื่อนำ�ผลท่ีได้ไปสื่อสาร การรบกวนการใชค้ ลืน่ ความถ่ี ทำ�ความเข้าใจต่อภาคส่วนที่เก่ียวข้องและ 5) สร้างความชัดเจนร่วมกันในขอบเขตและ สาธารณะ กระบวนการทำ�งานร่วมกัน ระหว่างภาคส่วน ท่ีเกยี่ วขอ้ ง

วัตถุประสงค์ กจิ การวทิ ยในกุ ปกระราจะราเพทยศฒัเสไทนยี ยาง 1 เพือ่ ยกระดบั มาตรฐาน ตัวชี้วัด กิจการวิทยกุ ระจายเสียง 1. การลดลงของการกระท�ำ ความผดิ 2 เพ่ือให้ประชาชนสามารถ ด้านกิจการกระจายเสียง เข้าถึงขอ้ มูลข่าวสาร 2. การเพ่ิมขึ้นของจ�ำ นวนผ้ปู ระกอบการ ท่ีจำ�เปน็ พ้นื ฐาน วิทยกุ ระจายเสียงท่ีได้มาตรฐาน ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง 3. การลดลงของจ�ำ นวนการรบกวน การใช้คลนื่ ความถีท่ ่ีเข้าข่าย 3 เพ่ือเพิ่มทางเลือกให้แก่ มผี ลกระทบต่อความปลอดภัย ประชาชนในการรับบรกิ าร ของชีวิตและทรัพยส์ ิน กิจการวิทยุกระจายเสยี ง 4. ผู้ประกอบกิจการตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรร คลนื่ ความถแ่ี ละก�ำ กบั การ ประกอบกจิ การวทิ ยุกระจายเสียง วทิ ยโุ ทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม ทม่ี คี วามจำ�เป็น ไดร้ ับการพิจารณา ให้ใบอนุญาต 5. มีผลการทดลองจากโครงการน�ำ ร่อง วิทยกุ ระจายเสยี งในระบบดจิ ิทัล ทช่ี ัดเจน

24 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การพัฒนากิจการโทรทศั น์ ของประเทศใหเ้ หมาะสมกบั บริบทใหม่ การพฒั นากจิ การโทรทศั นข์ องประเทศใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ททเี่ ปลยี่ นแปลงไป เพอ่ื ให้สามารถก�ำ กบั ดแู ล ได้สอดคล้องกับระบบนิเวศของอุตสาหกรรม โดยคำ�นึงถึงการใช้ทรัพยากรในกิจการโทรทัศน์อย่างมี ประสิทธภิ าพมากทสี่ ุด และยกระดบั มาตรฐานกิจการโทรทศั น์ใหเ้ ปน็ ที่ยอมรับ ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ วตั ถปุ ระสงค์ ปจั จยั ความสำ�เรจ็ 1) เพ่ือให้มีการใช้ทรัพยากรในกิจการโทรทัศน์ 1) การสร้างความเข้าใจและได้รับการสนับสนุน อย่างมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ จากหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2) เพ่อื ปรับกระบวนการกำ�กับดูแลให้สอดคล้อง 2) ความพรอ้ มของบคุ ลากร เครอื่ งมอื และระบบงาน กบั ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 3) เพ่อื ยกระดับมาตรฐานกิจการโทรทศั น์ 3) ความร่วมมือที่ดีจากภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง เช่น จากหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการ เปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์ บังคับใช้กฎหมาย จากภาคประชาสังคมในการ ใหข้ อ้ มลู ผทู้ อ่ี าจเขา้ ขา่ ยกระท�ำ การทผ่ี ดิ กฎหมาย 1) เพ่ิมช่องทางการส่ือสารให้ประชาชนในส่วน ในเรื่องท่ีเกย่ี วขอ้ ง เปน็ ตน้ ภมู ภิ าค 4) การประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2) เปิดโอกาสให้มีการทดลองเทคโนโลยีใหม่ เพ่ือกำ�หนดแนวทางหรือมาตรการกำ�กับดูแล ในกิจการโทรทศั น์ ให้สอดคล้องกับระบบนิเวศของอุตสาหกรรม 3) มรี ะบบการก�ำ กบั ดแู ลทส่ี อดรบั กบั ระบบนเิ วศ และการแข่งขันที่เปล่ียนแปลงไป โดยเฉพาะ ของอตุ สาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป การให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ 4) กิจการโทรทัศน์มีมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ ผ่านโครงข่ายอ่ืนท่ีมิใช่โครงข่ายกระจายเสียง มากขน้ึ หรอื โทรทัศน์

25 ตวั ชีว้ ดั กลยุทธ์ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) 1) มีการอนุญาตให้หน่วยงานท่ีมีภารกิจสามารถ 1) การส่งเสริมให้เกิดบริการโทรทัศน์สาธารณะ มบี รกิ ารโทรทัศน์สาธารณะสำ�หรบั ภมู ภิ าค สำ�หรับภูมิภาค 2) มกี ารสอ่ื สารใหส้ าธารณะรบั ทราบถงึ ความพรอ้ ม 2) การสร้างความเข้าใจและความรู้ใหม่เก่ียวกับ ในการอนุญาตการทดลองเทคโนโลยีใหม่ เทคโนโลยีในกจิ การโทรทศั น์ ในกิจการโทรทศั น์ 3) การปรับปรุงกฎระเบียบให้สอดคล้องกับ 3) มีกฎระเบียบในการกำ�กับดูแลที่เหมาะสม ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป และสอดคลอ้ งกบั ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรม 4) การเสนอปรับปรุงข้อกฎหมายที่เก่ียวข้อง และการแขง่ ขนั ที่เปลี่ยนแปลงไป ให้เหมาะสมกับระบบนิเวศของอุตสาหกรรม 4) มกี ารเสนอรายงานการปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมาย ทเี่ ปล่ยี นแปลงไป ท่ีเอ้ือต่อระบบนิเวศของอุตสาหกรรมท่ี 5) การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่างเข้มงวด เปลย่ี นแปลงไป 6) การส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบกิจการ 5) การลดลงของการกระทำ�ความผิดด้านกิจการ โทรทศั น์ทไ่ี ด้มาตรฐาน โทรทัศน์ 6) การเพ่ิมข้ึนของจำ�นวนผู้ประกอบกิจการ โทรทัศนท์ ี่ไดม้ าตรฐาน

ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ26 แนวทางการดำ�เนนิ งาน 1) สร้างความเข้าใจและความร่วมมือกับภาคส่วน ที่เกย่ี วขอ้ ง 2) พัฒนากฎระเบียบให้ทันสมัย ลดข้ันตอน ง่าย ตอ่ การปฏิบตั ิ และมีความยืดหยุน่ 3) ส่งเสริมการยกระดับมาตรฐานขององค์กร วิชาชีพ 4) ศกึ ษาขอ้ กฎหมายทสี่ มควรปรบั เปลย่ี นใหเ้ ออ้ื ตอ่ ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรมทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป 5) สร้างความเข้าใจกับภาคสว่ นทเี่ ก่ียวข้องถึงความ จำ�เป็นในการดำ�เนินมาตรการท่ีจะนำ�ไปสู่การ ยกระดบั มาตรฐานกจิ การโทรทัศน์ 6) ติดตาม ตรวจสอบ บังคับใช้ทางกฎหมายกับ ผ้กู ระทำ�ความผิดโดยเครง่ ครดั 7) พัฒนามาตรการเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบกิจการ โทรทศั นท์ ไ่ี ดม้ าตรฐาน

วัตถุประสงค์ กจิ ใกหาเ้ หรโมทาระทสศัมนก์ขับกอบางรรปพบิ รทัฒะใเทหนศมา่ 1 เพ่ือใหม้ ีการใช้ทรัพยากร ตัวชี้วัด ในกิจการโทรทศั น์อย่างมี ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ 1. มีการอนญุ าตใหห้ นว่ ยงานท่มี ี ภารกจิ สามารถมบี ริการโทรทัศน์ 2 เพ่ือปรับกระบวนการก�ำ กับดูแล สาธารณะสำ�หรับภมู ภิ าค ใหส้ อดคลอ้ งกบั ระบบนิเวศของ อตุ สาหกรรมท่เี ปลยี่ นแปลงไป ON AIR 2. มีการส่อื สารใหส้ าธารณะ รบั ทราบ ถึงความพร้อมในการอนญุ าต 3 เพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน การทดลองเทคโนโลยใี หม่ใน กจิ การโทรทัศน์ กิจการโทรทัศน์ LIVE 3. มกี ฎระเบียบในการกำ�กับดูแลท่ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั BROADCAST ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรม และการแขง่ ขันทเี่ ปล่ียนแปลงไป 4. มกี ารเสนอรายงานการปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมายท่ีเออ้ื ต่อระบบนิเวศ ของอุตสาหกรรมที่เปล่ยี นแปลงไป 5. การลดลงของการกระทำ� ความผิดด้านกจิ การโทรทัศน์ 6. การเพ่มิ ข้ึนของจ�ำ นวนผูป้ ระกอบ กจิ การโทรทัศน์ท่ีไดม้ าตรฐาน

28 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การกำ�กับดูแลด้านเนื้อหา การคุม้ ครองผู้บรโิ ภค และการส่งเสริมสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน การกำ�กับดูแลด้านเนื้อหาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคโนโลยี มุ่งเน้นไปสู่การพัฒนาและ สร้างกลไกในการกำ�กับดูแลด้านเน้ือหาให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการส่งเสริมสนับสนุนเน้ือหาท่ีมีคุณภาพ สร้างสรรค์ หลากหลาย และเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะให้มากยิ่งข้ึน มีการคุ้มครองผู้บริโภคมิให้ถูกเอาเปรียบ และได้รับบริการอย่างเป็นธรรม มีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนใหส้ ามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ขา่ วสารทหี่ ลากหลายไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี ม รวมทง้ั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ส่อื มวลชนสามารถทำ�หนา้ ทต่ี ามจริยธรรมแหง่ วชิ าชีพของตนได้อย่างเตม็ ท่ี ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ วตั ถุประสงค์ ปัจจยั ความสำ�เรจ็ 1) เพ่อื พัฒนาแนวทางในการกำ�กับดูแลด้านเน้อื หา 1) มีความร่วมมืออย่างเป็นระบบกับภาคส่วน ให้มีประสทิ ธิภาพและเหมาะสมตอ่ สภาวการณ์ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนามาตรฐานเนื้อหาและ 2) เพ่ือส่งเสริมให้มีเน้ือหาที่มีคุณภาพ หลากหลาย โฆษณาท่ีเผยแพร่ส่สู าธารณะ และสร้างสรรค์ 2) การพัฒนากลไกการจัดการปัญหาการกระทำ� 3) เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคมิให้ถูกเอาเปรียบจาก ท่ีเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคอย่างเข้มแข็ง ผปู้ ระกอบกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ รวดเร็ว และมีการบูรณาการหน่วยงานที่ 4) เพ่ือส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของประชาชนในการ เก่ยี วขอ้ ง รับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร 3) มีฐานขอ้ มูลทีเ่ ก่ียวข้อง เชน่ มติ พิ ้ืนที่ มติ กิ ลมุ่ อย่างเท่าเทียม ผรู้ บั สาร และอื่นๆ อย่างเป็นระบบ ครบถว้ น ชัดเจน เป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ 1) มรี ะบบในการก�ำ กบั ดแู ลดา้ นเนอ้ื หาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 2) มเี นอ้ื หาทม่ี คี ณุ ภาพ หลากหลาย และสรา้ งสรรค์ 3) ผูใ้ ช้บรกิ ารไดร้ ับบริการอยา่ งเปน็ ธรรม 4) มกี ารบรหิ ารจดั การเรอ่ื งรอ้ งเรยี นทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ยง่ิ ข้นึ 5) ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ใชป้ ระโยชนแ์ ละรเู้ ทา่ ทนั ขอ้ มลู ขา่ วสารทห่ี ลากหลายในกจิ การกระจายเสยี ง และโทรทศั นต์ ามสทิ ธเิ สรภี าพภายใตร้ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย 6) ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ข้อมูลข่าวสารอย่างเท่าเทียม กบั ประชาชนทวั่ ไป 7) ผู้ประกอบวิชาชีพส่ือมวลชนสามารถทำ�หน้าท่ี ตามจริยธรรมแหง่ วชิ าชพี ของตนไดอ้ ย่างเตม็ ที่

29 ตวั ชี้วดั กลยทุ ธ์ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) 1) ระบบและกลไกในการก�ำ กบั ดูแลด้านเนอ้ื หา 1) จัดทำ�แนวทางกำ�กับดูแลเนื้อหาท่ีรองรับต่อ 2) มีความร่วมมือกับหน่วยงานหรือองค์กรท่ีมี สภาวการณข์ องสังคมและเทคโนโลยี อำ�นาจตามกฎหมายซ่ึงเกี่ยวเน่ืองกับการนำ� 2) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานหรือองค์กร เน้ือหารายการไปเผยแพรส่ สู่ าธารณะ ที่มีอำ�นาจตามกฎหมายซึ่งเก่ียวเนื่องกับการ 3) การผิดสัญญาการให้บริการของผู้ประกอบการ นำ�เนอื้ หารายการไปเผยแพรส่ สู่ าธารณะ มีจ�ำ นวนลดลง 3) การกำ�หนดให้มีมาตรการเคร่งครัดในการกำ�กับ 4) ระยะเวลาแก้ปัญหาและจัดการเรื่องร้องเรียน ดแู ลสญั ญาการให้บริการ รวดเรว็ ขึ้นเปน็ ไปตามก�ำ หนดเวลา 4) การส่งเสริมให้มีเครือข่ายเฝ้าระวังและคุ้มครอง 5) มชี อ่ งทางการรอ้ งเรยี นและตดิ ตามความคบื หนา้ ผบู้ ริโภคท่มี ีความเขม้ แขง็ ของเร่อื งร้องเรียนเพ่มิ ข้ึน 5) การยกระดับกลไกการบริหารจัดการเร่ือง 6) มีผลการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพของ รอ้ งเรยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพดว้ ยการน�ำ เทคโนโลยี บริการอย่างทั่วถึงท้ังในมิติพ้ืนที่และในมิติของ ดจิ ทิ ัลมาประยกุ ต์ใช้ เนอ้ื หาทหี่ ลากหลาย เขา้ ถงึ งา่ ย ส�ำ หรบั ประชาชน 6) การสนับสนุนการเข้าถึงบริการอย่างท่ัวถึงในมิติ ทุกกล่มุ ท่เี ปน็ ที่นา่ พอใจ พน้ื ทแ่ี ละในมติ ขิ องเนอ้ื หาทห่ี ลากหลาย เขา้ ถงึ งา่ ย 7) มบี รกิ ารการเขา้ ถงึ ส�ำ หรบั ผพู้ กิ ารตามหลกั เกณฑ์ ส�ำ หรบั ประชาชนทกุ กลมุ่ รวมถงึ ผพู้ กิ าร ผสู้ งู อายุ ท่ี กสทช. ประกาศก�ำ หนด ผดู้ อ้ ยโอกาส 8) มีเง่ือนไขการอนุญาตท่ีมิให้ผู้รับใบอนุญาตจำ�กัด 7) การกำ�หนดมาตรการมิให้ผู้รับใบอนุญาตจำ�กัด เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของผปู้ ระกอบ เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ของผปู้ ระกอบ วิชาชีพ วิชาชีพ

ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ30 แนวทางการดำ�เนนิ งาน 1) มีกลไก อุปกรณ์ หรือเครื่องมือการติดตามประเมินผลการกำ�กับ ดแู ลเนื้อหาทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาวการณ์ 2) การให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และสนับสนุนให้มีการผลิต เน้ือหาที่มีคุณภาพ สร้างสรรค์ หลากหลาย และเป็นประโยชน์ ต่อสาธารณะ 3) มกี ารออกแบบมาตรการเพอ่ื ใหก้ ารก�ำ กบั ดแู ลสญั ญาการใหบ้ รกิ าร เปน็ ไปตามมาตรฐาน 4) สื่อสารสร้างความเข้าใจถึงกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและ ลกั ษณะของเรอื่ งร้องเรยี นที่เอ้ือตอ่ การแกป้ ญั หาท่รี วดเรว็ 5) มีการนำ�เทคโนโลยีมาใช้เพ่ือพัฒนากลไกและกระบวนการจัดการ ปญั หาเรื่องร้องเรียนใหก้ ระชับยิง่ ขน้ึ 6) มแี ผนหรอื แนวทางทช่ี ดั เจนในการมเี ครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั และคมุ้ ครอง ผูบ้ รโิ ภคทเี่ ข้มแขง็ 7) จดั ท�ำ แผนสนบั สนนุ การเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นกจิ การกระจายเสยี งและ กิจการโทรทัศน์ท่ีกำ�หนดประเภทบริการต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับ กล่มุ เป้าหมายที่ชดั เจน 8) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการให้ความรู้ และ เสรมิ สรา้ งทักษะการรู้เท่าทนั ส่อื ให้กบั ประชาชนกลมุ่ ตา่ งๆ 9) สนับสนุนการให้ทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาการเข้าถึงและ ใช้ประโยชน์ส่ือผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผ่านกองทุนวิจัย และพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ 10) กำ�หนดเง่ือนไขการอนุญาตมิให้ผู้รับใบอนุญาตจำ�กัดเสรีภาพ ในการแสดงความคดิ เห็นของผู้ประกอบวิชาชีพ 11) สนับสนุนการดำ�เนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเผยแพร่ รายการโทรทัศน์สำ�คัญที่ให้เผยแพร่ได้เฉพาะในบริการโทรทัศน์ ทเี่ ปน็ การท่ัวไป

วัตถุประสงค์ การคมุ้ ครอสงกทิผาธู้บรเิ รสกโิ ร�ำภีภกคบัาแพดลูแขะลอกดงาปา้รนรสะเ่งนชเส้อืาชรหมินา 1 ตัวช้ีวัด เพื่อพัฒนาแนวทางในการ 1. ระบบและกลไกในการก�ำ กับดแู ล กำ�กบั ดแู ลดา้ นเน้ือหาใหม้ ี ด้านเนอื้ หา ประสิทธิภาพและเหมาะสม 2. มีความรว่ มมือกับหน่วยงานหรอื ต่อสภาวการณ์ องค์กรทม่ี ีอ�ำ นาจตามกฎหมาย ซึง่ เกี่ยวเนอ่ื งกับการนำ�เน้ือหา 2 รายการไปเผยแพรส่ สู่ าธารณะ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ ีเน้อื หา 3. การผิดสญั ญาการใหบ้ ริการของ ที่มีคณุ ภาพ หลากหลาย ผปู้ ระกอบการมจี �ำ นวนลดลง และสร้างสรรค์ 4. ระยะเวลาแก้ปญั หาและจัดการ เร่อื งรอ้ งเรียนรวดเรว็ ขนึ้ เป็นไปตาม 3 ก�ำ หนดเวลา 5. มีชอ่ งทางการร้องเรยี นและตดิ ตาม เพ่อื คมุ้ ครองผู้บรโิ ภค ความคบื หนา้ ของเร่ืองรอ้ งเรียน มิให้ถกู เอาเปรยี บ เพม่ิ ข้นึ จากผู้ประกอบกิจการ กระจายเสยี ง 6. มีผลการประเมินประสิทธภิ าพ และกิจการโทรทศั น์ และคณุ ภาพของบริการอย่างทว่ั ถึง ท้ังในมติ พิ น้ื ทีแ่ ละในมติ ขิ องเน้ือหา 4 ทีห่ ลากหลายเขา้ ถึงงา่ ย สำ�หรบั ประชาชนทกุ กลุ่ม ที่เปน็ ทน่ี า่ พอใจ เพ่อื ส่งเสริมสิทธเิ สรภี าพ 7. มีบรกิ ารการเข้าถงึ สำ�หรับผูพ้ กิ าร ของประชาชนในการรับรู้ ตามหลักเกณฑท์ ี่ กสทช. ประกาศ เขา้ ถงึ และใช้ประโยชน์ ก�ำ หนด จากขอ้ มูลขา่ วสาร 8. มีเงื่อนไขการอนญุ าตท่มี ิใหผ้ ้รู ับ อยา่ งเท่าเทยี ม ใบอนญุ าตจ�ำ กัดเสรีภาพ ในการ แสดงความคดิ เห็นของผปู้ ระกอบ วิชาชพี

32 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การใหบ้ รกิ ารและการกำ�กบั ดูแล ท่มี ่งุ สคู่ วามเปน็ ดจิ ิทลั การให้บริการและการกำ�กับดูแลที่มุ่งสู่ความเป็นดิจิทัล มีการใช้ระบบการอนุญาตบนพื้นฐาน ของการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล และน�ำ เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ในการก�ำ กับดแู ลให้มปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ข้ึน ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ วัตถปุ ระสงค์ ปจั จยั ความสำ�เร็จ 1) เพื่อให้มีการนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ 1) บุคลากรมีความเข้าใจและสามารถใช้ อนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงและ เทคโนโลยีท่ีเชื่อมโยงกับระบบการอนุญาต กิจการโทรทศั น์ ในรปู แบบดิจิทลั 2) เพอื่ น�ำ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ นการก�ำ กบั ดแู ล 2) สร้างความเข้าใจและได้รับความร่วมมือจาก กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ผเู้ กย่ี วขอ้ งในการบรู ณาการขอ้ มลู การอนญุ าต ใหม้ ีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ขึน้ 3) ระบบท่ีเปิดให้มีการทำ�งานร่วมกันระหว่าง 3) เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้รองรับ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ การปฏิบตั งิ านที่มงุ่ สคู่ วามเปน็ ดิจทิ ลั เพื่อการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลการกำ�กับ ดูแลทจ่ี �ำ เป็นอย่างครบถ้วน เป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ 4) การมีมาตรการรักษาความปลอดภัยในการ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ 1) มรี ะบบการอนญุ าตกระจายเสยี งและโทรทศั น์ ที่น�ำ เทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ 2) มีฐานข้อมูลกลางด้านกิจการกระจายเสียง และโทรทศั นใ์ นรปู แบบดจิ ทิ ลั ทถี่ กู ตอ้ ง ทนั สมยั เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการอนญุ าตประกอบกจิ การ และการก�ำ กบั ดแู ล 3) บคุ ลากรมคี วามสามารถในการปรบั ตวั สรู่ ะบบ การให้บริการและการกำ�กับดูแลที่มุ่งสู่ความ เปน็ ดิจิทัล

33 ตวั ช้ีวัด กลยทุ ธ์ แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) 1) ความสำ�เร็จในการพัฒนาระบบการอนุญาต 1) การพัฒนาการให้บริการสู่ระบบดิจิทัล ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ 2) มีฐานข้อมูลกลางที่พร้อมให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึง ไดส้ ะดวก รวดเร็ว ในรูปแบบออนไลน์เพ่ือใช้ประโยชน์ในการ 2) การสร้างระบบฐานข้อมูลที่เช่ือมโยงข้อมูล ก�ำ กบั ดแู ลร่วมกนั ดา้ นการอนญุ าตและสามารถตรวจสอบสถานะ 3) ระบบฐานข้อมูลกลางต้องมีองค์ประกอบ ของผขู้ อรับใบอนุญาตไดใ้ นรูปแบบดจิ ิทัล ตามมาตรฐานความถูกต้อง ความปลอดภัย 3) การยกระดับกลไกการบริหารจัดการเร่ือง งา่ ยต่อการใช้งาน รอ้ งเรยี นสกู่ ารใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั 4) บุคลากรสามารถปฏิบัติงานภายใต้ระบบ 4) การผลกั ดนั ใหม้ กี ารบรู ณาการระบบฐานขอ้ มลู การให้บริการและระบบการกำ�กับดูแลที่มุ่งสู่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งทัง้ หมดให้เป็นระบบเดยี ว ความเป็นดิจทิ ัลได้ตามเปา้ หมาย 5) การผลักดันให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน ภายใตร้ ะบบการใหบ้ รกิ ารและระบบการก�ำ กบั ดูแลที่มุ่งสู่ความเป็นดิจิทัลได้ตามเป้าหมาย โดยไม่มีข้อขัดข้องที่ส่งผลกระทบต่องาน

ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง  กิจการโทรทศั น์  และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ34 แนวทางการดำ�เนนิ งาน 1) สำ�รวจความต้องการของผู้เก่ียวข้องและผู้ใช้บริการ เพอื่ น�ำ เทคโนโลยมี าปรบั ใชใ้ นกระบวนการอนญุ าต 2) จัดหาผู้เชี่ยวชาญและทีมงานที่เหมาะสมในการ ขบั เคลอ่ื นระบบการอนุญาตไปสูค่ วามเปน็ ดจิ ิทลั 3) มผี รู้ บั ผดิ ชอบทเ่ี หมาะสมในการจดั ท�ำ ฐานขอ้ มลู กลาง 4) มีแผนการพัฒนาระบบอนุญาตและฐานข้อมูลกลาง ทีเ่ ช่อื มโยงขอ้ มลู อย่างชัดเจน 5) มีระเบียบสำ�นักงาน กสทช. เพ่ือรองรับการใช้งาน ระบบฐานข้อมูลกลาง และมาตรการรักษาความ ปลอดภัย 6) ศกึ ษา วเิ คราะห์ ก�ำ หนดแนวทาง เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพ บุคลากรให้เหมาะสม สอดคล้องกับแนวทางท่ีมุ่งสู่ ความเป็นดจิ ิทลั 7) ส่งเสริมผู้เกี่ยวข้องให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากระบบอนญุ าตและฐานข้อมลู ในรปู แบบดจิ ิทัล

1 การใหบ้ ริการ และการกำ�กับดูแล เพ่ือใหม้ ีการนำ�เทคโนโลยี ท่ีมงุ่ สู่ความเปน็ ดิจทิ ลั ดิจิทัลมาใช้ในการอนุญาต ประกอบกิจการกระจายเสยี ง 1. ความสำ�เรจ็ ในการพัฒนา และกิจการโทรทัศน์ ระบบการอนุญาตดว้ ยการ ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั 2 2. มีฐานข้อมลู กลางทพ่ี รอ้ มให้ ผู้เกย่ี วข้องเขา้ ถงึ ในรูปแบบ เพ่ือนำ�เทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการ ออนไลนเ์ พ่อื ใชป้ ระโยชน์ กำ�กับดูแลกจิ การกระจายเสียง ในการก�ำ กับดแู ลร่วมกนั และกิจการโทรทัศน์ให้มี 3. ระบบฐานขอ้ มลู กลางตอ้ งมี ประสิทธิภาพเพิ่มขนึ้ องคป์ ระกอบตามมาตรฐาน ความถกู ตอ้ ง ความปลอดภยั 3 งา่ ยต่อการใช้งาน 4. บคุ ลากรสามารถปฏิบัตงิ าน เพ่ือเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพบุคลากร ภายใตร้ ะบบการใหบ้ ริการ ให้รองรับการปฏิบตั งิ าน และระบบการกำ�กับดูแล ท่มี ุง่ สูค่ วามเปน็ ดจิ ทิ ัล ท่มี ่งุ สูค่ วามเปน็ ดิจิทลั ได้ตามเปา้ หมาย

ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เปยุ้ทาหธมศาายสขตอรง์ ตัวช้ีวัด ยุทธศาสตร์ท่ี 1 1. เพ่ือยกระดับมาตรฐานกิจการวิทยุ 1. กิจการวิทยุกระจายเสียงมีมาตรฐาน 1. การลดลงของการกระท�ำ ความผดิ ดา้ นกจิ การกระจายเสยี ง การพัฒนากิจการ กระจายเสียง เปน็ ที่ยอมรับ 2. การเพิ่มขึ้นของจำ�นวนผู้ประกอบการวิทยุกระจายเสียง วิทยุกระจายเสียง 2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู 2. เพ่ือลดการรบกวนการใช้คล่ืนความถ่ี ท่ีได้มาตรฐาน ข่าวสารท่ีจำ�เป็นพ้ืนฐานได้อย่าง ท่สี ร้างผลกระทบตอ่ ผเู้ กย่ี วข้อง 3. การลดลงของจ�ำ นวนการรบกวนการใชค้ ลน่ื ความถท่ี เ่ี ขา้ ขา่ ย ในประเทศไทย ตอ่ เนอ่ื ง 3. สรา้ งกระบวนการเปลย่ี นผา่ นใหผ้ ปู้ ระกอบ มีผลกระทบต่อความปลอดภัยของชวี ิตและทรพั ยส์ ิน 3. เพื่อเพิ่มทางเลือกให้แก่ประชาชน กจิ การตามมาตรา 83 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ 4. ผู้ประกอบกิจการตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติ ในการรบั บรกิ ารกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง องค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกำ�กับ องคก์ รจดั สรรคลน่ื ความถแ่ี ละก�ำ กบั การประกอบกจิ การ การประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยุ วทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม โทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2553 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ทมี่ คี วามจ�ำ เปน็ ไดร้ บั การ และท่ีแก้ไขเพ่มิ เตมิ ทมี่ ีความจำ�เป็น พิจารณาใหใ้ บอนญุ าต 4. มกี ารทดลองโครงการน�ำ รอ่ งวทิ ยกุ ระจายเสยี ง 5. มีผลการทดลองจากโครงการนำ�ร่องวิทยุกระจายเสียง ในระบบดิจทิ ลั ในระบบดิจิทลั ท่ีชัดเจน ยุทธศาสตร์ท่ี 2 1. เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรในกิจการ 1. เพ่ิมช่องทางการส่ือสารให้ประชาชน 1. มีการอนุญาตให้หน่วยงานที่มีภารกิจสามารถมีบริการ การพัฒนากิจการ โทรทศั นอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ในส่วนภมู ภิ าค โทรทศั น์สาธารณะส�ำ หรับภูมิภาค โทรทัศน์ของประเทศ 2. เพื่อปรับกระบวนการกำ�กับดูแล 2. เปิดโอกาสให้มีการทดลองเทคโนโลยีใหม่ 2. มีการส่ือสารให้สาธารณะรับทราบถึงความพร้อมในการ ให้สอดคล้องกับระบบนิเวศของ ในกจิ การโทรทัศน์ อนุญาตการทดลองเทคโนโลยีใหม่ในกจิ การโทรทศั น์ ให้เหมาะสมกับ อุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป 3. มรี ะบบการก�ำ กับดูแลทสี่ อดรบั กับ ระบบ 3. มกี ฎระเบยี บในการก�ำ กบั ดแู ลทเ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั บริบทใหม่ 3. เพ่ือยกระดับมาตรฐานกิจการ นิเวศของอุตสาหกรรมท่เี ปลย่ี นแปลงไป ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรมและการแขง่ ขนั ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป โทรทัศน์ 4. กจิ การโทรทศั นม์ มี าตรฐานทเี่ ปน็ ทย่ี อมรบั 4. มีการเสนอรายงานการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายท่ีเอ้ือต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 3 1. เพื่อพัฒนาแนวทางในการกำ�กับ มากขึ้น ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป การก�ำกับดูแล ดูแลด้านเนื้อหาให้มีประสิทธิภาพ 1. มีระบบในการกำ�กับดูแลด้านเน้ือหาท่ีมี 5. การลดลงของการกระทำ�ความผดิ ดา้ นกิจการโทรทศั น์ ด้านเน้ือหา และเหมาะสมต่อสภาวการณ์ ประสทิ ธิภาพ 6. การเพิ่มขึ้นของจำ�นวนผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ท่ีได้ การคุ้มครอง 2. เพื่อส่งเสริมให้มีเน้ือหาที่มีคุณภาพ 2. มีเนื้อหาที่มีคุณภาพ หลากหลาย และ มาตรฐาน หลากหลาย และสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ 1. ระบบและกลไกในการกำ�กบั ดแู ลดา้ นเนอื้ หา ผู้บริโภค 3. เพอ่ื คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคมใิ หถ้ กู เอาเปรยี บ 3. ผใู้ ช้บริการได้รับบริการอยา่ งเป็นธรรม 2. มีความร่วมมือกับหน่วยงานหรือองค์กรท่ีมีอำ�นาจตาม และการส่งเสริมสิทธิ จากผู้ประกอบกิจการกระจายเสียง 4. มีการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนที่มี กฎหมายซง่ึ เกยี่ วเนอ่ื งกบั การน�ำ เนอ้ื หารายการไปเผยแพร่ เสรีภาพของประชาชน และกจิ การโทรทศั น์ ประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้ ส่สู าธารณะ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 4. เพอ่ื สง่ เสรมิ สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน 5. ประชาชนสามารถเข้าถึง ใช้ประโยชน์ 3. การผิดสัญญาการให้บริการของผู้ประกอบการมีจำ�นวน ในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ และรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสารที่หลากหลาย ลดลง การให้บริการ จากขอ้ มูลขา่ วสารอยา่ งเทา่ เทยี ม ในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ 4. ระยะเวลาแก้ปัญหาและจัดการเร่ืองร้องเรียนรวดเร็วขึ้น และการก�ำกับดูแล ตามสิทธิเสรีภาพภายใต้รัฐธรรมนูญ เป็นไปตามก�ำ หนดเวลา ท่ีมุ่งสู่ความเป็น แหง่ ราชอาณาจักรไทย 5. มีช่องทางการร้องเรียนและติดตามความคืบหน้าของ 6. ผพู้ กิ าร ผสู้ งู อายุ ผดู้ อ้ ยโอกาส สามารถเขา้ ถงึ เรือ่ งร้องเรยี นเพิ่มขน้ึ ดิจิทัล และใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู ขา่ วสารอยา่ งเทา่ เทยี ม 6. มีผลการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพของบริการ กบั ประชาชนท่วั ไป อยา่ งทว่ั ถงึ ทง้ั ในมติ พิ น้ื ทแ่ี ละในมติ ขิ องเนอ้ื หาทห่ี ลากหลาย 7. ผู้ประกอบวิชาชีพส่ือมวลชนสามารถ เข้าถงึ ง่าย สำ�หรับประชาชนทุกกลมุ่ ทเี่ ป็นที่น่าพอใจ ทำ�หน้าท่ีตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพของตน 7. มบี รกิ ารการเขา้ ถงึ ส�ำ หรบั ผพู้ กิ ารตามหลกั เกณฑท์ ่ี กสทช. ไดอ้ ย่างเต็มที่ ประกาศกำ�หนด 8. มีเงื่อนไขการอนุญาตท่ีมิให้ผู้รับใบอนุญาตจำ�กัดเสรีภาพ ในการแสดงความคดิ เห็นของผู้ประกอบวชิ าชพี 1. เพื่อให้มีการนำ�เทคโนโลยีดิจิทัล 1. มีระบบการอนุญาตกระจายเสียงและ 1. ความสำ�เร็จในการพัฒนาระบบการอนุญาตด้วยการ มาใช้ในการอนุญาตประกอบกิจการ โทรทศั นท์ ีน่ ำ�เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล กระจายเสียงและกจิ การโทรทัศน์ 2. มฐี านขอ้ มลู กลางดา้ นกจิ การกระจายเสยี ง 2. มฐี านขอ้ มลู กลางทพ่ี รอ้ มใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งเขา้ ถงึ ในรปู แบบ 2. เพื่อนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ และโทรทัศน์ในรูปแบบดิจิทัลท่ีถูกต้อง ออนไลนเ์ พื่อใชป้ ระโยชนใ์ นการก�ำ กับดแู ลรว่ มกนั กำ�กับดูแลกิจการกระจายเสียง ทันสมัย เพื่อใช้ประโยชน์ในการอนุญาต 3. ระบบฐานขอ้ มลู กลางตอ้ งมอี งคป์ ระกอบตามมาตรฐาน และกจิ การโทรทศั นใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ประกอบกจิ การและการกำ�กบั ดูแล ความถูกต้อง ความปลอดภัย ง่ายต่อการใชง้ าน เพ่ิมขึน้ 3. บุคลากรมีความสามารถในการปรับตัว 4. บคุ ลากรสามารถปฏบิ ตั งิ านภายใตร้ ะบบการใหบ้ รกิ าร 3. เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร สู่ระบบการให้บริการและการกำ�กับดูแล และระบบการกำ�กับดูแลที่มุ่งสู่ความเป็นดิจิทัลได้ตาม ให้รองรับการปฏิบัติงานที่มุ่งสู่ความ ท่ีมงุ่ สู่ความเป็นดจิ ทิ ลั เป้าหมาย เป็นดิจทิ ัล

ภาพรวมแผนแมบ่ ท กจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) กลยุทธ์ แดน�วำเทนาินงงกาานร 1. การบงั คับใชก้ ฎหมายอยา่ งเข้มงวด 1. สร้างความเข้าใจกับภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องถึงความจำ�เป็นในการดำ�เนินมาตรการที่จะนำ�ไปสู่การ 2. การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ผปู้ ระกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี งทไ่ี ดม้ าตรฐาน ยกระดับมาตรฐานกิจการวทิ ยกุ ระจายเสียง 3. การก�ำ กบั ดแู ลการใชค้ ลนื่ ความถแ่ี ละอปุ กรณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งใหเ้ ปน็ ไปตาม 2. ตดิ ตาม ตรวจสอบ บงั คับใชท้ างกฎหมายกับผ้กู ระท�ำ ความผิดโดยเครง่ ครัด ข้อกำ�หนดที่เป็นมาตรฐานอย่างทัว่ ถงึ รวดเรว็ มปี ระสิทธภิ าพ 3. พัฒนามาตรการเพือ่ สง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงทไ่ี ดม้ าตรฐาน 4. การเตรยี มความพรอ้ มในการพจิ ารณาใหใ้ บอนญุ าตวทิ ยกุ ระจายเสยี ง 4. ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานเครื่องวิทยุคมนาคมให้เป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อลดการรบกวน แกผ่ ปู้ ระกอบกจิ การตามมาตรา 83 แหง่ พระราชบญั ญตั อิ งคก์ รจดั สรร การใช้คลืน่ ความถ่ี คลื่นความถี่และกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ 5. สร้างความชดั เจนรว่ มกันในขอบเขตและกระบวนการท�ำ งานรว่ มกนั ระหว่างภาคส่วนท่ีเกย่ี วข้อง โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 6. พจิ ารณาหลักเกณฑใ์ นการพิจารณาเงอ่ื นไขความจำ�เปน็ ในการให้ใบอนุญาต ท่ีมคี วามจ�ำ เป็น 7. ผู้รับอนุญาตให้ใช้งานคล่ืนความถี่เพ่ือประกอบกิจการตามมาตรา 83 แห่งพระราชบัญญัติองค์กร 5. การอนุญาตทดลองวิทยุกระจายเสยี งระบบดิจิทัล จัดสรรคล่ืนความถี่และกำ�กับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ 6. การสร้างความเขา้ ใจกบั ภาคส่วนทเ่ี กยี่ วข้อง โทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ที่มีความจำ�เป็น และประสงค์จะให้บริการต่อ 1. การส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ บรกิ ารโทรทศั น์สาธารณะสำ�หรับภูมภิ าค ยนื่ แผนประกอบกจิ การกระจายเสยี งภายในเวลาท่ีกำ�หนด 2. การสร้างความเข้าใจและความรู้ใหม่เก่ียวกับเทคโนโลยีในกิจการ 8. อนุญาตให้มีการทดลองทดสอบวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิทัลเพื่อนำ�ผลที่ได้ไปส่ือสาร โทรทศั น์ ทำ�ความเขา้ ใจต่อภาคส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ งและสาธารณะ 3. การปรบั ปรงุ กฎระเบยี บใหส้ อดคลอ้ งกบั ระบบนเิ วศของอตุ สาหกรรม 1. สร้างความเข้าใจและความร่วมมอื กับภาคสว่ นทีเ่ ก่ยี วข้อง ท่ีเปล่ยี นแปลงไป 2. พฒั นากฎระเบยี บใหท้ นั สมยั ลดขน้ั ตอน ง่ายตอ่ การปฏิบัติ และมีความยดื หย่นุ 4. การเสนอปรับปรุงข้อกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องให้เหมาะสมกับระบบนิเวศ 3. สง่ เสรมิ การยกระดับมาตรฐานขององคก์ รวชิ าชีพ ของอตุ สาหกรรมทีเ่ ปล่ียนแปลงไป 4. ศึกษาขอ้ กฎหมายท่ีสมควรปรับเปลี่ยนใหเ้ ออ้ื ตอ่ ระบบนเิ วศของอุตสาหกรรมทเ่ี ปล่ียนแปลงไป 5. การบงั คับใช้กฎหมายอยา่ งเขม้ งวด 5. สร้างความเข้าใจกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องถึงความจำ�เป็นในการดำ�เนินมาตรการที่จะนำ�ไปสู่การ 6. การส่งเสรมิ สนับสนนุ ผปู้ ระกอบกจิ การโทรทัศน์ทไี่ ด้มาตรฐาน ยกระดับมาตรฐานกิจการโทรทศั น์ 1. จัดทำ�แนวทางกำ�กับดูแลเน้ือหาท่ีรองรับต่อสภาวการณ์ของสังคม 6. ตดิ ตาม ตรวจสอบ บงั คบั ใชท้ างกฎหมายกบั ผู้กระทำ�ความผิดโดยเครง่ ครดั และเทคโนโลยี 7. พัฒนามาตรการเพอ่ื สง่ เสริมผู้ประกอบกิจการโทรทศั น์ท่ไี ดม้ าตรฐาน 2. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานหรือองค์กรท่ีมีอำ�นาจตามกฎหมาย 1. มีกลไก อุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือการติดตามประเมินผลการกำ�กับดูแลเนื้อหาท่ีสอดคล้องกับ ซงึ่ เก่ยี วเนือ่ งกับการนำ�เน้อื หารายการไปเผยแพร่สู่สาธารณะ สภาวการณ์ 3. การกำ�หนดให้มีมาตรการเคร่งครัดในการกำ�กับดูแลสัญญาการ 2. การให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และสนับสนุนให้มีการผลิตเนื้อหาที่มีคุณภาพ สร้างสรรค์ ใหบ้ รกิ าร หลากหลาย และเปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณะ 4. การส่งเสริมให้มีเครือข่ายเฝ้าระวังและคุ้มครองผู้บริโภคท่ีมีความ 3. มีการออกแบบมาตรการเพ่ือให้การก�ำ กบั ดูแลสัญญาการใหบ้ รกิ ารเปน็ ไปตามมาตรฐาน เขม้ แขง็ 4. สื่อสารสร้างความเข้าใจถึงกระบวนการจัดการเร่ืองร้องเรียนและลักษณะของเรื่องร้องเรียน 5. การยกระดับกลไกการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ ที่เอ้อื ตอ่ การแกป้ ญั หาทีร่ วดเรว็ ดว้ ยการน�ำ เทคโนโลยดี ิจิทลั มาประยกุ ต์ใช้ 5. มีการนำ�เทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนากลไกและกระบวนการจัดการปัญหาเรื่องร้องเรียนให้กระชับ 6. การสนับสนุนการเข้าถึงบริการอย่างท่ัวถึงในมิติพื้นที่และในมิติของ ยง่ิ ข้ึน เนอื้ หาทห่ี ลากหลาย เขา้ ถงึ งา่ ยส�ำ หรบั ประชาชนทกุ กลมุ่ รวมถงึ ผพู้ กิ าร 6. มีแผนหรอื แนวทางทช่ี ดั เจนในการมีเครือขา่ ยเฝา้ ระวังและคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคที่เขม้ แขง็ ผูส้ งู อายุ ผดู้ อ้ ยโอกาส 7. จัดทำ�แผนสนับสนุนการเข้าถึงบริการด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ท่ีกำ�หนด 7. การกำ�หนดมาตรการมิให้ผู้รับใบอนุญาตจำ�กัดเสรีภาพในการแสดง ประเภทบริการต่างๆ ทีส่ อดคลอ้ งกับกลมุ่ เปา้ หมายที่ชัดเจน ความคดิ เหน็ ของผู้ประกอบวิชาชพี 8. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะการรู้เท่าทันสื่อ 1. การพัฒนาการให้บริการสู่ระบบดิจิทัลที่ตอบสนองความต้องการ ใหก้ บั ประชาชนกล่มุ ต่างๆ ของผู้ใช้บริการได้สะดวก รวดเรว็ 9. สนับสนุนการให้ทุนเพ่อื การวิจัยและพัฒนาการเข้าถึงและใช้ประโยชน์สื่อผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อย 2. การสร้างระบบฐานข้อมูลท่ีเชื่อมโยงข้อมูลด้านการอนุญาตและ โอกาส ผา่ นกองทนุ วจิ ัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคม สามารถตรวจสอบสถานะของผขู้ อรับใบอนุญาตไดใ้ นรูปแบบดิจิทลั เพือ่ ประโยชน์สาธารณะ 3. การยกระดับกลไกการบริหารจดั การเรอ่ื งร้องเรยี นสูก่ ารใชเ้ ทคโนโลยี 10 กำ�หนดเงื่อนไขการอนุญาตมิให้ผู้รับใบอนุญาตจำ�กัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของ ดจิ ทิ ัล ผปู้ ระกอบวิชาชพี 4. การผลักดันให้มีการบูรณาการระบบฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้องทั้งหมด 11. สนับสนุนการดำ�เนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเผยแพร่รายการโทรทัศน์สำ�คัญท่ีให้ ให้เป็นระบบเดียว เผยแพร่ไดเ้ ฉพาะในบรกิ ารโทรทศั น์ทีเ่ ป็นการท่ัวไป 5. การผลักดันให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานภายใต้ระบบการให้บริการ 1. สำ�รวจความต้องการของผู้เกี่ยวข้องและผู้ใช้บริการเพ่ือนำ�เทคโนโลยีมาปรับใช้ในกระบวนการ และระบบการกำ�กับดูแลท่ีมุ่งสู่ความเป็นดิจิทัลได้ตามเป้าหมาย อนญุ าต โดยไมม่ ขี ้อขัดขอ้ งที่สง่ ผลกระทบต่องาน 2. จัดหาผ้เู ชี่ยวชาญและทมี งานท่เี หมาะสมในการขบั เคลือ่ นระบบการอนญุ าตไปสู่ความเปน็ ดจิ ิทลั 3. มีผรู้ ับผดิ ชอบท่เี หมาะสมในการจดั ท�ำ ฐานขอ้ มลู กลาง 4. มีแผนการพฒั นาระบบอนุญาตและฐานข้อมลู กลางท่ีเชือ่ มโยงข้อมลู อยา่ งชดั เจน 5. มีระเบียบสำ�นักงาน กสทช. เพ่ือรองรับการใช้งานระบบฐานข้อมูลกลางและมาตรการรักษา ความปลอดภยั 6. ศกึ ษา วเิ คราะห์ ก�ำ หนดแนวทาง เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรใหเ้ หมาะสม สอดคล้องกบั แนวทาง ที่ม่งุ สู่ความเป็นดิจทิ ัล 7. ส่งเสริมผู้เกี่ยวข้องให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากระบบอนุญาตและฐานข้อมูลในรูปแบบ ดจิ ิทัล

การขับเคลื่อนและตดิ ตามและประเมินผล แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสียง และกจิ การโทรทัศน์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) %54 527055%%% %51 %52 Liposruemm %51 cLLcLcoooooonnnrrreeesssmmmeeeccciiitttpppeeessstttuuuuuurrrmmmaaaddddddiiiooopppllliiiooosssrrrccciiisssnnniiitttgggaaaeeemmmllliiieeettt...ttt,,, Lorem ipsum Lorem ipsum Lorem ipsum Lorem ipsum 45% 15% 25% 15% C A DB

ส่วน ่ีท 4 39 การขับเคลอื่ นและติดตามและประเมินผล แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) แผนแมบ่ ทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การ โทรทัศน์ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2563 - 2568) เพ่ือให้การนำ�แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2563 -2568) ไปสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถติดตามและประเมินผล ความส�ำ เรจ็ ได้ จงึ ก�ำ หนดแนวทางปฏบิ ตั แิ ละการประเมนิ ผลไวด้ งั น้ี 1. ให้ กสทช. น�ำ แผนแมบ่ ทกิจการกระจายเสียงและกจิ การ โทรทัศน์ไปสู่การปฏิบัติ โดยให้มีการจัดทำ�แผนปฏิบัติการของ ส�ำ นกั งาน กสทช. 2. ให้ กสทช. ติดตามและประเมินผลการดำ�เนินงาน ตามแผนแม่บทกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์



ส�ำ นักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (สำ�นักงาน กสทช.) เลขท่ี 87 ถนนพหลโยธิน ซอย 8 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2670 8888 เว็บไซต์ www.nbtc.go.th Call Center : 1200