Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตำบลซ

ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตำบลซ

Published by มนตรี ลาเต๊ะบือริง, 2021-09-09 03:21:19

Description: ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตำบลซ

Search

Read the Text Version

ศูนย์เรียนรู้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบล ซา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองศรสี ะเกษ จงั หวดั ศรีสะเกษ ตงั้ อยทู่ ี่ กศน.ตาบลซา หมู่ท่ี 6 บ้านแทง ตาบลซา อาเภอเมืองศรสี ะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ศนู ย์การเรียนร้ปู รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล ซา สานกั งาน กศน. ได้ลงนาม บันทึกข้อตกลงกับกองอานวยการรกั ษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) มีภารกิจท่สี าคัญคือ ให้เปน็ ศนู ยก์ ลาง การจัดการเรยี นรู้ รวบรวม ขยายผล เชอ่ื มโยง สรา้ งเครอื ขา่ ยและเผยแพร่องคค์ วามรเู้ กี่ยวกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ และการเรยี นร้ตู ามรอยพระยุคลบาทตามแนวพระราชดาริและหลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวเพือ่ ให้เกดิ การพฒั นาสงั คมและชุมชนอย่างต่อเน่อื งมคี วามเขม้ แข็งและยั่งยนื โดยบูรณาการ การทางานและประสานความรว่ มมอื กับภาคี ศูนย์เรียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลซา จัดตงั้ เมอื่ วันที่ 13 มิถุนายน 2559 โดยศนู ย์เรยี นรฯู้ ท่จี ดั ต้ังขน้ึ มภี ารกิจดงั ต่อไปน้ี 1. เปน็ ศูนย์กลางในการจัดการเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ 2. เป็นแหลง่ เผยแพรอ่ งค์ความร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 3. เป็นแหลง่ ขยายผลการดาเนินงานและสรา้ งเครือข่ายในชุมชน กจิ กรรมการดาเนนิ งานขยายผลการเรยี นร้ตู ามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตาบลซา มีกิจกรรมการดาเนินงานขยายผลการเรียนรตู้ ามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมีวัตถุประสงค์เพอื่ ขยายผลการเรยี นร้แู นวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งท้ังทางด้านการนาไปประกอบอาชพี และการ ใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ให้ประชาชนในเขตอาเภอเมอื ง จงั หวัดศรสี ะเกษ กจิ กรรมการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย 1. เป็นแหล่งเรยี นร้หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ 2. ให้ความรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 3. ประกวดผลงานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่

๑. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชถ้ี ึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบัตติ นของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดับรฐั ท้งั ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ าเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพฒั นาเศรษฐกจิ เพ่ือใหก้ ้าวทันตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถงึ ความจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งมีระบบภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ทีด่ ีพอสมควร ตอ่ การกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงท้ัง ภายในภายนอก ทัง้ น้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่งิ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าท่ขี องรฐั นกั ทฤษฎี และนักธุรกจิ ในทุกระดับ ให้มสี านกึ ในคุณธรรม ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และใหม้ ี ความรอบรทู้ ีเ่ หมาะสม ดาเนินชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่อื ให้สมดุลและ พรอ้ มต่อการรองรบั การเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ท้ังดา้ นวตั ถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวฒั นธรรมจาก โลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดงั นี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ เช่น การผลติ และการบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ ๒. ความมเี หตุผล หมายถึง การตัดสนิ ใจเกยี่ วกบั ระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตปุ ัจจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทาน้ันๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภูมคิ ุ้มกัน หมายถงึ การเตรียมตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงด้านตา่ งๆ ทจ่ี ะเกิดข้นึ โดยคานึงถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณต์ ่างๆ ทีค่ าดวา่ จะเกดิ ข้ึนในอนาคต โดยมี เง่ือนไข ของการตัดสินใจและดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ ใหอ้ ย่ใู นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังน้ี ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวชิ าการตา่ งๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบท่ีจะนา ความรู้เหลา่ นน้ั มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกัน เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏบิ ัติ ๒. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มคี วามซอื่ สัตยส์ ุจริตและมี ความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชวี ิต

๒. เกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรทฤษฎใี หม่ ต้ังอยบู่ นกรอบแนวคดิ ของหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซึ่งหลกั ปรัชญานี้ประกอบด้วย3 หลกั การ และ 2 เงือ่ นไข คือ หลักความพอประมาณ (Moderation) หลักความมีเหตผุ ล (Reasonableness) และหลกั การมีภมู คิ ุ้มกัน (Immunity) สว่ น 2 เงอ่ื นไข คือ เงอ่ื นไขความรู้ และเง่ือนไขคุณธรรม สว่ นเกษตรทฤษฎใี หมซ่ ง่ึ เป็นแนวทางปฏิบตั ิหน่งึ ของหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มีข้นั ตอนของการพฒั นาแบง่ ออกได้ 3 ข้ัน คอื ข้นั ที่ 1 ทฤษฎีใหม่ข้ันตน้ เริม่ ต้นจากการมงุ่ แก้ปัญหาของเกษตรกรทีม่ นี า้ ไม่เพยี งพอสาหรบั การเกษตร โดยการใช้แนวทางการจดั ทาแหลง่ นา้ ขนาดเลก็ ในฟารม์ เชน่ การขดุ บ่อ ซงึ่ จะทาให้ลดความเส่ียงในเรอื่ งน้า เกิดหลักประกนั ในการผลติ อาหารเพอื่ การยงั ชีพเบ้ืองต้น ส่วน ท่ดี ินการเกษตรอนื่ จะใช้ในการผลติ เพื่อตอบสนองกบั ความตอ้ งการพ้ืนฐานอ่นื ของครอบครัว ซึ่งอาจมกี ารขายผลผลติ สว่ นเกินเพื่อเปน็ รายได้ สาหรับใช้จา่ ยในการยงั ชพี ที่จาเปน็ ท่ไี ม่สามารถผลติ เองได้ การเกษตรทฤษฎีใหม่ในข้ันน้ี จึงเปน็ การสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ในระดับครอบครวั แต่เกษตรกรส่วนใหญอ่ าจไมส่ ามารถเร่ิมตน้ ในขั้นตอนแรกน้ไี ด้ และอาจจาเป็นที่ หนว่ ยงานตา่ งๆ จะตอ้ งจัดความชว่ ยเหลือเพื่อสนับสนุนเกษตรกร ในเกษตรทฤษฎใี หมข่ ้นั ต้นน้ี มีแนวทางสาคัญในการการจดั สรรทด่ี นิ การเกษตรและทอ่ี ยอู่ าศยั โดยแบง่ พนื้ ท่ี ออกเป็น4 สว่ น ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 คือ พน้ื ทีส่ ่วนท่ีหนงึ่ ประมาณ 30% ให้ขดุ สระเก็บกักนา้ เพ่อื ใช้เก็บกกั นา้ ฝนในฤดูฝนและ ใช้เสรมิ การปลูกพืชในฤดูแลง้ ตลอดจนการเล้ยี งสตั ว์นา้ และพืชน้าต่างๆ พืน้ ทส่ี ว่ นที่สองประมาณ 30% ให้ปลกู ข้าวในฤดูฝน เพ่ือใช้เป็นอาหารประจาวันในครัวเรอื นใหเ้ พยี งพอตลอดปี เพอ่ื ตัดคา่ ใช้จ่ายและสามารถพงึ่ ตนเองได้ พน้ื ทส่ี ่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลกู ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พชื ไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไป จาหนา่ ย และพื้นท่ีส่วนท่สี ่ีประมาณ 10% ใช้เป็นทอี่ ยู่อาศยั เล้ยี งสตั ว์ และโรงเรือนอนื่ ๆ (กรมพัฒนาท่ีดิน 2553) ขน้ั ท่ี 2 ทฤษฎีใหมข่ ้ันกลาง เมอื่ เกษตรรได้เรมิ่ ตน้ ปฏิบตั ิตามเกษตรทฤษฎีใหม่ข้ันตน้ แล้ว มีความพอเพียง และความมัน่ คงในข้นั พน้ื ฐานระดบั หนึง่ แลว้ ในขนั้ ตอนต่อมาจงึ เปน็ เรือ่ งของการรวมกลมุ่ เกษตรกรในรูปแบบตา่ ง เช่น กลมุ่ เกษตรกร สหกรณ์ หรอื วิสาหกิจ ซึ่งการ ร่วมมือกนั นก้ี เ็ พ่ือสรา้ งประโยชน์ให้เกิดข้นึ กับกลมุ่ โดยรวม บนพน้ื ฐานของการไม่เบยี ดเบยี นกัน การแบง่ ปนั ชว่ ยเหลือกันตาม กาลัง และความสามารถของตน ซ่ึงจะทาให้ชุมชนโดยรวมเกิดความพอเพียงในวถิ ปี ฏิบตั ดิ ้วย

ขนั้ ที่ 3 ทฤษฎีใหมข่ ั้นกา้ วหนา้ กลมุ่ เกษตรกรท่ีได้ดาเนินการตามทฤษฎใี หม่ในขัน้ กลาง จนประสบความสาเรจ็ เบอ้ื งต้น อาจก้าวเขา้ สู่ขัน้ กา้ วหน้า โดยการ ประสานความรว่ มมอื กบั องคก์ รอืน่ ๆ ในระดบั ประเทศ เพือ่ ยกระดับการทาธุรกิจ และการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของเกษตรกร เชน่ การทาความร่วมมอื กับธนาคาร เพ่ือนาเงินมาลงทนุ ในธุรกจิ หรือการทาข้อตกลงกบั บรษิ ัท เพือ่ ขายผลผลิตให้ ในประเทศไทย มีหนว่ ยงานจานวนมาก โดยเฉพาะหน่วยงานราชการ ท่สี ่งเสริมเกษตรทฤษฎใี หม่ แตห่ น่วยงานประสานงาน หลกั เกีย่ วกบั การสง่ เสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ คอื มลู นธิ ิชัยพัฒนา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/prachyasersthkicphxpheiyng12/-site- prachyasersthkicphxpheiyng12 [20 มิถนุ ายน 2562] กรนี เนท สืบค้นจาก : http://www.greennet.or.th/node/1036 [20 มถิ นุ ายน 2562]