เอกสารประกอบการสอน วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ รหสั วิชา 2101-2005หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2556 หนว่ ยท่ี 13 เร่ือง ระบบไฟสญั ญาณ เรียบเรียงโดย นายบญุ ลือ ย่ิงคานึงตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะชานาญการแผนกวชิ าช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราชสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
622ใบเนอื้ หาหนว่ ยท่ี 13
623รหัสวิชา 2101-2005 ชื่อวชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 13-01ชื่อหนว่ ย ระบบไฟสญั ญาณ สอนคร้งั ที่ 14 จานวน 2 ชัว่ โมงสาระสาคญั การขบั ขรี่ ถยนตใ์ ห้เกิดความปลอดภยั เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ช้รถใช้ถนนไดร้ ูถ้ ึงความต้องการของผขู้ ับขี่จาเปน็ ตอ้ งใช้ระบบไฟสญั ญาณ เพื่อเตือนใหผ้ ู้ใชร้ ถใช้ถนนทราบวา่ ผขู้ ับขม่ี ีความต้องการขบั ข่รี ถยนตไ์ ปในลักษณะใดด้วยการใชร้ ะบบสัญญาณต่างๆ เชน่ ไฟเลี้ยว ไฟเบรก ไฟถอยหลัง แตร การใชส้ ัญญาณอย่างเหมาะสมจะชว่ ยเพ่มิ ความความปลอดภัยในการขบั ขี่และชว่ ยลดอุบัติเหตุ ดงั น้ันผเู้ รียนจงึ ต้องศึกษาหน้าท่ีการทางานการตรวจสอบอปุ กรณ์ การต่อวงจร เพือ่ แก้ไขปัญหาขอ้ ขดั ข้องของระบบไฟสัญญาณต่อไปสาระการเรยี นรู้ 1. ระบบไฟเลี้ยวและไฟฉุกเฉิน 2. ระบบไฟเบรก 3. ระบบไฟถอยหลัง 4. ระบบแตรจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหน้าท่ีของส่วนประกอบในระบบไฟเลี้ยว ไฟฉกุ เฉนิ ได้ 2. อธิบายหลกั การทางานของวงจรไฟเลี้ยว ไฟฉุกเฉินได้ 3. บอกหน้าท่ีของสว่ นประกอบในระบบไฟเบรกเท้า ไฟเบรกมอื ได้ 4. อธิบายหลักการทางานของวงจรไฟเบรกเทา้ ไฟเบรกมือได้ 5. บอกหน้าที่ของส่วนประกอบในระบบไฟถอยหลังได้ 6. อธบิ ายหลกั การทางานของวงจรไฟถอยหลังได้ 7. บอกหนา้ ที่ของส่วนประกอบในระบบแตรได้ 8. อธบิ ายหลักการทางานของวงจรแตรได้ 9. บอกวธิ ีแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟสัญญาณได้
624รหัสวิชา 2101-2005 ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนือ้ หา I.S. 13-02ชื่อหนว่ ย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครง้ั ท่ี 14 จานวน 2 ชวั่ โมง1. ระบบระบบไฟเลี้ยวและไฟฉกุ เฉิน ระบบไฟเลยี้ วและไฟฉุกเฉินทาหนา้ ที่ แสดงสญั ญาณใหผ้ ขู้ ับขรี่ ถยนตห์ รือผู้ใช้ถนนได้รู้ว่ารถทเ่ี ราขบั ข่ีอยูก่ าลงั จะเลย้ี วซา้ ย เลีย้ วขวา เปลยี่ นช่องทางเดินรถ แซงรถคนั อ่นื จอดรถ หรือรถยนต์มปี ัญหาข้อขัดขอ้ งโดย ไฟเลีย้ ว (Turn Signal) เปน็ สญั ญาณแจง้ ให้ผใู้ ชถ้ นนทราบว่ารถยนตค์ ันทีเ่ ปิดไฟเลี้ยวตอ้ งการเลย้ี วไปในทศิ ทางใด สว่ นไฟฉกุ เฉิน (Hazard Signal) เปน็ สญั ญาณท่ีใช้กับรถยนตท์ มี่ ปี ัญหาข้อขัดข้อง หรือมีความจาเป็นตอ้ งจอดฉุกเฉนิ ซ่งึ สงั เกตไดจ้ ากหลอดไฟเล้ียวของรถยนตท์ ง้ั หมดจะตดิ กระพริบพร้อมกัน 1.1 อปุ กรณใ์ นวงจรไฟเล้ียวและไฟฉุกเฉิน 1.1.1 แบตเตอร่ี ทาหน้าทีเ่ ป็นแหล่งจ่ายและเก็บพลงั งานไฟฟ้า 1.1.2 สวติ ช์กุญแจ ทาหน้าทตี่ ัดตอ่ วงจรไฟฟ้า 1.1.3 ฟวิ ส์ ทาหนา้ ท่จี ากัดการไหลของกระแสไฟฟ้า 1.1.4 สวติ ช์ไฟเลี้ยว ทาหนา้ ท่ีตดั ตอ่ วงจรไฟเลี้ยวตดิ ตัง้ อยู่ทแี่ กนพวงมาลยั โดดการกดหรือดนั เลี้ยวซา้ ย เลีย้ วขวา รปู ที่ 13.1 แสดงสวิตช์ไฟเลี้ยว ทีม่ า : บุญลือ ย่งิ คานึง, 2557 1.1.5 สวิตช์ไฟฉกุ เฉนิ ทาหน้าที่ตัดตอ่ วงจรไฟฉุกเฉินทางานโดยการกดหลอดไฟเลี้ยวท้งั หมดจะติดกระพริบพร้อมกนัรปู ที่ 13.2 แสดงสวติ ช์ไฟฉุกเฉิน ที่มา : บุญลือ ยิง่ คานงึ , 2557
625รหสั วิชา 2101-2005 ช่อื วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเน้ือหา I.S. 13-03ช่ือหน่วย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครงั้ ที่ 14 จานวน 2 ช่ัวโมง1.1.6 หลอดไฟเลยี้ ว เปน็ หลอดไฟแบบไสเ้ ดยี วสีสม้ ขนาด 19-21 วตั ต์ หรอื โคมไฟเปน็ สสี ้ม ขน้ึอยู่กับการออกแบบ ทาหน้าท่ีแสดงสญั ญาณโดยการกระพริบเมอ่ื มีการเปดิ ไฟเลีย้ วหรอื ไฟฉุกเฉนิ รูปที่ 13.3 แสดงโคมไฟเลยี้ ว ท่ีมา : บญุ ลอื ย่งิ คานงึ , 2557 1.1.7 แฟลชเชอร์ หรือรเี ลยไ์ ฟเลี้ยว เป็นตัวกาหนดเวลาให้ไฟเล้ียวกระพริบ ประมาณ 60-120ครงั้ /นาที แฟลชเชอร์ท่ีใช้กันอยมู่ ี 4 แบบคอื แบบเส้นลวดความรอ้ น (Hot Wire Type) แบบคอนเดนเซอร์และรเี ลย์ (Condenser and Relay Type) แบบกึ่งทรานซิสเตอร์ (Semi Transistor Type) และแบบไอซี(IC Type) รูปที่ 13.4 แสดงแฟลชเชอร์แบบเสน้ ลวดความรอ้ นที่มา : http://www.nsu4.nl/english/e1flasherunit.html
626รหัสวิชา 2101-2005 ช่ือวชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 13-04ชอื่ หนว่ ย ระบบไฟสัญญาณ สอนครั้งท่ี 14 จานวน 2 ชว่ั โมง รูปที่ 13.5 แสดงวงจรภายในของแฟลชเชอร์แบบเส้นลวดความร้อน ทีม่ า : http://www.nsu4.nl/english/e1flasherunit.html (ก) (ข)รูปท่ี 13.6 แสดงแฟลชเชอร์แบบโลหะควบคู่ (ก) สภาพทั่วไป และ (ข) วงจรภายใน ท่มี า : http://physicsmax.com/the-bimetallic-strip-6414
627รหัสวิชา 2101-2005 ช่ือวชิ า งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเน้ือหา I.S. 13-05ช่ือหนว่ ย ระบบไฟสญั ญาณ สอนคร้ังที่ 14 จานวน 2 ชว่ั โมง รปู ท่ี 13.7 แสดงแฟลชเชอร์แบบคอนเดนเซอร์ท่ีมา : http://www.members.shaw.ca/me.walsh/xt500%20electrical.htm รูปที่ 13.8 แสดงวงจรภายในของแฟลชเชอรแ์ บบคอนเดนเซอร์ที่มา : http://www.members.shaw.ca/me.walsh/xt500%20electrical.htmรปู ท่ี 13.9 แสดงแฟลชเชอร์แบบก่งึ ทรานซิสเตอร์ ทม่ี า : บุญลือ ยิ่งคานงึ , 2557
628รหสั วชิ า 2101-2005 ชือ่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเน้อื หา I.S. 13-06ชื่อหน่วย ระบบไฟสัญญาณ สอนครัง้ ที่ 14 จานวน 2 ชั่วโมง (ก) (ข) รปู ที่ 13.10 แสดงแฟลชเชอร์แบบไอซี (ก) สภาพทว่ั ไป และ (ข) วงจรภายใน ที่มา : นพดล เวชวิฐาน ,ระบบไฟฟ้าในรถยนต์, 2545 : 120-1221.2 วงจรไฟเล้ียวและไฟฉกุ เฉินรูปที่ 13.11 แสดงวงจรไฟเลี้ยวและไฟฉุกเฉนิ ท่มี า : บญุ ลอื ยง่ิ คานงึ , 2557
629รหัสวิชา 2101-2005 ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนือ้ หา I.S. 13-07ชื่อหน่วย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครั้งที่ 14 จานวน 2 ชว่ั โมง 1.3 การทางานของวงจรไฟเลย้ี วและไฟฉกุ เฉิน 1.3.1 วงจรไฟเลีย้ ว เม่อื สวิตช์กุญแจทตี่ าแหน่ง IG กระแสไฟฟา้ จากแบตเตอร่ีจะไหลผ่านฟวิ สห์ ลัก เขา้ สวติ ช์กุญแจข้วั B (AM1) ออกจากสวิตช์กุญแจขัว้ IG1 ผา่ นฟวิ สไ์ ฟเลย้ี ว เขา้ ข้ัว B1 ทส่ี วิตช์ไฟเลย้ี วและไฟฉุกเฉนิออกขวั้ F ทส่ี วิตช์ไฟเลีย้ วและไฟฉุกเฉิน ไหลเขา้ แฟลชเชอร์ขว้ั B(X) ไหลผ่านแฟลชเชอร์ขั้ว L (สว่ นทข่ี ัว้ Eของแฟลชเชอร์กระแสไฟฟ้าจะไหลลงกราวด์) ไหลผา่ นข้ัว TB ทส่ี วิตช์ไฟเล้ยี วและไฟฉุกเฉิน ถ้าไหลผ่านข้ัวTL จะเป็นการเล้ยี วซา้ ย ดังรูปท่ี 13.12 ถา้ ไหลผา่ นขั้ว TR จะเปน็ การเลยี้ วขวา ดังรปู ท่ี 13.13 เมอ่ื กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นหลอดไฟเล้ียวลงกราวด์ ทาให้หลอดไฟเลี้ยวกระพริบเมื่อมีการเล้ยี วขวาหรือเล้ยี วซา้ ยรูปท่ี 13.12 แสดงการทางานของวงจรไฟเลยี้ วตาแหนง่ เล้ียวซา้ ย ทม่ี า : บญุ ลอื ยง่ิ คานึง, 2557
630รหัสวชิ า 2101-2005 ชือ่ วชิ า งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนือ้ หา I.S. 13-08ช่อื หนว่ ย ระบบไฟสัญญาณ สอนคร้งั ท่ี 14 จานวน 2 ชว่ั โมง รูปที่ 13.13 แสดงการทางานของวงจรไฟเล้ียวตาแหนง่ เล้ียวขวา ที่มา : บญุ ลอื ย่ิงคานงึ , 2557 1.3.2 วงจรไฟฉุกเฉิน จากวงจรรูปท่ี 13.14 ขณะเปิดสวิตช์ไฟฉุกเฉนิ กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอร่ีจะไหลผ่านฟิวส์หลกั ผ่านฟิวส์ไฟฉกุ เฉินไหลเข้าขัว้ B2 ทสี่ วิตช์ไฟเลี้ยวและไฟฉุกเฉนิ ไหลออกที่ข้วั F ของสวติ ช์ไฟเล้ียวและไฟฉกุ เฉิน ไหลเข้าแฟลชเชอร์ข้วั B (X) ไหลออกท่ีแฟลชเชอรข์ ว้ั L (ส่วนข้ัว E กระแสไฟฟา้ ไหลลงกราวด์) ไหลผา่ นข้ัว TB ทส่ี วติ ช์ไฟเลี้ยว ไหลผ่านข้ัวขั้ว TR และ TL ทาให้หลอดไฟฉุกเฉินกระพรบิ พร้อมกันท้ังขวาและซ้ายโดยไม่ตอ้ งเปิด-ปิดสวิตช์กุญแจ
631รหัสวิชา 2101-2005 ชอื่ วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอื้ หา I.S. 13-09ชื่อหนว่ ย ระบบไฟสัญญาณ สอนครั้งที่ 14 จานวน 2 ชั่วโมง รปู ท่ี 13.14 แสดงการทางานของวงจรไฟฉุกเฉิน ทม่ี า : บญุ ลอื ย่ิงคานึง, 25572. ระบบไฟเบรก ระบบไฟเบรกจะมี 2 วงจร คือ วงจรไฟเบรกเท้า และวงจรไฟเบรกมือ ไฟเบรกเท้า ทาหน้าที่แสดงสัญญาณให้รถที่ตามหลงั มาทราบว่ารถคนั หน้ากาลงั เบรกหรือชะลอความเร็ว ให้รถคนั หลงั ชะลอความเร็วและระมัดระวงั การชนทา้ ยรถคนั หน้า ไฟเบรกเป็นไฟสแี ดงใชโ้ คมไฟรว่ มกบัไฟท้ายแตม่ ีความสวา่ งมากกว่า ไฟเบรกมือทาหนา้ ที่แสดงสัญญาณใหผ้ ขู้ บั ข่ีรถยนต์ทราบว่ารถยนตค์ นั ที่กาลังขับขี่อยู่ถกู ล็อกเบรกอยู่เป็นการป้องกันไมใ่ หร้ ถยนต์เคลอื่ นที่ขณะทาการจอดรถเพื่อป้องกนั ไม่ใหร้ ถเลื่อนไหล การแสดงสัญญาณจะแสดงที่หลอดไฟเตอื นไฟเบรกมอื ทหี่ น้าปัดรถยนต์
632รหัสวชิ า 2101-2005 ช่อื วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเน้อื หา I.S. 13-10ช่อื หน่วย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครั้งท่ี 14 จานวน 2 ชว่ั โมง โคมไฟเบรก เท้าและไฟท้าย (ก) (ข) รูปท่ี 13.15 แสดง (ก) โคมไฟเบรกเทา้ และไฟทา้ ย และ (ข) สญั ญาณไฟเบรกมือท่ีหน้าปดั ทม่ี า : บญุ ลือ ยงิ่ คานึง, 2557 2.1 อุปกรณใ์ นวงจรไฟเบรกเท้าและเบรกมือ 2.1.1 แบตเตอร่ี ทาหนา้ ท่เี ปน็ แหลง่ จ่ายและเกบ็ พลงั งานไฟฟ้า 2.1.2 สวติ ช์กุญแจ ทาหน้าที่ตัดตอ่ วงจรไฟฟ้า (ใชเ้ ฉพาะวงจรไฟเบรกมอื ) 2.1.3 ฟวิ ส์ ทาหน้าทจี่ ากัดการไหลของกระแสไฟฟ้า 2.1.4 สวติ ช์ไฟเบรกมือและเบรกเทา้ ทาหน้าทีต่ ดั ต่อกระแสไฟฟ้าทีจ่ ่ายไปยังหลอดไฟเบรกหลงั หรือหลอดไฟเตือนไฟเบรกมือ สวิตช์ไฟเบรกมือจะเป็นแบบกลไกเม่อื ดึงคันเบรกมือทาให้แกนสวิตช์เป็นอิสระไมถ่ ูกกด (สวิตช์แบบปกติปิด) หลอดไฟเตือนไฟเบรกทหี่ นา้ ปัดจะตดิ สว่ นสวติ ช์ไฟเบรกเท้ามี 2 แบบคอื แบบความดนั และแบบกลไก โดยสวิตช์แบบความดันจะติดต้งั อยู่ท่ีแมป่ ม้ั เบรก ทางานโดยอาศัยแรงดันนา้ มันเบรกดนั แผ่นไดอะแฟรมทาให้สวิตช์ตอ่ วงจรหลอดไฟเบรกจะตดิ ส่วนสวติ ช์แบบกลไกจะติดต้ังอยูท่ ี่คนั เหยยี บเบรก 2.1.5 หลอดไฟเบรกหลงั เป็นหลอดไฟแบบ 2 ไส้สแี ดง ใชโ้ คมไฟรว่ มกับไฟท้ายแต่มีความสว่างมากกว่า ทาหน้าทแี่ สดงสญั ญาณใหร้ ถทตี่ ามหลังมาทราบวา่ รถคนั หน้ากาลงั เบรก 2.1.6 หลอดไฟเตือนไฟเบรกมอื ตดิ ตงั้ อย่ทู ่ีแผงหนา้ ปดั รถยนต์ หน้าทเ่ี ปน็ สัญญาณไฟเตอื นเม่อื มีการดึงเบรกมือหมายเหตุ : ตาแหน่งท่อี ปุ กรณร์ ะบบไฟสญั ญาณ โคมไฟของรถยนต์แต่ละบริษัทฯ รุน่ จะแตกตา่ งกนั ขึน้ อยู่ กบั มาตรฐานผู้ผลติ
633รหสั วชิ า 2101-2005 ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 13-11ชื่อหน่วย ระบบไฟสัญญาณ สอนครง้ั ที่ 14 จานวน 2 ชัว่ โมง (ก) (ข) รปู ที่ 13.16 แสดงสวิตช์ไฟเบรก (ก) แบบความดัน (ข) แบบกลไก ท่ีมา : บญุ ลอื ยิง่ คานงึ , 25572.2 วงจรไฟเบรก 2.2.1 วงจรไฟเบรกมือรูปที่ 13.17 แสดงวงจรไฟเบรกมอื ทมี่ า : บญุ ลอื ยิง่ คานงึ , 2557
634รหสั วิชา 2101-2005 ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนือ้ หา I.S. 13-12ช่อื หน่วย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครั้งที่ 14 จานวน 2 ช่วั โมง2.2.2 การทางานของวงจรไฟเบรกมือจากรูปที่ 13.18 ขณะดงึ คนั เบรกมอื กระแสไฟฟา้ จากแบตเตอรี่ไหลผ่านฟวิ ส์หลัก ไหลเข้าสวติ ช์กญุ แจขั้ว B(AM1)ออกจากสวิตช์กญุ แจขัว้ IG1 ผา่ นฟิวส์ไฟเบรก ผา่ นหลอดไฟเตอื นไฟเบรกท่หี นา้ ปดัรถยนต์ ไหลผ่านสวติ ช์เบรกมือหรือสวิตช์เตอื นระดบั น้ามนั เบรก ลงกราวด์ครบวงจร ทาให้หลอดไฟเตอื นไฟเบรกทห่ี น้าปดั สว่างเมือมีการดงึ คันเบรกมอื หรือระดับน้ามันเบรกต่ากว่าระดบั ท่ีกาหนด รูปท่ี 13.18 แสดงการทางานของวงจรไฟเบรกมือ ท่ีมา : บญุ ลือ ยิง่ คานงึ , 25572.2.3 วงจรไฟเบรกเท้า รูปท่ี 13.19 แสดงวงจรไฟเบรกเท้า ทมี่ า : บญุ ลอื ย่ิงคานงึ , 2557
635รหสั วชิ า 2101-2005 ชอื่ วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนื้อหา I.S. 13-13ช่อื หนว่ ย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครั้งท่ี 14 จานวน 2 ชว่ั โมง2.2.4 การทางานของวงจรไฟเบรกเทา้จากรูปท่ี 13.20 ขณะเหยยี บแปน้ คนั เหยียบเบรก กระแสไฟจากแบตเตอรี่ไหลผา่ นฟิวส์หลัก ผ่านฟิวส์ไฟเบรก ผา่ นสวติ ช์ไฟเบรกเท้า ผ่านหลอดไฟเบรกด้านทา้ ยรถยนต์ลงกราวด์ ทาให้หลอดไฟเบรกทางานพร้อมกันทง้ั ขวาและซา้ ย รูปท่ี 13.20 แสดงการทางานของวงจรไฟเบรกเท้า ที่มา : บุญลอื ยง่ิ คานงึ , 25573. ระบบไฟถอยหลัง ระบบไฟถอยหลัง ทาหนา้ ที่เป็นสญั ญาณเตือนใหผ้ อู้ ยู่ทา้ ยรถระมัดระวังดว้ ยหลอดไฟแสงสขี าวตดิตง้ั อยูด่ า้ นท้ายรถยนต์ ทางานเมือ่ ผู้ขบั ข่เี ขา้ เกยี ร์ถอยหลงั 3.1 อุปกรณ์ในระบบไฟถอยหลงั 3.1.1 แบตเตอร่ี ทาหน้าทีเ่ ป็นแหล่งจา่ ยและเก็บพลงั งานไฟฟ้า 3.1.2 สวิตช์กุญแจ ทาหนา้ ที่ตัดตอ่ วงจรไฟฟ้า (ใชเ้ ฉพาะวงจรไฟเบรกมอื ) 3.1.3 ฟิวส์ ทาหนา้ ทีจ่ ากดั การไหลของกระแสไฟฟ้า 3.1.4 สวิตช์ไฟถอยหลงั ทาหน้าทีต่ ัดตอ่ กระแสไฟฟ้าจา่ ยไปยงั หลอดไฟถอยหลงั สวติ ช์ไฟถอยหลงั จะแตกต่างจากสวิตช์ไฟเบรกกล่าวคือข้ัวท้ังสองของสวิตช์ไฟถอยหลังปกตจิ ะไม่ต่อถึงกนั (ปกติเปดิ ) 3.1.5 หลอดไฟถอยหลัง เป็นหลอดไฟแบบไส้เดยี วสขี าวติดต้ังอยู่ที่โคมไฟสขี าวด้านทา้ ยของรถยนต์
636รหัสวชิ า 2101-2005 ช่อื วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 13-14ชอ่ื หนว่ ย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครัง้ ที่ 14 จานวน 2 ชั่วโมง รูปท่ี 13.21 แสดงสวติ ช์ไฟถอยหลงั ทม่ี า : บุญลอื ยิ่งคานงึ , 25573.2 วงจรไฟถอยหลังรูปท่ี 13.22 แสดงวงจรไฟถอยหลัง ท่มี า : บญุ ลอื ยงิ่ คานึง, 2557
637รหสั วชิ า 2101-2005 ชือ่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนื้อหา I.S. 13-15ชื่อหน่วย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครงั้ ท่ี 14 จานวน 2 ชวั่ โมง3.3 การทางานของวงจรไฟถอยหลงัจากรูปท่ี 13.23 ขณะเข้าเกยี ร์รถยนตต์ าแหนง่ ถอยหลงั กระแสไฟจากแบตเตอร่ีไหลผา่ นฟวิ ส์หลักไหลเข้าสวิตช์กุญแจข้วั B (AM1) ออกจากสวิตช์กญุ แจขั้ว IG1 ไหลเขา้ ฟิวส์ไฟถอยหลงั ผา่ นสวิตช์ไฟถอยหลัง ผา่ นหลอดไฟถอยหลงั ลงกราวด์ครบวงจร ทาให้หลอดไฟถอยหลังสว่างเม่อื มีการเขา้ เกยี ร์ถอยหลงั รูปที่ 13.23 แสดงการทางานของวงจรไฟถอยหลงั ทมี่ า : บุญลือ ย่งิ คานึง, 25574. ระบบแตร ระบบแตร ทาหนา้ ท่ีผลติ สัญญาณเสียงเพื่อเตือนใหผ้ ู้ใช้รถใช้ถนนไดท้ ราบ เพ่ือให้เกิดความระมัดระวังเสียงของแตรเกดิ จากการส่นั สะเทือนของไดอะแฟรมภายในตัวแตรโดยอาศยั อานาจแม่เหลก็ ดดู ให้แผน่ สปริงเคลอื่ นท่ีอย่างรวดเรว็ จงึ ทาให้เกดิ เสยี งดังข้ึน ปกตินิยมใช้แตร 2 ตวั ตอ่ 1 วงจรคือ เสยี งตา่ และเสยี งสงู แตรเสียงต่ามรี ูปรา่ งเปน็ แบบหอยโข่ง สว่ นแตรเสียงสูงรปู ร่างดา้ นหนา้ จะเรยี บ โดยหลกั การทางานจะเหมือนกนั 4.1 อปุ กรณใ์ นระบบแตร 4.1.1 แบตเตอรี่ ทาหนา้ ที่เปน็ แหล่งจา่ ยและเกบ็ พลังงานไฟฟา้ 4.1.2 ฟิวส์ ทาหนา้ ทจี่ ากัดการไหลของกระแสไฟฟ้า 4.1.3 รีเลย์แตร ทาหนา้ ท่คี วบคมุ การทางานของแตร และลดกระแสไฟฟา้ เข้าสวิตช์กดแตรเปน็การชว่ ยยืดอายกุ ารทางานของสวิตช์กดแตร 4.1.4 สวติ ช์กดแตร ทาหนา้ ที่ควบคุมการทางานของรเี ลย์แตร 4.1.5 แตร ทาหนา้ ท่ีสรา้ งสัญญาณเสียง
638รหัสวิชา 2101-2005 ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 13-16ช่อื หน่วย ระบบไฟสญั ญาณ สอนคร้งั ท่ี 14 จานวน 2 ชั่วโมง4.2 วงจรแตรวงจรแตรมี 2 แบบ คือ แบบธรรมดาและแบบใช้รเี ลย์ช่วย ปจั จบุ นั วงจรแตรแบบธรรมดาไม่นยิ มใช้เนอื่ งจากกระแสไฟจะผ่านสวิตช์กดแตรจานวนมากทาให้สวิตช์กดแตรชารุดเร็วในที่นจี้ ะแสดงเฉพาะวงจรแตรแบบใช้รีเลยช์ ว่ ยซง่ึ นิยมใช้ในปจั จบุ ัน รูปท่ี 13.24 แสดงวงจรแตร ที่มา : บุญลอื ยงิ่ คานึง, 25574.3 การทางานของวงจรแตรแบบใชร้ ีเลย์ช่วย รปู ท่ี 13.25 แสดงการทางานของวงจรแตร ท่มี า : บุญลือ ยงิ่ คานึง, 2557
639รหัสวชิ า 2101-2005 ชอื่ วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอื้ หา I.S. 13-17ชือ่ หนว่ ย ระบบไฟสญั ญาณ สอนครั้งที่ 14 จานวน 2 ชว่ั โมง จากรปู ท่ี 13.25 เมือ่ กดสวิตช์กดแตร กระแสไฟจากแบตเตอร่ีไหลผ่านฟิวส์หลัก ผา่ นฟิวส์แตรผา่ นข้วั B ของรีเลยแ์ ตร เขา้ ข้ัว S ขดลวดรีเลย์แตร ไหลผ่านสวิตช์กดแตร ลงกราวดค์ รบวงจร สง่ ผลให้คอนแทกของรเี ลย์แตรต่อกนั กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ผา่ นคอนแทก ผ่านแตรขั้วบวก ลงกราวด์ครบวงจร ทาให้แตรเกิดเสียงดังขึ้น 4.4 การปรับแตร การปรบั แต่งเสยี งแตรเปน็ การปรับระยะหา่ งหน้าคอนแทกให้เสยี งแตรดงั ท่สี ุด การทางานของแตร เมือ่ กดปุ่มแตรจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นขดลวดทาใหข้ ดลวดเกิดอานาจแม่เหลก็ ดูดให้อารเ์ มเจอรท์ ่ีมีแผน่ ไดอะแฟรมยึดติดอยเู่ คลือ่ นทท่ี าใหแ้ ผน่ ไดอะแฟรมบดิ ตัว ขณะเดยี วกันท่ีปลายอาร์เมเจอร์อกี ด้านหนงึ่มนี อตปรบั ติดต้งั อยจู่ ะดนั ใหห้ นา้ ทองขาวท่ตี ิดกันแยกออกจากกัน เป็นการตัดวงจรการไหลของกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ท่ีไปยังแตรอานาจแม่เหล็กที่เกิดข้นึ ในอารเ์ มเจอร์กจ็ ะหมดไป แผ่นไดอะแฟรมจะกลับคืนอยู่ในตาแหน่งเดิมหน้าทองขาวก็จะต่อวงจรการทางานอกี ครงั้ หนึ่ง แผ่นไดอะแฟรมจะบิดตัวและเกดิ การส่นั อยู่ตลอดเวลาทาให้เกดิ เสยี งดงั ขึ้นผ่านออกทางช่องปากแตร สกรูปรับแตรรปู ที่ 13.26 แสดงตาแหน่งสกรูปรับแต่งเสียงแตรรถยนต์ ท่มี า : บุญลือ ยงิ่ คานึง, 2557
640รหัสวิชา 2101-2005 ช่อื วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอื้ หา I.S. 13-18 จานวน 2 ชว่ั โมงชอ่ื หนว่ ย ระบบไฟสัญญาณ สอนคร้งั ท่ี 145. การแก้ไขข้อขดั ข้องระบบไฟสญั ญาณข้อขัดข้องและการแก้ไขระบบไฟสัญญาณ แสดงในตารางที่ 13.1ตารางท่ี 13.1 สาเหตุข้อขัดข้องและการแก้ไขระบบไฟสัญญาณอาการ สาเหตุ การแกไ้ ข 1. แกไ้ ข เปลีย่ นฟิวส์ใหม่1. ไฟเลี้ยวไม่ติด 1. ฟิวส์ไฟเลย้ี วหลวม ขาด 2. ตรวจสอบ เปลยี่ นใหม่ 3. ตรวจสอบ เปลี่ยนใหม่ 2. แฟลชเชอร์ชารุด 4. ตรวจสอบ แกไ้ ข เปลีย่ นใหม่ 3. สวิตช์ไฟเลี้ยวชารดุ 1. แก้ไข เปลีย่ นฟิวส์ใหม่ 2. ตรวจสอบ เปลย่ี นใหม่ 4. ขว้ั ตอ่ สายไฟ การลงกราวด์ 3. ตรวจสอบ เปลย่ี นใหม่ 4. ตรวจสอบ แกไ้ ข เปล่ยี นใหม่ บกพร่อง 1. ตรวจสอบ เปลี่ยนใหม่2. ไฟฉุกเฉินไม่ตดิ 1. ฟวิ ส์ไฟเลีย้ วหลวม ขาด 2. เปลย่ี นใหม่ 3. ตรวจสอบ แกไ้ ข เปลี่ยนใหม่ 2. แฟลชเชอรช์ ารดุ 1. แกไ้ ข เปลีย่ นฟวิ ส์ใหม่ 3. สวิตช์ไฟเล้ยี วชารุด 2. ตรวจสอบ เปล่ียนใหม่ 3. ตรวจสอบ แกไ้ ข เปล่ียนใหม่ 4. ขั้วต่อ สายไฟ การลงกราวด์ 1. แก้ไข เปลี่ยนฟวิ ส์ใหม่ บกพรอ่ ง 2. ตรวจสอบ เปลี่ยนใหม่ 3. ตรวจสอบ แกไ้ ข เปลยี่ นใหม่3. ไฟเลีย้ วไมต่ ดิ ด้านใดด้านหนง่ึ 1. สวิตช์ไฟเล้ยี วชารุด 2. หลอดไฟเลย้ี วขาด 3. ขัว้ ต่อ สายไฟ การลงกราวด์ บกพรอ่ ง4. ไฟถอยหลังไม่ตดิ 1. ฟวิ สไ์ ฟถอยหลังหลวม ขาด 2. สวิตช์ไฟถอยหลงั ชารุด 3. ขว้ั ตอ่ สายไฟ การลงกราวด์ บกพรอ่ ง5. ไฟเบรกไมต่ ดิ 1. ฟิวสไ์ ฟเบรกหลวม ขาด 2. สวติ ช์ไฟเบรกชารุด 3. ขั้วต่อ สายไฟ การลงกราวด์ บกพร่อง
641รหัสวชิ า 2101-2005 ช่อื วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเน้อื หา I.S. 13-19ช่อื หน่วย ระบบไฟสัญญาณ สอนคร้ังท่ี 14 จานวน 2 ชั่วโมงตารางท่ี 13.1 สาเหตุข้อขดั ข้องและการแกไ้ ขระบบไฟสัญญาณ (ตอ่ ) อาการ สาเหตุ การแกไ้ ข6. ไฟเบรกค้าง 1. สวิตช์ไฟเบรกชารดุ 1. ตรวจสอบ เปลย่ี นใหม่ 2. ระดบั น้ามันเบรกตา่ 2. เตมิ นา้ มนั เบรกให้ได้ระดับ7. แตรไมด่ งั 1. ฟิวส์แตรหลวม ขาด 1. แกไ้ ข เปลยี่ นฟิวส์ใหม่ 2. สวติ ช์กดแตรชารดุ 2. ตรวจสอบ เปลย่ี นใหม่ 3. รีเลย์แตรชารุด 3. ตรวจสอบ เปลี่ยนใหม่ 4. แตรชารดุ 4. ตรวจสอบปรบั ตั้ง เปล่ียนใหม่ 5. ขัว้ ต่อ สายไฟ การลงกราวด์ 5. ตรวจสอบ แก้ไข เปลยี่ นใหม่ บกพรอ่ ง
642 รหัสวชิ า 2101-2005 ชอื่ วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนือ้ หา I.S. 13-20 ช่ือหนว่ ย ระบบไฟสัญญาณสรุป สอนครงั้ ที่ 14 จานวน 2 ชั่วโมง ระบบไฟเลีย้ วและไฟฉุกเฉนิ มีหน้าที่ แสดงสัญญาณให้ผู้ขับข่ีรถยนต์หรือผู้ใช้ถนนได้รวู้ า่ รถทเ่ี ราขบั ข่ีอย่กู าลังจะเลยี้ วซ้าย เลีย้ วขวา เปล่ยี นช่องทางเดินรถ แซงรถคนั อน่ื หรือจอดรถ ประกอบด้วยสว่ นประกอบทส่ี าคญั คือ แบตเตอรี่ สวติ ช์กุญแจ ฟิวส์ สวติ ช์ไฟเลีย้ ว สวิตช์ไฟฉุกเฉนิ หลอดไฟเลี้ยว แฟลชเชอร์ การทางานของวงจรไฟเล้ียว ไฟฉุกเฉินถูกควบคุมด้วย สวติ ช์ไฟเลยี้ ว และสวติ ช์ไฟฉกุ เฉิน ระบบไฟเบรกเทา้ มีหนา้ ที่ แสดงสัญญาณใหร้ ถท่ตี ามหลงั มาทราบว่ารถคันหน้ากาลงั เบรกหรือชะลอความเรว็ ให้รถคันหลงั ชะลอความเรว็ และระมดั ระวังการชนท้ายรถคันหน้า ไฟเบรกเป็นไฟสแี ดงใช้โคมไฟร่วมกบั ไฟท้ายแต่มคี วามสว่างมากกวา่ ระบบไฟเบรกมือมหี นา้ ท่ี แสดงสญั ญาณใหผ้ ขู้ ับขีท่ ราบว่ารถยนตค์ นั ที่กาลังขับข่ีอยู่ถูกลอ็ กเบรกอยู่การแสดงสญั ญาณจะแสดงด้วยหลอดไฟเตอื นไฟเบรกมือที่หน้าปดั รถยนต์ ระบบไฟเบรกมือและเบรกเท้า ประกอบดว้ ยสว่ นประกอบที่สาคญั คือ แบตเตอร่ี ฟิวส์ สวิตช์ไฟเบรกสวิตช์กุญแจ (ใช้เฉพาะวงจรไฟเบรกมือ) หลอดไฟเบรกทา้ หลอดไฟเตอื นไฟเบรกมือ การทางานของวงจรไฟเบรกมือถกู ควบคุมด้วยคนั เบรกมือเพื่อควบคุมสวิตช์ไฟเบรก ส่วนการทางานของวงจรไฟเบรกเทา้ ถูกควบคุมด้วยคนั เบรกเท้าเพ่ือควบคุมสวิตช์ไฟเบรก ระบบไฟถอยหลังมหี น้าที่ แสดงสัญญาณเตือนเม่ือผขู้ บั ขเี่ ข้าเกียร์ถอยหลงั ใหผ้ ู้อยูท่ า้ ยรถระมัดระวงัดว้ ยหลอดไฟแสงสีขาวติดตั้งอยดู่ ้านท้ายรถยนต์ ระบบไฟถอยหลัง ประกอบด้วยสว่ นประกอบที่สาคัญคือ แบตเตอรี่ ฟิวส์ สวติ ช์กุญแจ สวิตช์ไฟถอยหลัง หลอดไฟถอยหลงั การทางานของวงจรไฟถอยหลงั ถูกควบคุมด้วยคันเกียรเ์ พ่ือควบคมุ สวติ ช์ไฟไฟถอยหลัง ระบบแตรมหี นา้ ท่ี ผลิตสญั ญาณเสียงเพื่อเตือนใหผ้ ใู้ ช้รถใชถ้ นนไดท้ ราบเพื่อใหเ้ กดิ ความระมัดระวงัเสยี งของแตรเกดิ จากการสนั่ สะเทือนของไดอะแฟรม ระบบแตร ประกอบดว้ ยส่วนประกอบท่ีสาคัญคือ แบตเตอร่ี ฟิวส์ สวติ ช์กดแตร รีเลย์แตร แตร การทางานของวงจรแตรถูกควบคุมดว้ ยสวติ ช์กดแตร การแก้ไขข้อขดั ข้องระบบไฟสัญญาณ ตอ้ งดาเนนิ การคน้ หาสาเหตุปัญหาก่อนทีจ่ ะทาการแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กดิ ขึน้ เพอื่ ให้การแก้ไขกระทาได้เร็ว และลดเวลาการซ่อม
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: